SlideShare a Scribd company logo
1
ปกิณกะธรรม
พลตรี มารวย ส่งทานินทร์
๒๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖
เกริ่นนำ
พระพุทธศาสนา เป็นคาสั่งสอนขององค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ทรงเป็น
พระอรหันต์ ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เสด็จไปดีแล้ว ทรงเป็นผู้รู้แจ้งโลก
เป็นสารถีฝึกบุรุษผู้ควรฝึกไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่า เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้เบิกบานแล้ว
เป็นผู้จาแนกพระธรรม
พระไตรปิฎกนั้น พระอรรถกถาจารย์กล่าวว่า พระไตรปิฎกมีเนื้ อความทั้งหมด ๘๔,๐๐๐ พระ
ธรรมขันธ์ แบ่งเป็น พระวินัยปิฎก ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ พระสุตตันตปิฎก ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ และ
พระอภิธรรมปิฎก ๔๒,๐๐๐ พระธรรมขันธ์
๑.) พระวินัยปิฎก ประมวลพุทธพจน์หมวดพระวินัย คือพุทธบัญญัติเกี่ยวกับความประพฤติ ความเป็นอยู่
ขนบธรรมเนียมและการดาเนินกิจการต่างๆ ของภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์แบ่งเป็น ๕ คัมภีร์ (เรียกย่อหรือ
หัวใจว่า อำ ปำ ม จุ ป) คือ
๑. อาทิกัมมิกะ หรือ ปาราชิก ว่าด้วยสิกขาบทที่เกี่ยวกับอาบัติหนักของฝ่ายภิกษุสงฆ์ ตั้งแต่
ปาราชิกถึงอนิยต
๒. ปาจิตตีย์ ว่าด้วยสิกขาบทที่เกี่ยวกับอาบัติเบา ตั้งแต่นิสสัคคิยปาจิตตีย์ถึงเสขิยะ รวมตลอดทั้ง
ภิกขุนีวิภังค์ทั้งหมด
๓. มหาวรรค ว่าด้วยสิกขาบทนอกปาฏิโมกข์ตอนต้น ๑๐ ขันธกะ หรือ ๑๐ ตอน
๔. จุลวรรค ว่าด้วยสิกขาบทนอกปาฏิโมกข์ตอนปลาย ๑๒ ขันธกะ
๕. ปริวาร คัมภีร์ประกอบหรือคู่มือ บรรจุคาถามคาตอบสาหรับซ้อมความรู้พระวินัย
๒.) พระสุตตันตปิฎก ประมวลพุทธพจน์หมวดพระสูตร คือ พระธรรมเทศนา คาบรรยายธรรมต่างๆ ที่
ตรัสยักเยื้องให้เหมาะกับบุคคลและโอกาสตลอดจนบทประพันธ์ เรื่องเล่า และเรื่องราวทั้งหลายที่เป็นชั้น
เดิมในพระพุทธศาสนา แบ่งเป็น ๕ นิกาย (เรียกย่อหรือหัวใจว่า ที ม ส อ ขุ) คือ
๑. ทีฆนิกาย ชุมนุมพระสูตรที่มีขนาดยาว ๓๔ สูตร
๒. มัชฌิมนิกาย ชุมนุมพระสูตรที่มีความยาวปานกลาง ๑๕๒ สูตร
๓. สังยุตตนิกาย ชุมนุมพระสูตรที่จัดรวมเข้าเป็นกลุ่มๆ เรียกว่าสังยุตต์หนึ่งๆ ตามเรื่องที่เนื่องกัน
หรือตามหัวข้อหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องรวม ๕๖ สังยุตต์ มี ๗,๗๖๒ สูตร
๔. อังคุตตรนิกาย ชุมนุมพระสูตรที่จัดรวมเข้าเป็นหมวดๆ เรียกว่านิบาตหนึ่งๆ ตามลาดับจานวน
หัวข้อธรรม รวม ๑๑ นิบาต หรือ ๑๑ หมวดธรรม มี ๙,๕๕๗ สูตร
๕. ขุททกนิกาย ชุมนุมพระสูตร คาถาภาษิต คาอธิบาย และเรื่องราวเบ็ดเตล็ดที่จัดเข้าในสี่นิกาย
แรกไม่ได้มี ๑๕ คัมภีร์
2
๓.) พระอภิธรรมปิฎก ประมวลพระพุทธพจน์หมวดพระอภิธรรม คือ หลักธรรมและคาอธิบายที่เป็นหลัก
วิชาล้วน ๆ ไม่เกี่ยวด้วยบุคคลหรือเหตุการณ์ แบ่งเป็น ๗ คัมภีร์ (เรียกย่อหรือหัวใจว่า ส วิ ธำ ปุ ก ย ป)
คือ
๑. สังคณี หรือ ธัมมสังคณี รวมข้อธรรมเข้าเป็นหมวดหมู่แล้วอธิบายทีละประเภท ๆ
๒. วิภังค์ ยกหมวดธรรมสาคัญ ๆ ขึ้นตั้งเป็นหัวเรื่องแล้วแยกแยะออกอธิบายชี้แจงวินิจฉัยโดย
ละเอียด
๓. ธาตุกถา สงเคราะห์ข้อธรรมต่าง ๆ เข้าในขันธ์ อายตนะ ธาตุ
๔. ปุคคลบัญญัติ บัญญัติความหมายของบุคคลประเภทต่างๆ ตามคุณธรรมที่มีอยู่ในบุคคลนั้นๆ
๕. กถาวัตถุ แถลงและวินิจฉัยทัศนะของนิกายต่างๆ สมัยสังคายนาครั้งที่ ๓
๖. ยมก ยกหัวข้อธรรมขึ้นวินิจฉัยด้วยวิธีถามตอบ โดยตั้งคาถามย้อนกันเป็นคู่ ๆ
๗. ปัฏฐาน หรือ มหาปกรณ์ อธิบายปัจจัย ๒๔ แสดงความสัมพันธ์เนื่องอาศัยกันแห่งธรรม
ทั้งหลายโดยพิสดาร
การนาบทความต่าง ๆ ในพระไตรปิฎกที่นามาเผยแพร่นั้น เพราะอ่านแล้วได้รับความรู้เพิ่มเติม
ในทางพระพุทธศาสนาว่า เรื่องราวเหล่านี้ มีปรากฏมานานแล้ว ตั้งแต่การทาปฐมสังคายนา โดยในสมัยแรก
นั้นเป็นการท่องจาของสานักต่าง ๆ ของพระภิกษุสงฆ์ที่รับผิดชอบเป็นหมวด ๆ ไป จนกระทั่งมีการทา
สังคายนาต่อมาอีกหลายครา จนกระทั่งเริ่มมีการบันทึกเป็นอักษรขึ้นมาจารึกไว้ในคัมภีร์ต่าง ๆ แพร่ไปใน
หลากหลายประเทศที่มีการนับถือพุทธศาสนา ที่ปรากฏโดยมากเป็นภาษาบาลีสะกดตามภาษาที่ใช้ใน
ท้องที่นั้น ๆ การศึกษาหรือการน้อมประพฤติปฏิบัติตามพระธรรมคาสั่งสอนของพระพุทธองค์ ด้วยความ
เคารพและด้วยความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องแท้จริง ย่อมนาประโยชน์ให้เกิดกับผู้นั้นและผู้ที่เกี่ยวข้อง
ในประเทศไทยจากความรู้ดั้งเดิมในพระไตรปิฎกที่เคยรู้มานั้น แต่ก่อนบันทึกในแผ่นใบลานและ
จารึกพระไตรปิฎกภาษาบาลีนั้นไว้เป็นอักษรขอม ซึ่งพระภิกษุสงฆ์ผู้ปรารถนาจะรู้เรื่องราวที่มีอยู่ในใบลาน
นั้น จะต้องเรียนรู้เรื่องภาษาขอมก่อน แล้วจึงค่อยเรียนรู้ภาษาบาลี ซึ่งเป็นภาษาที่ตายแล้ว หมายถึงไม่มี
การใช้ในชีวิตประจาวัน ไม่ว่าในประเทศใด ๆ ในโลกนี้ มีข้อดีคือไม่มีการพัฒนาของภาษาที่จะทาให้เกิดการ
วิวัฒนาการทาให้ความหมายที่แท้จริงแปรเปลี่ยนไป มีหลักไวยากรณ์ที่เป็นของตนเอง มีความหมายที่ไม่
แปรเปลี่ยนไปตามยุคตามสมัย
ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ในยุคกรุงรัตนโกสินทร์ ได้มีการพิมพ์พระไตรปิฎกเป็นภาษาไทยขึ้นมา แล้ว
แจกจ่ายไปตามวัดวาอารามต่าง ๆ และได้ให้เป็นบรรณาการแก่ห้องสมุดในประเทศตะวันตกด้วย ทาให้ผู้
ต้องการศึกษาพระไตรปิฎกไม่ต้องเรียนรู้ภาษาขอมก่อน
ต่อมาในสมัยกึ่งพุทธกาล ในประเทศไทย ได้มีการแปลพระไตรปิฎกจากภาษาบาลีเป็นภาษาไทย
โดยพระภิกษุสงฆ์ชาวไทยหลายสานัก ทั้งฉบับหลวงและฉบับมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย มีจานวน ๔๕
เล่ม ทาให้พระภิกษุสงฆ์และประชาชนชาวไทยที่สนใจในคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า สามารถเข้าถึงพระ
ธรรมคาสั่งสอนของพระพุทธองค์ได้มีจานวนมากขึ้น และพุทธบริษัทที่มีความศรัทธาต้องการสืบพระ
ศาสนาของพระผู้มีพระภาคเจ้าให้คงอยู่ตราบนานเท่านาน มักนิยมซื้อพระไตรปิฎกถวายให้กับวัดวาอาราม
3
ต่างๆ เพื่อให้พระภิกษุสงฆ์ได้เล่าเรียนคาสั่งสอนของพระพุทธองค์ บ้างก็ถวายพร้อมตู้เก็บพระไตรปิฎก
พร้อมกันไปด้วยเลย
ในยุคสมัยปัจจุบันที่มีความก้าวหน้าเของเทคโนโลยี จึงได้มีการจัดเก็บพระไตรปิฎกในรูปของ
อิเล็คโทรนิค เช่นจัดเก็บในแผ่นซีดี หรือในสื่อต่าง ๆ ของโลกสังคมออนไลน์ ทาให้การค้นคว้าคาสั่งสอนของ
พระบรมศาสดาเป็นไปอย่างกว้างขวางและสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น ซึ่งเป็นข้อดีประการหนึ่ง แต่ถ้าหากมีการ
สาเนาคาสั่งสอนในพระไตรปิฎกที่เกิดความคลาดเคลื่อนโดยไม่ได้ตั้งใจก็ดี อาจทาให้เกิดความผิดเพี้ยนไป
ได้ ซึ่งอาจเป็นข้อเสียได้ ดังนั้นผู้ที่นาไปเผยแพร่ต่อ ควรมีการอ้างอิงแหล่งที่มาให้ชัดเจน เพื่อผู้ที่ต้องการ
ค้นคว้าเพิ่มเติมสามารถยืนยันกับแหล่งที่มาได้เสมอ
-------------------
บทสวดนมัสกำรพระพุทธเจ้ำ
"นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมำสัมพุทธัสสะ"
แปลโดยรวมว่า ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภำคเจ้ำพระองค์นั้น ซึ่งเป็นผู้ไกลจำกกิเลส เป็นผู้
ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง
จากข้อสังเกตในพระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลีทุกเล่ม ไม่ว่าจะเป็นพระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก
และพระอภิธรรมปิฎก เมื่อกล่าวถึงชื่อพระพุทธพจน์หมวดวินัย พุทธพจน์หมวดพระสูตร หรือพุทธพจน์
หมวดพระอภิธรรม ก่อนที่จะบรรยายพุทธพจน์หมวดนั้น ๆ ก็จะตั้งนะโมฯ ก่อนเสมอ และในเวลาที่พุทธ
บริษัทสวดมนต์ มักจะมีการสวดขึ้นต้นว่า นะโมตัสสะ ภควโต อรหโต สัมมำสัมพุทธัสสะ ๓ จบ แล้วบท
สวดนะโมฯ นี้ คืออะไร มีที่มาอย่างไร จากการค้นหาพบว่ามีการอ้างถึงต่อ ๆ กันมาดังนี้ ว่า
ผู้กล่าวบท นะโม ครั้งแรกในโลก ได้แก่
๑. นะโม …สาตาคิริยักษ์
๒. ตัสสะ …อสุรินทร์ราหู
๓. ภควโต…ท้าวจาตุมหาราช “ทรงเปล่งเสียงพร้อมกันทั้งสี่พระองค์”
๔. อรหโต …ท้าวสักกะจอมเทพ
๕. สัมมาสัมพุทธัสสะ …ท้าวสหัมบดีพรหม
ดังคาบาลีว่า
นโม สำตำคิริยกฺโข ตสฺส อสุรินฺโท
ภควโต จำตุมหำรำชำ อรหโต สกฺโก
สมฺมำสมฺพุทฺธสฺส มหำพฺรหฺมำ
มีเรื่องเล่าว่า ณ แดนหิมวันต์ประเทศ มีเทือกเขาชื่อว่า สาตาคิรี เป็นรมณียสถาน ซึ่งเป็นที่อยู่ของ
พวกยักษ์ภุมเทวา อันมีนามตามที่อยู่ว่า สำตำคิรียักษ์ เป็นบริวารของท้าวเวสสุวัณ มีหน้าที่เฝ้าทางเข้าหิม
วันต์ทางทิศเหนือ สาตาคิรียักษ์มีโอกาสสดับพระสัทธรรมจากพระบรมศาสดาจนมีจิตเลื่อมใสศรัทธา เปล่ง
4
คายกย่องบูชาด้วยคาว่า "นะโม" หมายถึง พระผู้มีพระภาคทรงเป็นใหญ่กว่ามนุษย์ เทพยดา พรหม มาร
ยักษ์ และสัตว์ทั้งปวง
ฝ่าย อสุรินทรำหู เมื่อได้สดับพระกิตติศัพท์ของพระบรมศาสดา ก็ปรารถนาที่จะฟังธรรมบ้าง แต่
เนื่องจากกายของตนใหญ่โตเท่ากับโลก จึงดูแคลนพระบรมศาสดาว่ามีพระวรกายเล็กดังมด จึงอดใจรั้งรอ
อยู่ นานวันเข้าพระเกียรติคุณของพระผู้มีพระภาคเจ้าก็ยิ่งขจรขจายไป ทาให้ทนรออยู่ไม่ไหว จึงเหาะมาและ
ตั้งใจว่าจะร่ายเวทย่อกายไปเฝ้าพระพุทธองค์เพื่อขอฟังธรรม แต่พอมาถึงที่ประทับ อสุรินทราหูกลับต้อง
แหงนหน้า คอตั้งบ่า เพื่อจะได้ทัศนาพระพักตร์พระบรมศาสดา (พระพุทธองค์ประทับอยู่ในท่าบรรทม
ตะแคงขวา พระกรซ้ายทอดยาวแนบพระวรกาย พระหัตถ์ขวาประคองพระเศียรตั้งขึ้น จึงมีการสร้าง
พระพุทธรูปปางโปรดอสุรินทราหูในกาลต่อมา และเป็นพระพุทธรูปประจาวันอังคาร) ในครั้งนั้น พระผู้มี
พระภาคเจ้าทรง แสดงพระสัทธรรมชาระจิตอันหยาบกระด้างของอสุรินทราหูจนมีความเลื่อมใสศรัทธา
แสดงตนเป็นอุบาสกผู้ถือพระรัตนตรัยตลอดชีวิต แล้วกล่าวสรรเสริญพระบรมศาสดาว่า "ตัสสะ" แปลว่า
ขอบูชา ขอนอบน้อม ขอนมัสการ
เมื่อครั้งที่ ท้ำวจำตุมหำรำชทั้ง ๔ ผู้ดูแลปกครองสวรรค์ชั้นแรกพร้อมบริวารพากันเข้าเฝ้าพระบรม
ศาสดา แล้วทูลถามปัญหา พระบรมศาสดาทรงแสดงธรรมตอบปัญหาจนทาให้มหาราชทั้งสี่และบริวารเกิด
ธรรมจักษุ ทั้ง ๔ ท่านจึงเปล่งคาบูชาสาธุการพร้อมกันขึ้นว่า "ภะคะวะโต" แปลว่า พระผู้มีพระภาคทรง
เป็นผู้จาแนกธรรมอันยิ่ง อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า
"อะระหะโต" เป็นคากล่าวสรรเสริญของ ท้ำวสักกเทวรำช ผู้สถิตอยู่ ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ท้าว
สักกเทวราชได้ทูลถามปัญหา ซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตรัสปริยายธรรมและทรงตอบปัญหาจนทาให้ท้าว
สักกเทวราชได้ดวงตาเห็นธรรม จึงเปล่งอุทานคาบูชาขึ้นว่า "อะระหะโต" แปลว่า อรหันต์ เป็นผู้ไกลจาก
กิเลส ไกลจากเครื่องข้องทั้งปวง
"สัมมำสัมพุทธัสสะ" เป็นคากล่าวยกย่องสรรเสริญของ ท้ำวมหำพรหม หลังจากได้ฟังธรรมจน
บังเกิดธรรมจักษุ จึงเปล่งคาสาธุการ "สัมมาสัมพุทธัสสะ" หมายถึง ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ด้วยพระองค์เอง
ทรงรู้ดี รู้จริง รู้ยิ่งกว่าผู้รู้อื่นใด
"นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมำสัมพุทธัสสะ" จึงแปลโดยรวมว่า ขอนอบน้อมแด่
พระผู้มีพระภำคเจ้ำพระองค์นั้น ซึ่งเป็นผู้ไกลจำกกิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง ด้วยเหตุนี้
โบราณท่านจึงว่า หากขึ้นต้นคาถาหรือบทสวดมนต์ใด ๆ ด้วยการตั้งนะโม ๓ จบ คาถานั้นจะมีความ
ศักดิ์สิทธิ์ยิ่งนัก ด้วยเพราะเป็นคาสรรเสริญพระพุทธเจ้าที่มีเทพพรหมชั้นหัวหน้าได้กล่าวไว้ แรงครูหรือแรง
แห่งเทพพรหม และแรงพระรัตนตรัย ท่านจึงประสิทธิ์ให้สมประสงค์
อำนิสงส์กำรสวดบทนมัสกำรพระพุทธเจ้ำ
5
๑. น้อมใจจนให้เกิดความกตัญญูกตเวที รู้อุปการคุณที่พระพุทธเจ้ามีต่อตน ให้รู้สึกว่าตนได้ดิบได้ดี อยู่เย็น
เป็นสุข ไกลทุกข์เดือดร้อน ก็เพราะมีพระพุทธเจ้าสอนไว้ ให้มีใจปฏิบัติตาม
๒. ให้รู้สึกว่าได้คบหาสมาคมกับพระพุทธเจ้าด้วยใจ มีพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งของใจ นึกถึงพระพุทธเจ้าครั้งใด
พระพุทธเจ้าก็ปรากฏที่ใจทุกครั้ง
๓. ให้การปฏิบัตินั้นสาเร็จเป็นปฏิบัติตามพระพุทธองค์ ย่อมได้เป็นผู้เบิกบาน หายงมงาย ชนเหล่าใดระลึก
ถึงพระพุทธเจ้าทั้งกลางวันและกลางคืน ชนเหล่านั้นชื่อว่าเป็นสาวกของพระโคดมบรมศาสดา ตื่นอยู่ด้วยดี
ในกาลทุกเมื่อ
------------------------------------------

More Related Content

Similar to ๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf

การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
sumanan vanict
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
เตชะชิน เก้าเดือนยี่
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยbabyoam
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Net'Net Zii
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์sangworn
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
Padvee Academy
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1
wanpenrd
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1
wanpenrd
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
Panda Jing
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
Padvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
Padvee Academy
 
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
Theeraphisith Candasaro
 
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกาหนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา
Tongsamut Vorasarn
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
Padvee Academy
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
Panuwat Beforetwo
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
พระอภิชัช ธมฺมโชโต
 
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)หนุ่มน้อย ดาร์จีลิ่ง
 

Similar to ๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf (20)

พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎกพัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
พัฒนาการความเป็นมาของพระไตรปิฎก
 
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่นการเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
การเผยแผ่พระพุทธศาสนาในญี่ปุ่น
 
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดูศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
ศาสนาพราหมณ์ ฮินดู
 
วัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทยวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์อาณาจักรตามพรลิงค์
อาณาจักรตามพรลิงค์
 
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทยการเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
การเข้ามาและพัฒนาการพุทธศาสนาในประเทศไทย
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1
 
พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1พุทธประวัติ 1
พุทธประวัติ 1
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
โพธิยาลัย เดือน กุมภาพันธ์ 2555
 
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
สัทธรรมปุณฑริกสูตร (The Lotus of The True Law)
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
 
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกาหนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา
หนังสือระเบียบ รายนามวัด-พระธรรมทูตในอเมริกา
 
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhismพระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
พระพุทธศาสนาวัชรยาน Vajrayana Buddhism
 
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
1 บทนำ - 9 มนต์ เพื่อความก้าวหน้า โดย ท่าน ว. วชิรเมธี
 
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทยวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
วรรณกรรมบาลีในประเทศไทย
 
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
ท่องแดนพระพุทธศาสนา ที่ศรีลังกา(ส่วนหน้า)
 

More from maruay songtanin

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
maruay songtanin
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdfผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
ผู้นำที่มีความเห็นอกเห็นใจ Compassionate leadership.pdf
 
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
537 มหาสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
536 กุณาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
535 สุธาโภชนชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
534 มหาหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
533 จูฬหังสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
532 โสณนันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
531 กุสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 

๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf

  • 1. 1 ปกิณกะธรรม พลตรี มารวย ส่งทานินทร์ ๒๙ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๖๖ เกริ่นนำ พระพุทธศาสนา เป็นคาสั่งสอนขององค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ทรงเป็น พระอรหันต์ ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง ถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะ เสด็จไปดีแล้ว ทรงเป็นผู้รู้แจ้งโลก เป็นสารถีฝึกบุรุษผู้ควรฝึกไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่า เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลาย เป็นผู้เบิกบานแล้ว เป็นผู้จาแนกพระธรรม พระไตรปิฎกนั้น พระอรรถกถาจารย์กล่าวว่า พระไตรปิฎกมีเนื้ อความทั้งหมด ๘๔,๐๐๐ พระ ธรรมขันธ์ แบ่งเป็น พระวินัยปิฎก ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ พระสุตตันตปิฎก ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ และ พระอภิธรรมปิฎก ๔๒,๐๐๐ พระธรรมขันธ์ ๑.) พระวินัยปิฎก ประมวลพุทธพจน์หมวดพระวินัย คือพุทธบัญญัติเกี่ยวกับความประพฤติ ความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและการดาเนินกิจการต่างๆ ของภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์แบ่งเป็น ๕ คัมภีร์ (เรียกย่อหรือ หัวใจว่า อำ ปำ ม จุ ป) คือ ๑. อาทิกัมมิกะ หรือ ปาราชิก ว่าด้วยสิกขาบทที่เกี่ยวกับอาบัติหนักของฝ่ายภิกษุสงฆ์ ตั้งแต่ ปาราชิกถึงอนิยต ๒. ปาจิตตีย์ ว่าด้วยสิกขาบทที่เกี่ยวกับอาบัติเบา ตั้งแต่นิสสัคคิยปาจิตตีย์ถึงเสขิยะ รวมตลอดทั้ง ภิกขุนีวิภังค์ทั้งหมด ๓. มหาวรรค ว่าด้วยสิกขาบทนอกปาฏิโมกข์ตอนต้น ๑๐ ขันธกะ หรือ ๑๐ ตอน ๔. จุลวรรค ว่าด้วยสิกขาบทนอกปาฏิโมกข์ตอนปลาย ๑๒ ขันธกะ ๕. ปริวาร คัมภีร์ประกอบหรือคู่มือ บรรจุคาถามคาตอบสาหรับซ้อมความรู้พระวินัย ๒.) พระสุตตันตปิฎก ประมวลพุทธพจน์หมวดพระสูตร คือ พระธรรมเทศนา คาบรรยายธรรมต่างๆ ที่ ตรัสยักเยื้องให้เหมาะกับบุคคลและโอกาสตลอดจนบทประพันธ์ เรื่องเล่า และเรื่องราวทั้งหลายที่เป็นชั้น เดิมในพระพุทธศาสนา แบ่งเป็น ๕ นิกาย (เรียกย่อหรือหัวใจว่า ที ม ส อ ขุ) คือ ๑. ทีฆนิกาย ชุมนุมพระสูตรที่มีขนาดยาว ๓๔ สูตร ๒. มัชฌิมนิกาย ชุมนุมพระสูตรที่มีความยาวปานกลาง ๑๕๒ สูตร ๓. สังยุตตนิกาย ชุมนุมพระสูตรที่จัดรวมเข้าเป็นกลุ่มๆ เรียกว่าสังยุตต์หนึ่งๆ ตามเรื่องที่เนื่องกัน หรือตามหัวข้อหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องรวม ๕๖ สังยุตต์ มี ๗,๗๖๒ สูตร ๔. อังคุตตรนิกาย ชุมนุมพระสูตรที่จัดรวมเข้าเป็นหมวดๆ เรียกว่านิบาตหนึ่งๆ ตามลาดับจานวน หัวข้อธรรม รวม ๑๑ นิบาต หรือ ๑๑ หมวดธรรม มี ๙,๕๕๗ สูตร ๕. ขุททกนิกาย ชุมนุมพระสูตร คาถาภาษิต คาอธิบาย และเรื่องราวเบ็ดเตล็ดที่จัดเข้าในสี่นิกาย แรกไม่ได้มี ๑๕ คัมภีร์
  • 2. 2 ๓.) พระอภิธรรมปิฎก ประมวลพระพุทธพจน์หมวดพระอภิธรรม คือ หลักธรรมและคาอธิบายที่เป็นหลัก วิชาล้วน ๆ ไม่เกี่ยวด้วยบุคคลหรือเหตุการณ์ แบ่งเป็น ๗ คัมภีร์ (เรียกย่อหรือหัวใจว่า ส วิ ธำ ปุ ก ย ป) คือ ๑. สังคณี หรือ ธัมมสังคณี รวมข้อธรรมเข้าเป็นหมวดหมู่แล้วอธิบายทีละประเภท ๆ ๒. วิภังค์ ยกหมวดธรรมสาคัญ ๆ ขึ้นตั้งเป็นหัวเรื่องแล้วแยกแยะออกอธิบายชี้แจงวินิจฉัยโดย ละเอียด ๓. ธาตุกถา สงเคราะห์ข้อธรรมต่าง ๆ เข้าในขันธ์ อายตนะ ธาตุ ๔. ปุคคลบัญญัติ บัญญัติความหมายของบุคคลประเภทต่างๆ ตามคุณธรรมที่มีอยู่ในบุคคลนั้นๆ ๕. กถาวัตถุ แถลงและวินิจฉัยทัศนะของนิกายต่างๆ สมัยสังคายนาครั้งที่ ๓ ๖. ยมก ยกหัวข้อธรรมขึ้นวินิจฉัยด้วยวิธีถามตอบ โดยตั้งคาถามย้อนกันเป็นคู่ ๆ ๗. ปัฏฐาน หรือ มหาปกรณ์ อธิบายปัจจัย ๒๔ แสดงความสัมพันธ์เนื่องอาศัยกันแห่งธรรม ทั้งหลายโดยพิสดาร การนาบทความต่าง ๆ ในพระไตรปิฎกที่นามาเผยแพร่นั้น เพราะอ่านแล้วได้รับความรู้เพิ่มเติม ในทางพระพุทธศาสนาว่า เรื่องราวเหล่านี้ มีปรากฏมานานแล้ว ตั้งแต่การทาปฐมสังคายนา โดยในสมัยแรก นั้นเป็นการท่องจาของสานักต่าง ๆ ของพระภิกษุสงฆ์ที่รับผิดชอบเป็นหมวด ๆ ไป จนกระทั่งมีการทา สังคายนาต่อมาอีกหลายครา จนกระทั่งเริ่มมีการบันทึกเป็นอักษรขึ้นมาจารึกไว้ในคัมภีร์ต่าง ๆ แพร่ไปใน หลากหลายประเทศที่มีการนับถือพุทธศาสนา ที่ปรากฏโดยมากเป็นภาษาบาลีสะกดตามภาษาที่ใช้ใน ท้องที่นั้น ๆ การศึกษาหรือการน้อมประพฤติปฏิบัติตามพระธรรมคาสั่งสอนของพระพุทธองค์ ด้วยความ เคารพและด้วยความรู้ความเข้าใจที่ถูกต้องแท้จริง ย่อมนาประโยชน์ให้เกิดกับผู้นั้นและผู้ที่เกี่ยวข้อง ในประเทศไทยจากความรู้ดั้งเดิมในพระไตรปิฎกที่เคยรู้มานั้น แต่ก่อนบันทึกในแผ่นใบลานและ จารึกพระไตรปิฎกภาษาบาลีนั้นไว้เป็นอักษรขอม ซึ่งพระภิกษุสงฆ์ผู้ปรารถนาจะรู้เรื่องราวที่มีอยู่ในใบลาน นั้น จะต้องเรียนรู้เรื่องภาษาขอมก่อน แล้วจึงค่อยเรียนรู้ภาษาบาลี ซึ่งเป็นภาษาที่ตายแล้ว หมายถึงไม่มี การใช้ในชีวิตประจาวัน ไม่ว่าในประเทศใด ๆ ในโลกนี้ มีข้อดีคือไม่มีการพัฒนาของภาษาที่จะทาให้เกิดการ วิวัฒนาการทาให้ความหมายที่แท้จริงแปรเปลี่ยนไป มีหลักไวยากรณ์ที่เป็นของตนเอง มีความหมายที่ไม่ แปรเปลี่ยนไปตามยุคตามสมัย ในสมัยรัชกาลที่ ๕ ในยุคกรุงรัตนโกสินทร์ ได้มีการพิมพ์พระไตรปิฎกเป็นภาษาไทยขึ้นมา แล้ว แจกจ่ายไปตามวัดวาอารามต่าง ๆ และได้ให้เป็นบรรณาการแก่ห้องสมุดในประเทศตะวันตกด้วย ทาให้ผู้ ต้องการศึกษาพระไตรปิฎกไม่ต้องเรียนรู้ภาษาขอมก่อน ต่อมาในสมัยกึ่งพุทธกาล ในประเทศไทย ได้มีการแปลพระไตรปิฎกจากภาษาบาลีเป็นภาษาไทย โดยพระภิกษุสงฆ์ชาวไทยหลายสานัก ทั้งฉบับหลวงและฉบับมหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย มีจานวน ๔๕ เล่ม ทาให้พระภิกษุสงฆ์และประชาชนชาวไทยที่สนใจในคาสั่งสอนของพระพุทธเจ้า สามารถเข้าถึงพระ ธรรมคาสั่งสอนของพระพุทธองค์ได้มีจานวนมากขึ้น และพุทธบริษัทที่มีความศรัทธาต้องการสืบพระ ศาสนาของพระผู้มีพระภาคเจ้าให้คงอยู่ตราบนานเท่านาน มักนิยมซื้อพระไตรปิฎกถวายให้กับวัดวาอาราม
  • 3. 3 ต่างๆ เพื่อให้พระภิกษุสงฆ์ได้เล่าเรียนคาสั่งสอนของพระพุทธองค์ บ้างก็ถวายพร้อมตู้เก็บพระไตรปิฎก พร้อมกันไปด้วยเลย ในยุคสมัยปัจจุบันที่มีความก้าวหน้าเของเทคโนโลยี จึงได้มีการจัดเก็บพระไตรปิฎกในรูปของ อิเล็คโทรนิค เช่นจัดเก็บในแผ่นซีดี หรือในสื่อต่าง ๆ ของโลกสังคมออนไลน์ ทาให้การค้นคว้าคาสั่งสอนของ พระบรมศาสดาเป็นไปอย่างกว้างขวางและสะดวกรวดเร็วยิ่งขึ้น ซึ่งเป็นข้อดีประการหนึ่ง แต่ถ้าหากมีการ สาเนาคาสั่งสอนในพระไตรปิฎกที่เกิดความคลาดเคลื่อนโดยไม่ได้ตั้งใจก็ดี อาจทาให้เกิดความผิดเพี้ยนไป ได้ ซึ่งอาจเป็นข้อเสียได้ ดังนั้นผู้ที่นาไปเผยแพร่ต่อ ควรมีการอ้างอิงแหล่งที่มาให้ชัดเจน เพื่อผู้ที่ต้องการ ค้นคว้าเพิ่มเติมสามารถยืนยันกับแหล่งที่มาได้เสมอ ------------------- บทสวดนมัสกำรพระพุทธเจ้ำ "นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมำสัมพุทธัสสะ" แปลโดยรวมว่า ขอนอบน้อมแด่พระผู้มีพระภำคเจ้ำพระองค์นั้น ซึ่งเป็นผู้ไกลจำกกิเลส เป็นผู้ ตรัสรู้ด้วยพระองค์เอง จากข้อสังเกตในพระไตรปิฎกฉบับภาษาบาลีทุกเล่ม ไม่ว่าจะเป็นพระวินัยปิฎก พระสุตตันตปิฎก และพระอภิธรรมปิฎก เมื่อกล่าวถึงชื่อพระพุทธพจน์หมวดวินัย พุทธพจน์หมวดพระสูตร หรือพุทธพจน์ หมวดพระอภิธรรม ก่อนที่จะบรรยายพุทธพจน์หมวดนั้น ๆ ก็จะตั้งนะโมฯ ก่อนเสมอ และในเวลาที่พุทธ บริษัทสวดมนต์ มักจะมีการสวดขึ้นต้นว่า นะโมตัสสะ ภควโต อรหโต สัมมำสัมพุทธัสสะ ๓ จบ แล้วบท สวดนะโมฯ นี้ คืออะไร มีที่มาอย่างไร จากการค้นหาพบว่ามีการอ้างถึงต่อ ๆ กันมาดังนี้ ว่า ผู้กล่าวบท นะโม ครั้งแรกในโลก ได้แก่ ๑. นะโม …สาตาคิริยักษ์ ๒. ตัสสะ …อสุรินทร์ราหู ๓. ภควโต…ท้าวจาตุมหาราช “ทรงเปล่งเสียงพร้อมกันทั้งสี่พระองค์” ๔. อรหโต …ท้าวสักกะจอมเทพ ๕. สัมมาสัมพุทธัสสะ …ท้าวสหัมบดีพรหม ดังคาบาลีว่า นโม สำตำคิริยกฺโข ตสฺส อสุรินฺโท ภควโต จำตุมหำรำชำ อรหโต สกฺโก สมฺมำสมฺพุทฺธสฺส มหำพฺรหฺมำ มีเรื่องเล่าว่า ณ แดนหิมวันต์ประเทศ มีเทือกเขาชื่อว่า สาตาคิรี เป็นรมณียสถาน ซึ่งเป็นที่อยู่ของ พวกยักษ์ภุมเทวา อันมีนามตามที่อยู่ว่า สำตำคิรียักษ์ เป็นบริวารของท้าวเวสสุวัณ มีหน้าที่เฝ้าทางเข้าหิม วันต์ทางทิศเหนือ สาตาคิรียักษ์มีโอกาสสดับพระสัทธรรมจากพระบรมศาสดาจนมีจิตเลื่อมใสศรัทธา เปล่ง
  • 4. 4 คายกย่องบูชาด้วยคาว่า "นะโม" หมายถึง พระผู้มีพระภาคทรงเป็นใหญ่กว่ามนุษย์ เทพยดา พรหม มาร ยักษ์ และสัตว์ทั้งปวง ฝ่าย อสุรินทรำหู เมื่อได้สดับพระกิตติศัพท์ของพระบรมศาสดา ก็ปรารถนาที่จะฟังธรรมบ้าง แต่ เนื่องจากกายของตนใหญ่โตเท่ากับโลก จึงดูแคลนพระบรมศาสดาว่ามีพระวรกายเล็กดังมด จึงอดใจรั้งรอ อยู่ นานวันเข้าพระเกียรติคุณของพระผู้มีพระภาคเจ้าก็ยิ่งขจรขจายไป ทาให้ทนรออยู่ไม่ไหว จึงเหาะมาและ ตั้งใจว่าจะร่ายเวทย่อกายไปเฝ้าพระพุทธองค์เพื่อขอฟังธรรม แต่พอมาถึงที่ประทับ อสุรินทราหูกลับต้อง แหงนหน้า คอตั้งบ่า เพื่อจะได้ทัศนาพระพักตร์พระบรมศาสดา (พระพุทธองค์ประทับอยู่ในท่าบรรทม ตะแคงขวา พระกรซ้ายทอดยาวแนบพระวรกาย พระหัตถ์ขวาประคองพระเศียรตั้งขึ้น จึงมีการสร้าง พระพุทธรูปปางโปรดอสุรินทราหูในกาลต่อมา และเป็นพระพุทธรูปประจาวันอังคาร) ในครั้งนั้น พระผู้มี พระภาคเจ้าทรง แสดงพระสัทธรรมชาระจิตอันหยาบกระด้างของอสุรินทราหูจนมีความเลื่อมใสศรัทธา แสดงตนเป็นอุบาสกผู้ถือพระรัตนตรัยตลอดชีวิต แล้วกล่าวสรรเสริญพระบรมศาสดาว่า "ตัสสะ" แปลว่า ขอบูชา ขอนอบน้อม ขอนมัสการ เมื่อครั้งที่ ท้ำวจำตุมหำรำชทั้ง ๔ ผู้ดูแลปกครองสวรรค์ชั้นแรกพร้อมบริวารพากันเข้าเฝ้าพระบรม ศาสดา แล้วทูลถามปัญหา พระบรมศาสดาทรงแสดงธรรมตอบปัญหาจนทาให้มหาราชทั้งสี่และบริวารเกิด ธรรมจักษุ ทั้ง ๔ ท่านจึงเปล่งคาบูชาสาธุการพร้อมกันขึ้นว่า "ภะคะวะโต" แปลว่า พระผู้มีพระภาคทรง เป็นผู้จาแนกธรรมอันยิ่ง อย่างไม่มีใครยิ่งกว่า "อะระหะโต" เป็นคากล่าวสรรเสริญของ ท้ำวสักกเทวรำช ผู้สถิตอยู่ ณ สวรรค์ชั้นดาวดึงส์ ท้าว สักกเทวราชได้ทูลถามปัญหา ซึ่งพระผู้มีพระภาคเจ้าทรงตรัสปริยายธรรมและทรงตอบปัญหาจนทาให้ท้าว สักกเทวราชได้ดวงตาเห็นธรรม จึงเปล่งอุทานคาบูชาขึ้นว่า "อะระหะโต" แปลว่า อรหันต์ เป็นผู้ไกลจาก กิเลส ไกลจากเครื่องข้องทั้งปวง "สัมมำสัมพุทธัสสะ" เป็นคากล่าวยกย่องสรรเสริญของ ท้ำวมหำพรหม หลังจากได้ฟังธรรมจน บังเกิดธรรมจักษุ จึงเปล่งคาสาธุการ "สัมมาสัมพุทธัสสะ" หมายถึง ผู้รู้ ผู้ตื่น ผู้เบิกบาน ด้วยพระองค์เอง ทรงรู้ดี รู้จริง รู้ยิ่งกว่าผู้รู้อื่นใด "นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต อะระหะโต สัมมำสัมพุทธัสสะ" จึงแปลโดยรวมว่า ขอนอบน้อมแด่ พระผู้มีพระภำคเจ้ำพระองค์นั้น ซึ่งเป็นผู้ไกลจำกกิเลส ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เอง ด้วยเหตุนี้ โบราณท่านจึงว่า หากขึ้นต้นคาถาหรือบทสวดมนต์ใด ๆ ด้วยการตั้งนะโม ๓ จบ คาถานั้นจะมีความ ศักดิ์สิทธิ์ยิ่งนัก ด้วยเพราะเป็นคาสรรเสริญพระพุทธเจ้าที่มีเทพพรหมชั้นหัวหน้าได้กล่าวไว้ แรงครูหรือแรง แห่งเทพพรหม และแรงพระรัตนตรัย ท่านจึงประสิทธิ์ให้สมประสงค์ อำนิสงส์กำรสวดบทนมัสกำรพระพุทธเจ้ำ
  • 5. 5 ๑. น้อมใจจนให้เกิดความกตัญญูกตเวที รู้อุปการคุณที่พระพุทธเจ้ามีต่อตน ให้รู้สึกว่าตนได้ดิบได้ดี อยู่เย็น เป็นสุข ไกลทุกข์เดือดร้อน ก็เพราะมีพระพุทธเจ้าสอนไว้ ให้มีใจปฏิบัติตาม ๒. ให้รู้สึกว่าได้คบหาสมาคมกับพระพุทธเจ้าด้วยใจ มีพระพุทธเจ้าเป็นที่พึ่งของใจ นึกถึงพระพุทธเจ้าครั้งใด พระพุทธเจ้าก็ปรากฏที่ใจทุกครั้ง ๓. ให้การปฏิบัตินั้นสาเร็จเป็นปฏิบัติตามพระพุทธองค์ ย่อมได้เป็นผู้เบิกบาน หายงมงาย ชนเหล่าใดระลึก ถึงพระพุทธเจ้าทั้งกลางวันและกลางคืน ชนเหล่านั้นชื่อว่าเป็นสาวกของพระโคดมบรมศาสดา ตื่นอยู่ด้วยดี ในกาลทุกเมื่อ ------------------------------------------