SlideShare a Scribd company logo
1 of 13
พระไตรปิ ฏก
พระพุทธศาสนา เป็นคาสั่งสอนของ องค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ทรงเป็นพระอรหันต์
ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เองถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะเสด็จไปดีแล้วทรงเป็นผู้รู้แจ้งโลกเป็นสารถี ฝึกบุรุษที่ควรฝึก
ไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่าเป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลายเป็นผู้เบิกบานแล้วเป็นผู้จาแนกพระธรรม.
การศึกษาหรือการน้อมประพฤติปฏิบัติตามพระธรรมคาสั่งสอนของพระองค์ด้วยความเคารพด้วยความรู้
ความเข้าใจที่ถูกต้องแท้จริงย่อมนามาซึ่งประโยชน์เป็นอันมากให้เกิดแก่ผู้นั้นและผู้เกี่ยวข้อง.
ความหมายของพระไตรปิฎก
ไตรปิฎก"ปิฎกสาม";ปิฎก แปลตามศัพท์อย่างพื้นๆว่ากระจาดหรือตะกร้า
อันเป็นภาชนะสาหรับใส่รวมของต่างๆเข้าไว้ นามาใช้ในความหมายว่า
เป็นที่รวบรวมคาสอนในพระพุทธศาสนาที่จัดเป็นหมวดหมู่แล้ว โดยนัยนี้ ไตรปิฎกจึงแปลว่าคัมภีร์ที่บรรจุพุทธพจน์(
และเรื่องราวชั้นเดิมของพระพุทธศาสนา)๓ชุด หรือประมวลแห่งคัมภีร์ที่รวบรวมพระธรรมวินัย ๓หมวดกล่าวคือวินัยปิฎก
สุตตันตปิฎก และอภิธรรมปิฎก ; พระไตรปิฎกจัดแบ่งหมวดหมู่โดยย่อดังนี้
๑. พระวินัยปิฎกประมวลพุทธพจน์หมวดพระวินัยคือพุทธบัญญัติเกี่ยวกับความประพฤติความเป็นอยู่ขนบ
ธรรมเนียมและการดาเนินกิจการต่างๆของภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์แบ่งเป็น๕คัมภีร์ (เรียกย่อหรือหัวใจว่าอา ปา
ม จุ ป) คือ
๑.อาทิกัมมิกะ หรือปาราชิกว่าด้วยสิกขาบทที่เกี่ยวกับอาบัติหนักของฝ่ายภิกษุสงฆ์ตั้งแต่ปาราชิกถึงอนิยต
๒. ปาจิตตีย์ว่าด้วยสิกขาบทที่เกี่ยวกับอาบัติเบาตั้งแต่นิสสัคคิยปาจิตตีย์ถึงเสขิยะรวมตลอดทั้งภิกขุนีวิภังค์ทั้งหมด
๓. มหาวรรคว่าด้วยสิกขาบทนอกปาฏิโมกข์ตอนต้น๑๐ขันธกะหรือ๑๐ตอน
๔. จุลวรรคว่าด้วยสิกขาบทนอกปาฏิโมกข์ตอนปลาย๑๒ขันธกะ
๕. ปริวารคัมภีร์ประกอบหรือคู่มือบรรจุคาถามคาตอบสาหรับซ้อมความรู้พระวินัย
พระวินัยปิฎกนี้แบ่งอีกแบบหนึ่งเป็น ๕ คัมภีร์เหมือนกัน(จัด ๒ ข้อในแบบต้นนั้นใหม่)คือ
๑.มหาวิภังค์ หรือภิกขุวิภังค์ ว่าด้วยสิกขาบทในปาฏิโมกข์(ศีล๒๒๗ข้อ) ฝ่ายภิกษุสงฆ์
๒. ภิกขุนีวิภังค์ว่าด้วยสิกขาบทในปาฏิโมกข์(ศีล๓๑๑ข้อ) ฝ่ายภิกษุณีสงฆ์
๓. มหาวรรค ๔.จุลวรรค ๕. ปริวาร
บางทีท่านจัดให้ย่นย่อเข้าอีกแบ่งพระวินัยปิฎกเป็น๓หมวด คือ
๑.วิภังค์ ว่าด้วยสิกขาบทในปาฏิโมกข์ทั้งฝ่ายภิกษุสงฆ์และฝ่ายภิกษุณีสงฆ์(คือรวมข้อ๑และ ๒ ข้างต้นทั้งสองแบบ
เข้าด้วยกัน)
๒. ขันธกะว่าด้วยสิกขาบทนอกปาฏิโมกข์ทั้ง๒๒ขันธกะหรือ๒๒ บทตอน(คือรวมข้อ ๓และ ๔เข้าด้วยกัน)
๓. ปริวารว่าคัมภีร์ประกอบ(คือข้อ ๕ ข้างบน)
๒. พระสุตตันตปิฎกประมวลพุทธพจน์หมวดพระสูตรคือพระธรรมเทศนาคาบรรยายธรรมต่างๆ
ที่ตรัสยักเยื้องให้เหมาะกับบุคคลและโอกาสตลอดจนบทประพันธ์เรื่องเล่า
และเรื่องราวทั้งหลายที่เป็นชั้นเดิมในพระพุทธศาสนาแบ่งเป็น๕นิกาย(เรียกย่อหรือหัวใจว่าที ม สํ อํ ขุ) คือ
๑.ทีฆนิกายชุมนุมพระสูตรที่มีขนาดยาว๓๔สูตร
๒. มัชฌิมนิกายชุมนุมพระสูตรที่มีความยาวปานกลาง๑๕๒สูตร
๓. สังยุตตนิกายชุมนุมพระสูตรที่จัดรวมเข้าเป็นกลุ่มๆเรียกว่าสังยุตต์หนึ่งๆตามเรื่องที่เนื่องกัน
หรือตามหัวข้อหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องรวม๕๖สังยุตต์มี ๗,๗๖๒ สูตร
๔. อังคุตตรนิกายชุมนุมพระสูตรที่จัดรวมเข้าเป็นหมวดๆเรียกว่านิบาตหนึ่งๆตามลาดับจานวนหัวข้อธรรมรวม
๑๑ นิบาต หรือ๑๑ หมวดธรรมมี ๙,๕๕๗ สูตร
๕. ขุททกนิกายชุมนุมพระสูตรคาถาภาษิตคาอธิบายและเรื่องราวเบ็ดเตล็ดที่จัดเข้าในสี่นิกายแรกไม่ได้มี ๑๕คัมภีร์
๓. พระอภิธรรมปิฎกประมวลพระพุทธพจน์หมวดพระอภิธรรมคือหลักธรรมและคาอธิบายที่เป็นหลักวิชาล้วนๆ
ไม่เกี่ยวด้วยบุคคลหรือเหตุการณ์ แบ่งเป็น๗คัมภีร์ (เรียกย่อหรือหัวใจว่าสํ วิ ธา ปุ ก ย ป) คือ
๑.สังคณี หรือ ธัมมสังคณี รวมข้อธรรมเข้าเป็นหมวดหมู่แล้วอธิบายทีละประเภทๆ
๒. วิภังค์ ยกหมวดธรรมสาคัญๆขึ้นตั้งเป็นหัวเรื่องแล้วแยกแยะออกอธิบายชี้แจงวินิจฉัยโดยละเอียด
๓. ธาตุกถาสงเคราะห์ข้อธรรมต่างๆเข้าในขันธ์อายตนะ ธาตุ
๔. ปุคคลบัญญัติบัญญัติความหมายของบุคคลประเภทต่างๆตามคุณธรรมที่มีอยู่ในบุคคลนั้นๆ
๕. กถาวัตถุแถลงและวินิจฉัยทัศนะของนิกายต่างๆสมัยสังคายนาครั้งที่๓
๖.ยมก ยกหัวข้อธรรมขึ้นวินิจฉัยด้วยวิธีถามตอบโดยตั้งคาถามย้อนกันเป็นคู่ๆ
๗. ปัฏฐาน หรือ มหาปกรณ์ อธิบายปัจจัย๒๔แสดงความสัมพันธ์เนื่องอาศัยกันแห่งธรรมทั้งหลายโดยพิสดาร
ความหมายของ พระไตรปิฎก
พระไตรปิฏก แปลว่า ๓ คัมภีร์ เมื่อแยกเป็นคาๆ ว่า พระ + ไตร + ปิฏก
คาว่า "พระ" เป็นคาแสดงความเคารพหรือยกย่อง คาว่า "ไตร"
แปลว่า สาม คาว่า "ปิฏก" แปลได ้ ๒ อย่าง คือ แปลว่า คัมภีร์
หรือแปลว่า กระจาด ตะกร้า
ดังนั้น พระไตรปิฏก จึงหมายถึง
สิ่งที่รวบรวมคาสั่งสอนของพระพุทธเจ ้าไว ้เป็นหมวดหมู่ไม่ไห ้กระจัดกระ
จาย คล ้ายกระจาดหรือตะกร ้าอันเป็นภาชนะใส่ของนั้นเอง
ปิฏก ๓ หรือพระไตรปิฏก แบ่งออกเป็น
๑. พระวินัยปิฏก ว่าด ้วยวินัยหรือศีลของภิกษุ ภิกษุณี
๒. พระสุตตันตปิฏก ว่าด ้วยพระธรรมเทศนาทั่วไป
๓. พระอภิธรรมปิฏก ว่าด ้วยธรรมล ้วนๆ หรือธรรมสาคัญ
พระไตรปิฎก
๑ ๒ ๓
พระวินัยปิฏก
คัมภีร์ว่าด ้วยระเบียบวินัย
พระสุตตันตปิฏก
คัมภีร์ว่าด ้วยพระธรรมเทศนาทั่วๆ
ไป มีประวัติ
และท ้องเรื่องประกอบ
เน ้นความสาคัญในสมาธิ
คือการพัฒนาด ้านจิตใจ
พระอภิธรรมปิ ฏก
คัมภีร์ว่าด ้วยหลักธรรม
และคาอธิบาย
ที่เป็นเนื้อหาวิชาการล ้วนๆ
ไม่มีประวัติและท ้องเรื่องประกอบ
ความสาคัญของพระไตรปิฎก
ก่อนปรินิพพาน พระพุทธเจ ้าได ้ตรัสทานองสั่งเสียกับพระอานนท์ว่า
เมื่อพระองค์ปรินิพพานล่วงลับไปแล ้ว จะไม่ทรงตั้งภิกษุรูปใดแทนพระองค์
หากแต่ให ้ชาวพุทธทั้งหลายยึดพระธรรมวินัยเป็ นศาสดาแทนพระองค์ ตามพระพุทธพจน์ว่า "โย โว
อานนฺท มยาธมฺโม จ วินโย จ เทสิโต ปญฺญตฺโต โส โว มมจฺจเยน สตฺถา" แปลว่า ดูก่อน อานนท์
ธรรมและวินัยใดที่เราได ้แสดงแล ้วและบัญญัติแล ้วแก่เธอทั้งหลาย ธรรมและวินัยนั้น
เป็นศาสดาของเธอทั้งหลาย โดยกาลที่เราล่วงลับไป
พระพุทธพจน์นี้แสดงให ้เห็นว่า พระธรรมวินัย ถือเป็นคาสั่งสอนของพระพุทธเจ ้า
จึงเท่ากับเป็นองค์พระศาสดาและเป็ นตัวแทนพระพุทธศาสนา
ตู ้พระไตรปิฏก
วัดระฆังโฆสิตาราม
และพระธรรมวินัยทั้งหลายนั้นล ้วนได ้ประมวลอยู่ใน พระไตรปิฏก ทั้งสิ้น
อาจกล่าวได ้ว่า พระไตรปิฏก มีความสาคัญดังนี้ คือ
๑. เป็นที่รวบรวมไว ้ซึ่งพระพุทธพจน์ คือคาสั่งของพระพุทธเจ ้า
๒. เป็นที่สถิตของพระศาสดาของพุทธศาสนิกชน เราสามารถเฝ้าพระพุทธเจ ้า
หรือรู ้จักพระพุทธเจ ้าได ้จากพระไตรปิฏก
๓. เป็นแหล่งต ้นเดิมหรือแม่บทในพระพุทธศาสนา
๔. เป็นมาตรฐานตรวจสอบคาสอนและข ้อปฏิบัติในพระพุทธศาสนา คาสอนและข ้อปฏิบัติใดๆ
ที่จะถือว่าเป็นคาสอนและข ้อปฏิบัติในพระพุทธศาสนาได ้
จะต ้องสอดคล ้องกับพระธรรมวินัยในพระไตรปิฏก
๕. เป็นคัมภีร์ที่ถือเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นประโยชน์ทางวิชาการ
สุชาดา วราหพันธ์, วิถีธรรมวิถีไทย, หน ้า ๔๒-๔๓
ความหมายพระไตรปิฎก
จากพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ โดยพระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต)
ความหมายพระวินัยปิฎก
จากพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ โดยพระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต)
พระวินัยปิฎก ๘ เล่ม
พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๑
พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๒
พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๓
พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔
พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๕
พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๖
พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๗
พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๘
ความหมายของพระวินัยปิฎก
พระวินัยปิฎกประมวลพุทธพจน์หมวดพระวินัยคือพุทธบัญญัติเกี่ยวกับความประพฤติความเป็นอยู่
ขนบธรรมเนียมและการดาเนินกิจการต่างๆของภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์แบ่งเป็น๕คัมภีร์ (เรียกย่อหรือหัวใจว่า
อา ปา ม จุ ป) คือ
๑.อาทิกัมมิกะ หรือปาราชิกว่าด้วยสิกขาบทที่เกี่ยวกับอาบัติหนักของฝ่ายภิกษุสงฆ์ตั้งแต่ปาราชิกถึงอนิยต
๒. ปาจิตตีย์ว่าด้วยสิกขาบทที่เกี่ยวกับอาบัติเบาตั้งแต่นิสสัคคิยปาจิตตีย์ถึงเสขิยะรวมตลอดทั้งภิกขุนีวิภังค์ทั้งหมด
๓. มหาวรรคว่าด้วยสิกขาบทนอกปาฏิโมกข์ตอนต้น๑๐ขันธกะหรือ๑๐ตอน
๔. จุลวรรคว่าด้วยสิกขาบทนอกปาฏิโมกข์ตอนปลาย๑๒ขันธกะ
๕. ปริวารคัมภีร์ประกอบหรือคู่มือบรรจุคาถามคาตอบสาหรับซ้อมความรู้พระวินัย
พระวินัยปิฎกนี้แบ่งอีกแบบหนึ่งเป็น ๕ คัมภีร์เหมือนกัน(จัด ๒ ข้อในแบบต้นนั้นใหม่)คือ
๑.มหาวิภังค์ หรือภิกขุวิภังค์ ว่าด้วยสิกขาบทในปาฏิโมกข์(ศีล๒๒๗ข้อ) ฝ่ายภิกษุสงฆ์
๒. ภิกขุนีวิภังค์ว่าด้วยสิกขาบทในปาฏิโมกข์(ศีล๓๑๑ข้อ) ฝ่ายภิกษุณีสงฆ์
๓. มหาวรรค ๔.จุลวรรค ๕. ปริวาร
บางทีท่านจัดให้ย่นย่อเข้าอีกแบ่งพระวินัยปิฎกเป็น๓หมวด คือ
๑.วิภังค์ ว่าด้วยสิกขาบทในปาฏิโมกข์ทั้งฝ่ายภิกษุสงฆ์และฝ่ายภิกษุณีสงฆ์(คือรวมข้อ๑และ ๒ ข้างต้นทั้งสอง
แบบเข้าด้วยกัน)
๒. ขันธกะว่าด้วยสิกขาบทนอกปาฏิโมกข์ทั้ง๒๒ขันธกะหรือ๒๒ บทตอน(คือรวมข้อ ๓และ ๔เข้าด้วยกัน)
๓. ปริวารว่าคัมภีร์ประกอบ(คือข้อ ๕ ข้างบน)
พระวินัยปิฎก ๘ เล่ม
เล่ม ๑มหาวิภังค์ ภาค ๑ ว่าด้วยปาราชิกสังฆาทิเสสและอนิยตสิกขาบท(สิกขาบทในปาฏิโมกข์ฝ่ายภิกษุสงฆ์ ๑๙ข้อแรก)
เล่ม ๒ มหาวิภังค์ภาค ๒ ว่าด้วยสิกขาบทเกี่ยวกับอาบัติเบาของภิกษุ(เป็นอันครบสิกขาบท๒๒๗หรือศีล ๒๒๗)
เล่ม ๓ ภิกขุนีวิภังค์ว่าด้วยสิกขาบท๓๑๑ของภิกษุณี
เล่ม ๔ มหาวรรคภาค๑ มี ๔ขันธกะ ว่าด้วยการอุปสมบท(เริ่มเรื่องตั้งแต่ตรัสรู้และประดิษฐานพระศาสนา) อุโบสถ
จาพรรษาและปวารณา
เล่ม ๕ มหาวรรคภาค๒ มี ๖ ขันธกะ ว่าด้วยเรื่องเครื่องหนังเภสัชกฐินจีวรนิคหกรรมและการทะเลาะวิวาทและสามัคคี
เล่ม ๖ จุลวรรคภาค๑ มี ๔ ขันธกะว่าด้วยเรื่องนิคหกรรมวุฏฐานวิธีและการระงับอธิกรณ์
เล่ม ๗ จุลวรรคภาค๒ มี ๘ ขันธกะว่าด้วยข้อบัญญัติปลีกย่อยเรื่องเสนาสนะสังฆเภทวัตรต่างๆการงดสวดปาฏิโมกข์
เรื่องภิกษุณี เรื่องสังคายนาครั้งที่๑และครั้งที่๒
เล่ม ๘ ปริวารคู่มือถามตอบซ้อมความรู้พระวินัย
ความหมายสุตตันตปิฎก
จากพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ โดยพระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต)
พระสุตตันตปิฎก ๒๕ เล่ม
ทีฆนิกาย เล่ม ๑-๓
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๓
มัชฌิมนิกาย เล่ม ๔-๖
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๕
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๖
สังยุตตนิกาย เล่ม ๗-๑๑
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๗
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๘
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๙
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๐
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๑
อังคุตตรนิกาย เล่ม ๑๒-๑๖
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๒
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๓
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๔
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๕
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๖
ขุททกนิกาย เล่ม ๑๗- ๒๕
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๘
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๙
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๐
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๑
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๒
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๓
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๔
พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๕
ความหมายของพระสุตตันตปิฎก
พระสุตตันตปิฎกประมวลพุทธพจน์หมวดพระสูตรคือพระธรรมเทศนาคาบรรยายธรรมต่างๆ
ที่ตรัสยักเยื้องให้เหมาะกับบุคคลและโอกาสตลอดจนบทประพันธ์เรื่องเล่า
และเรื่องราวทั้งหลายที่เป็นชั้นเดิมในพระพุทธศาสนาแบ่งเป็น๕นิกาย(เรียกย่อหรือหัวใจว่าที ม สํ อํ ขุ) คือ
๑.ทีฆนิกายชุมนุมพระสูตรที่มีขนาดยาว๓๔สูตร
๒. มัชฌิมนิกายชุมนุมพระสูตรที่มีความยาวปานกลาง๑๕๒สูตร
๓. สังยุตตนิกายชุมนุมพระสูตรที่จัดรวมเข้าเป็นกลุ่มๆเรียกว่าสังยุตต์หนึ่งๆตามเรื่องที่เนื่องกัน
หรือตามหัวข้อหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องรวม๕๖สังยุตต์มี ๗,๗๖๒ สูตร
๔. อังคุตตรนิกายชุมนุมพระสูตรที่จัดรวมเข้าเป็นหมวดๆเรียกว่านิบาตหนึ่งๆตามลาดับจานวนหัวข้อธรรม รวม๑๑นิบาต
หรือ๑๑ หมวดธรรมมี ๙,๕๕๗ สูตร
๕. ขุททกนิกายชุมนุมพระสูตรคาถาภาษิตคาอธิบายและเรื่องราวเบ็ดเตล็ดที่จัดเข้าในสี่นิกายแรกไม่ได้มี ๑๕คัมภีร์
พระสุตตันปิฎก๒๕ เล่ม
๑. ทีฆนิกาย ๓ เล่ม
เล่ม ๙ สีลขันธวรรคมีพระสูตรขนาดยาว๑๓สูตรหลายสูตรกล่าวถึงจุลศีลมัชฌิมศีลมหาศีล
เล่ม ๑๐ มหาวรรคมีพระสูตรยาว๑๐สูตรส่วนมากชื่อเริ่มด้วย"มหา"เช่นมหาปรินิพพานสูตรมหาสติปัฏฐานสูตรเป็นต้น
เล่ม ๑๑ ปาฏิกวรรคมีพระสูตรยาว๑๑สูตรเริ่มด้วยปาฏิกสูตรหลายสูตรมีชื่อเสียงเช่นจักกวัตติสูตรอัคคัญญสูตร
สิงคาลกสูตรและสังคีติสูตร
๒. มัชฌิมนิกาย ๓ เล่ม
เล่ม ๑๒ มูลปัณณาสก์ บั้นต้นมีพระสูตรขนาดกลาง๕๐สูตร
เล่ม ๑๓ มัชฌิมปัณณาสก์ บั้นกลางมีพระสูตรขนาดกลาง๕๐สูตร
เล่ม ๑๔ อุปริปัณณาสก์ บั้นปลายมีพระสูตรขนาดกลาง๕๒สูตร
๓. สังยุตตนิกาย ๕ เล่ม
เล่ม ๑๕ สคาถวรรครวมคาถาภาษิตที่ตรัสและกล่าวตอบบุคคลต่างๆเช่นเทวดามารภิกษุณี พราหมณ์ พระเจ้าโกศล
เป็นต้นจัดเป็นกลุ่มเรื่องตามบุคคลและสถานที่มี๑๑สังยุตต์
เล่ม ๑๖ นิทานวรรคครึ่งเล่มว่าด้วยเหตุปัจจัยคือหลักปฏิจจสมุปบาทนอกนั้นมีเรื่องธาตุ การบรรลุธรรมสังสารวัฏ
ลาภสักการะเป็นต้นจัด เป็น ๑๐ สังยุตต์
เล่ม ๑๗ ขันธวารวรรคว่าด้วยเรื่องขันธ์๕ในแง่มุมต่างๆ มีเรื่องเบ็ดเตล็ดรวมทั้งเรื่องสมาธิและทิฏฐิต่างๆปะปนอยู่บ้าง
จัดเป็น ๑๓ สังยุตต์
เล่ม ๑๘ สฬายตนวรรคเกือบครึ่งเล่มว่าด้วยอายตนะ๖ตามแนวไตรลักษณ์ เรื่องอื่นมีเบญจศีลข้อปฏิบัติให้ถึงอสังขตะ
อันตคาหิกทิฏฐิ เป็นต้นจัดเป็น ๑๐ สังยุตต์
เล่ม ๑๙ มหาวรรคว่าด้วยโพธิปักขิยธรรม๓๗แต่เรียงลาดับเป็นมรรคโพชฌงค์สติปัฏฐานอินทรีย์สัมมัปปธาน พละ
อิทธิบาทรวมทั้งเรื่องที่เกี่ยวข้องเช่นนิวรณ์ สังโยชน์อริยสัจจ์ ฌาน
ตลอดถึงองค์คุณของพระโสดาบันและอานิสงส์ของการบรรลุโสดาปัตติผลจัดเป็น๑๒สังยุตต์
(พึงสังเกตว่าคัมภีร์นี้เริ่มต้นด้วยการย้าความสาคัญของความมีกัลยาณมิตรเป็นจุดเริ่มต้นเข้าสู่มรรค)
๔. อังคุตตรนิกาย ๕ เล่ม
เล่ม ๒๐ เอก-ทุก-ติกนิบาตว่าด้วยธรรมหมวด๑หมวด ๒ หมวด๓ รวมทั้งเรื่องเอตทัคคะ
เล่ม ๒๑จตุกกนิบาตว่าด้วยธรรมหมวด๔
เล่ม ๒๒ ปัญจก-ฉักกนิบาตว่าด้วยธรรมหมวด๕-๖
เล่ม ๒๓สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาตว่าด้วยธรรมหมวด๗-๘-๙
เล่ม ๒๔ ทสก-เอกาทสกนิบาตว่าด้วยธรรมหมวด๑๐-๑๑
ในอังคุตตรนิกายมีข้อธรรมหลากหลายลักษณะตั้งแต่ทิฏฐธัมมิกัตถะถึงปรมัตถะทั้งสาหรับบรรพชิตและสาหรับคฤหัสถ์
กระจายกันอยู่โดยเรียงตามจานวน
๕. ขุททกนิกาย ๙ เล่ม
เล่ม ๒๕ รวมคัมภีร์ย่อย๕คือขุททกปาฐะ(บทสวดย่อยๆโดยเฉพาะมงคลสูตรรตนสูตรกรณียเมตตสูตร)
ธรรมบท(เฉพาะตัวคาถาทั้ง๔๒๓)อุทาน(พุทธอุทาน ๘๐) อิติวุตตกะ(พระสูตรที่ไม่ขึ้นต้นด้วย"เอวมฺเมสุต"
แต่เชื่อมความเข้าสู่คาถาด้วยคาว่า"อิติวุจฺจติ" รวม๑๑๒สูตร)และสุตตนิบาต(ชุมนุมพระสูตรชุดพิเศษ
ซึ่งเป็นคาถาล้วนหรือมีความนาเป็นร้อยแก้วรวม๗๑สูตร)
เล่ม ๒๖ มีคัมภีร์ย่อยที่เป็นคาถาล้วน๔คือ วิมานวัตถุ(เรื่องผู้เกิดในสวรรค์อยู่วิมานเล่าการทาความดีของตนในอดีต
ที่ทาให้ได้ไปเกิดเช่นนั้น๘๕เรื่อง) เปตวัตถุ(เรื่องเปรตเล่ากรรมชั่วในอดีตของตน๕๑เรื่อง)
เถรคาถา(คาถาของพระอรหันตเถระ๒๖๔รูปที่กล่าวแสดงความรู้สึกสงบประณีตในการบรรลุธรรมเป็นต้น)
เถรีคาถา(คาถาของพระอรหันตเถรี ๗๓รูปที่กล่าวแสดงความรู้สึกเช่นนั้น)
เล่ม ๒๗ชาดก ภาค๑ รวมคาถาแสดงคติธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสเมื่อครั้งเป็นพระโพธิสัตว์ในอดีตชาติ
และมีคาถาภาษิตของผู้อื่นปนอยู่บ้างภาคแรกตั้งแต่เรื่องที่มีคาถาเดียว(เอกนิบาต)ถึงเรื่องมี ๔๐คาถา(จัตตาฬีสนิบาต)
รวม๕๒๕เรื่อง
เล่ม ๒๘ชาดก ภาค๒ รวมคาถาอย่างในภาค๑นั้นเพิ่มอีก แต่เป็นเรื่องอย่างยาวตั้งแต่เรื่องมี๕๐คาถา(ปัญญาสนิบาต)
ถึงเรื่องมีคาถามากมาย(มหานิบาต)จบลงด้วยมหาเวสสันดรชาดกซึ่งมี ๑,๐๐๐คาถารวมอีก๒๒เรื่อง
บรรจบทั้งสองภาค เป็น ๕๔๗ ชาดก
เล่ม ๒๙ มหานิทเทสภาษิตของพระสารีบุตรอธิบายขยายความพระสูตร ๑๖สูตรในอัฏฐกวรรคแห่งสุตตนิบาต
เล่ม ๓๐ จูฬนิทเทสภาษิตของพระสารีบุตรอธิบายขยายความพระสูตร ๑๖สูตรในปารายนวรรคและขัคควิสาณสูตร
ในอุรควรรคแห่งสุตตนิบาต
เล่ม ๓๑ปฏิสัมภิทามรรคภาษิตของพระสารีบุตรอธิบายข้อธรรมที่ลึกซึ้งต่างๆเช่นเรื่องญาณทิฏฐิ อานาปานอินทรีย์
วิโมกข์เป็นต้นอย่างพิสดารเป็นทางแห่งปัญญาแตกฉาน
เล่ม ๓๒อปทาน ภาค ๑ คาถาประพันธ์แสดงประวัติโดยเฉพาะในอดีตชาติเริ่มด้วยพุทธอปทาน(ประวัติของพระพุทธเจ้า)
ปัจเจกพุทธอปทาน(เรื่องราวของพระปัจเจกพุทธเจ้า)ต่อด้วยเถรอปทาน(อัตตประวัติแห่งพระอรหันตเถระ)
เรียงลาดับเริ่มแต่พระสารีบุตรตามด้วยพระมหาโมคคัลลานะพระมหากัสสปะพระอนุรุทธพระปุณณมันตานีบุตร
พระอุบาลีพระอัญญาโกณฑัญญะพระปิณโฑลภารทวาชะพระขทิรวนิยเรวตะพระอานนท์ต่อเรื่อยไปจนจบภาค ๑ รวม
พระอรหันตเถระ๔๑๐รูป
เล่ม ๓๓อปทาน ภาค ๒คาถาประพันธ์แสดงอัตตประวัติพระอรหันตเถระต่ออีกจนถึงรูปที่ ๕๕๐ต่อนั้น
เป็นเถรีอปทานแสดงเรื่องราวของพระอรหันตเถรี ๔๐เรื่องเริ่มด้วยพระเถรีที่ไม่คุ้นนาม๑๖รูป
ต่อด้วยพระเถรีที่สาคัญเรียงลาดับคือพระมหาปชาบดีโคตมีพระเขมาพระอุบลวรรณาพระปฏาจาราพระกุณฑลเกสี
พระกีสาโคตมีพระธรรมทินนาพระสกุลาพระนันทาพระโสณาพระภัททกาปิลานีพระยโสธราและท่านอื่นๆต่อไปจนจบ
ครั้นจบอปทานแล้ว ท้ายเล่ม๓๓นี้มีคัมภีร์ พุทธวงส์เป็นคาถาประพันธ์แสดงเรื่องของพระพุทธเจ้าในอดีต๒๔
พระองค์ที่พระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบันเคยได้ทรงเฝ้าและได้รับพยากรณ์จนถึงประวัติของพระองค์เองรวมเป็นพระพุทธเจ้า
๒๕ พระองค์จบแล้วมีคัมภีร์สั้นๆชื่อ จริยาปิฎกเป็นท้ายสุดแสดงพุทธจริยาในอดีตชาติ๓๕เรื่องที่มีแล้วในชาดก
แต่เล่าด้วยคาถาประพันธ์ใหม่ชี้ตัวอย่างการบาเพ็ญบารมีบางข้อ
ความหมายอภิธรรมปิฎก
จากพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ โดยพระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต)
พระอภิธรรมปิฎก ๑๒ เล่ม
พระอภิธรรม เล่มที่ ๑
พระอภิธรรม เล่มที่ ๒
พระอภิธรรม เล่มที่ ๓
พระอภิธรรม เล่มที่ ๔
พระอภิธรรม เล่มที่ ๕
พระอภิธรรม เล่มที่ ๖
พระอภิธรรม เล่มที่ ๗
พระอภิธรรม เล่มที่ ๘
พระอภิธรรม เล่มที่ ๙
พระอภิธรรม เล่มที่ ๑๐
พระอภิธรรม เล่มที่ ๑๑
พระอภิธรรม เล่มที่ ๑๒
ความหมายของ พระอภิธรรมปิฎก
พระอภิธรรมปิฎกประมวลพระพุทธพจน์หมวดพระอภิธรรมคือหลักธรรมและคาอธิบายที่เป็นหลักวิชาล้วนๆ
ไม่เกี่ยวด้วยบุคคลหรือเหตุการณ์ แบ่งเป็น๗คัมภีร์ (เรียกย่อหรือหัวใจว่าสํ วิ ธา ปุ ก ย ป) คือ
๑.สังคณี หรือ ธัมมสังคณี รวมข้อธรรมเข้าเป็นหมวดหมู่แล้วอธิบายทีละประเภทๆ
๒. วิภังค์ ยกหมวดธรรมสาคัญๆขึ้นตั้งเป็นหัวเรื่องแล้วแยกแยะออกอธิบายชี้แจงวินิจฉัยโดยละเอียด
๓. ธาตุกถาสงเคราะห์ข้อธรรมต่างๆเข้าในขันธ์อายตนะ ธาตุ
๔. ปุคคลบัญญัติบัญญัติความหมายของบุคคลประเภทต่างๆตามคุณธรรมที่มีอยู่ในบุคคลนั้นๆ
๕. กถาวัตถุแถลงและวินิจฉัยทัศนะของนิกายต่างๆสมัยสังคายนาครั้งที่๓
๖.ยมก ยกหัวข้อธรรมขึ้นวินิจฉัยด้วยวิธีถามตอบโดยตั้งคาถามย้อนกันเป็นคู่ๆ
๗. ปัฏฐาน หรือ มหาปกรณ์ อธิบายปัจจัย๒๔แสดงความสัมพันธ์เนื่องอาศัยกันแห่งธรรมทั้งหลายโดยพิสดาร
ค. พระอภิธรรมปิฎก ๑๒ เล่ม
เล่ม ๓๔ธัมมสังคณี ต้นเล่มแสดงมาติกา(แม่บท) อันได้แก่บทสรุปแห่งธรรมทั้งหลายที่จัดเป็นชุดๆมีทั้งชุด ๓ เช่น
จัดทุกสิ่งทุกอย่างประดามีเป็นกุศลธรรมอกุศลธรรมอัพยากฤตธรรมชุดหนึ่งเป็นอดีตธรรมอนาคตธรรม ปัจจุบันธรรม ชุดหนึ่ง
ฯลฯ และชุด๒ เช่นจัดทุกสิ่งทุกอย่างเป็นสังขตธรรมอสังขตธรรมชุดหนึ่งรูปีธรรมอรูปีธรรมชุดหนึ่ง โลกียธรรมโลกุตตรธรรม
ชุดหนึ่งเป็นต้นรวมทั้งหมดมี ๑๖๔ชุด หรือ๑๖๔มาติกาจากนั้นขยายความมาติกาที่๑เป็นตัวอย่างแสดงให้เห็นกุศลธรรม
อกุศลธรรมและอัพยากฤตธรรมที่กระจายออกไปโดย จิตเจตสิกรูปและนิพพานท้ายเล่มมีอีก ๒บท
แสดงคาอธิบายย่อหรือคาจากัดความข้อธรรมทั้งหลายในมาติกาที่กล่าวถึงข้างต้นจนครบ๑๖๔มาติกา
ได้คาจากัดความข้อธรรมใน๒บท เป็น ๒ แบบ (แต่บทท้ายจากัดความไว้เพียง๑๒๒มาติกา)
เล่ม ๓๕วิภังค์ ยกหลักธรรมสาคัญๆขึ้นมาแจกแจงแยกแยะอธิบายกระจายออกให้เห็นทุกแง่จนชัดเจนจบไปเป็นเรื่องๆ
รวมอธิบายทั้งหมด๑๘เรื่อง คือขันธ์ ๕อายตนะ๑๒ธาตุ ๑๘อริยสัจจ์๔ อินทรีย์ ๒๒ปฏิจจสมุปบาท สติปัฏฐาน ๔
สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔โพชฌงค์ ๗มรรคมีองค์ ๘ฌานอัปปมัญญา ศีล ๕ปฏิสัมภิทา ๔ญาณประเภทต่างๆ
และเบ็ดเตล็ดว่าด้วยอกุศลธรรมต่างๆอธิบายเรื่องใดก็เรียกว่าวิภังค์ของเรื่องนั้นๆเช่นอธิบายขันธ์ ๕ก็เรียกขันธวิภังค์เป็นต้น
รวมมี ๑๘วิภังค์
เล่ม ๓๖ธาตุกถานาข้อธรรมในมาติกาทั้งหลายและข้อธรรมอื่นๆอีก ๑๒๕อย่างมาจัดเข้าในขันธ์ ๕อายตนะ๑๒และธาตุ๑๘
ว่าข้อใดได้หรือไม่ได้ในอย่างไหนๆและปุคคลบัญญัติบัญญัติความหมายของชื่อที่ใช้เรียกบุคคลต่างๆตามคุณธรรมเช่นว่า
“โสดาบัน”ได้แก่ บุคคลผู้ละสังโยชน์๓ได้แล้วดังนี้เป็นต้น
เล่ม ๓๗กถาวัตถุคัมภีร์ที่พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระประธานการสังคายนาครั้งที่๓เรียบเรียงขึ้น
เพื่อแก้ความเห็นผิดของนิกายต่างๆในพระพุทธศาสนาครั้งนั้นซึ่งได้แตกแยกกันออกแล้วถึง ๑๘นิกายเช่นความเห็นว่า
พระอรหันต์เสื่อมจาdอรหัตตผลได้ เป็นพระอรหันต์พร้อมกับการเกิดได้ ทุกอย่างเกิดจากกรรมเป็นต้น
ประพันธ์เป็นคาปุจฉาวิสัชนามีทั้งหมด๒๑๙กถา
เล่ม ๓๘ยมกภาค ๑ คัมภีร์อธิบายหลักธรรมสาคัญให้เห็นความหมายและขอบเขตอย่างชัดเจนและทดสอบความรู้อย่างลึกซึ้ง
ด้วยวิธีตั้งคาถามย้อนกันเป็นคู่ๆ(ยมกแปลว่าคู่)เช่นถามว่าธรรมทั้งปวงที่เป็นกุศลเป็นกุศลมูล
หรือว่าธรรมทั้งปวงที่เป็นกุศลมูลเป็นกุศล,รูป(ทั้งหมด)เป็นรูปขันธ์ หรือว่ารูปขันธ์(ทั้งหมด)เป็นรูป, ทุกข์ (ทั้งหมด) เป็นทุกขสัจจ์
หรือว่าทุกขสัจจ์(ทั้งหมด)เป็นทุกข์ หลักธรรมที่นามาอธิบายในเล่มนี้มี ๗คือ มูล (เช่นกุศลมูล)ขันธ์ อายตนะธาตุ สัจจะสังขาร
อนุสัย ถามตอบอธิบายเรื่องใดก็เรียกว่ายมกของเรื่องนั้นๆเช่นมูลยมกขันธยมกเป็นต้น เล่มนี้จึงมี ๗ยมก
เล่ม ๓๙ยมก ภาค ๒ถามตอบอธิบายหลักธรรมเพิ่มเติมจากภาค๑อีก ๓เรื่อง คือ จิตตยมกธรรมยมก(กุศล-อกุศล-
อัพยากตธรรม)อินทรียยมกบรรจบเป็น๑๐ ยมก
เล่ม ๔๐ ปัฏฐานภาค ๑ คัมภีร์ปัฏฐานอธิบายปัจจัย ๒๔ โดยพิสดาร
แสดงความสัมพันธ์อิงอาศัยเป็นปัจจัยแก่กันแห่งธรรมทั้งหลายในแง่ด้านต่างๆ
ธรรมที่นามาอธิบายก็คือข้อธรรมที่มีในมาติกาคือแม่บทหรือบทสรุปธรรมซึ่งกล่าวไว้แล้วในคัมภีร์สังคณีนั่นเองแต่อธิบายเฉพาะ
๑๒๒มาติกาแรกที่เรียกว่าอภิธรรมมาติกาปัฏฐานเล่มแรกนี้อธิบายความหมายของปัจจัย๒๔
เป็นการปูพื้นความเข้าใจเบื้องต้นก่อนจากนั้นจึงเข้าสู่เนื้อหาของเล่มคืออนุโลมติกปัฏฐาน
อธิบายความเป็นปัจจัยแก่กันแห่งธรรมทั้งหลายในแม่บทชุด๓(ติกมาติกา)โดยปัจจัย๒๔นั้น เช่นว่า
กุศลธรรมเป็นปัจจัยแก่กุศลธรรมโดยอุปนิสสยปัจจัย(เพราะศรัทธาจึงให้ทานจึงสมาทานศีลจึงบาเพ็ญฌานจึงเจริญวิปัสสนา
ฯลฯ)กุศลธรรมเป็นปัจจัยแก่อกุศลธรรมโดยอุปนิสสยปัจจัย(คิดถึงทานที่ตนได้ให้ ศีลที่ได้รักษาแล้ว ดีใจ
ยึดเป็นอารมณ์แน่นหนาจนเกิดราคะทิฏฐิ,มีศรัทธามีศีล มีปัญญาแล้วเกิดมานะว่าฉันดีกว่าเก่งกว่าหรือเกิดทิฏฐิว่า
ต้องทาอย่างเรานี้เท่านั้นจึงถูกต้องฯลฯ)อกุศลธรรมเป็นปัจจัยแก่กุศลธรรมโดยอุปนิสสยปัจจัย(เพราะความอยากบางอย่าง
หรือเพราะมานะหรือทิฏฐิจึงให้ทานจึงรักษาศีลจึงทาฌานให้เกิดฯลฯ)กุศลธรรมเป็นปัจจัยแก่อกุศลธรรมโดยอารัมมณปัจจัย
(คิดถึงฌานที่ตนเคยได้แต่มาเสื่อมไปเสียแล้วเกิดความโทมนัสฯลฯ)อย่างนี้เป็นต้น
(เล่มนี้อธิบายแต่ในเชิงอนุโลมคือตามนัยปกติไม่อธิบายตามนัยปฏิเสธจึงเรียกว่าอนุโลมปัฏฐาน)
เล่ม ๔๑ปัฏฐาน ภาค ๒อนุโลมติกปัฏฐานต่อ คือ อธิบายความเป็นปัจจัยแก่กันแห่งธรรมทั้งหลายในแม่บทชุด๓
ต่อจากเล่ม๔๐ เช่น อดีตธรรมเป็นปัจจัยแก่ปัจจุบันธรรมโดยอารัมมณปัจจัย(พิจารณารูปเสียงเป็นต้นที่ดับเป็น
อดีตไปแล้วว่าเป็นของไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตา เกิดความโทมนัสขึ้นฯลฯ)เป็นต้น
เล่ม ๔๒ ปัฏฐานภาค ๓ อนุโลมทุกปัฏฐานอธิบายความเป็นปัจจัยแก่กันแห่งธรรมทั้งหลายในแม่บทชุด๒(ทุกมาติกา)เช่น
โลกียธรรมเป็นปัจจัยแก่โลกียธรรมโดยอารัมมณปัจจัย(รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณฯลฯ)ดังนี้
เป็นต้น
เล่ม ๔๓ปัฏฐาน ภาค ๔อนุโลมทุกปัฏฐาน ต่อ
เล่ม ๔๔ปัฏฐาน ภาค ๕ยังเป็นอนุโลมปัฏฐานแต่อธิบายความเป็นปัจจัยแก่กันแห่งธรรมทั้งหลายในแม่บทต่างๆ
ข้ามชุดกันไปมาประกอบด้วย
อนุโลมทุกติกปัฏฐานธรรมในแม่บทชุด ๒(ทุกมาติกา)กับธรรมในแม่บทชุด ๓(ติกมาติกา)เช่นอธิบาย
"กุศลธรรมที่เป็นโลกุตตรธรรมเป็นปัจจัยแก่กุศลธรรมที่เป็นโลกียธรรมโดยอธิปติปัจจัย"เป็นอย่างไรเป็นต้น
อนุโลมติกทุกปัฏฐานธรรมในแม่บทชุด ๓(ติกมาติกา)กับธรรมในแม่บทชุด๒ (ทุกมาติกา)
อนุโลมติกติกปัฏฐานธรรมในแม่บทชุด ๓(ติกมาติกา)กับธรรมในแม่บทชุด๓ (ติกมาติกา)โยงระหว่างต่างชุดกันเช่นอธิบายว่า
"กุศลธรรมที่เป็นอดีตธรรมเป็นปัจจัยแก่อกุศลธรรมที่เป็นปัจจุบันธรรม"เป็นอย่างไรเป็นต้น
อนุโลมทุกทุกปัฏฐานธรรมในแม่บทชุด ๒ (ทุกมาติกา)กับธรรมในบทชุด๒(ทุกมาติกา)โยงระหว่างต่างชุดกันเช่นชุดโลกียะ
โลกุตตระกับชุดสังขตะอสังขตะเป็นต้น
เล่ม ๔๕ปัฏฐาน ภาค ๖ เป็นปัจจนียปัฏฐาน คืออธิบายความเป็นปัจจัยแก่กันแห่งธรรมทั้งหลายอย่างเล่มก่อนๆนั่นเอง
แต่อธิบายแง่ปฏิเสธแยกเป็นปัจจนียปัฏฐาน คือ ปฏิเสธ+ปฏิเสธเช่นว่า ธรรมที่ไม่ใช่กุศล
อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลเกิดขึ้นโดยเหตุปัจจัยเป็นอย่างไร อนุโลมปัจจนียปัฏฐานคืออนุโลม+ปฏิเสธ เช่นว่าอาศัยโลกิยธรรม
ธรรมที่ไม่ใช่โลกุตตรธรรมเกิดขึ้นโดยเหตุปัจจัยเป็นอย่างไร ปัจจนียานุโลมปัฏฐานคือปฏิเสธ+อนุโลมเช่นว่า
อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นโดยเหตุปัจจัยเป็นอย่างไรและในทั้ง ๓แบบนี้แต่ละแบบ
จะอธิบายโดยใช้ธรรมในแม่บทชุด๓แล้วต่อด้วยชุด๒แล้วข้ามชุดระหว่างชุด๒กับชุด ๓ ชุด ๓กับชุด ๒ ชุด ๓ กับชุด ๓ ชุด ๒
กับชุด ๒ จนครบทั้งหมดเหมือนกันดังนั้นแต่ละแบบจึงแยกซอยละเอียดออกไปเป็นติกทุก ทุกติกติกทุกติกติกทุกทุกตามลาดับ
(เขียนให้เต็มเป็น ปัจจนียติกปัฏฐาน ปัจจนียทุกปัฏฐานปัจจนียทุกติกปัฏฐานฯลฯ ดังนี้เรื่อยไปจนถึงท้ายสุดคือ
ปัจจนียานุโลมทุกทุกปัฏฐาน)
คัมภีร์ปัฏฐานนี้ท่านอธิบายค่อนข้างละเอียดเฉพาะเล่มต้นๆเท่านั้นเล่มหลังๆท่านแสดงไว้แต่หัวข้อหรือแนว
และทิ้งไว้ให้ผู้เข้าใจแนวนั้นแล้วเอาไปแจกแจงโดยพิสดารเองโดยเฉพาะเล่มสุดท้ายคือภาค๖แสดงไว้ย่นย่อที่สุด
แม้กระนั้นก็ยังเป็นหนังสือถึง๖เล่มหรือ ๓,๓๒๐ หน้ากระดาษพิมพ์
ถ้าอธิบายโดยพิสดารทั้งหมดจะเป็นเล่มหนังสืออีกจานวนมากมายหลายเท่าตัวท่านจึงเรียกปัฏฐานอีกชื่อหนึ่งว่า"มหาปกรณ์"
แปลว่าตาราใหญ่ ใหญ่ทั้งโดยขนาดและโดยความสาคัญ
พระอรรถกถาจารย์กล่าวว่าพระไตรปิฎกมีเนื้อความทั้งหมด ๘๔,๐๐๐พระธรรมขันธ์แบ่งเป็นพระวินัยปิฎก ๒๑,๐๐๐
พระธรรมขันธ์พระสุตตันตปิฎก ๒๑,๐๐๐พระธรรมขันธ์และพระอภิธรรมปิฎก ๔๒,๐๐๐พระธรรมขันธ์
พระพุทธพจน์อันเป็นศาสนธรรมพระดารัสตรัสสอนและตรัสสั่งของพระพุทธองค์ภายหลังพระพุทธองค์เสด็จดับขันธปรินิพพาน
ได้รับการสังคายนารวบรวมประมวลเป็นบทสวดสาหรับสอบทานความถูกต้องมิให้ผิดเพี้ยนไปจากที่ตรัสสั่งสอนจริง
ด้วยสังฆานุมัติพร้อมกันครั้งแรกโดยพระอรหันตเถระ 500 รูปเมื่อพุทธปรินิพพานผ่านไปได้ 3เดือน
การสังคายนาพระธรรมวินัยในครั้งนั้นได้ยกเอาพระพุทธพจน์ที่ทรงแสดงโปรดเวไนยสัตว์ตลอดระยะเวลา45 พรรษา
ขึ้นสู่การพิจารณาสอบทานรับรองความบริสุทธิ์ถูกต้องในท่ามกลางสงฆ์แล้วประมวลจัดเป็นหมวด3หมวดใหญ่ เรียกว่า
พระไตรปิฎกประกอบด้วย1.พระวินัยปิฎกหมวดพระวินัย
ว่าด้วยพระพุทธบัญญัติที่ทรงวางหลักความประพฤติและมารยาทอันเป็นแบบอย่างที่ดีเยี่ยงอารยชน
เป็นประมวลหลักคาสอนเกี่ยวกับศีลหรือสิกขาบทตลอดจนพิธีกรรมและธรรมเนียมของพระสงฆ์อันเป็นกฎระเบียบที่พระภิกษุ-
ภิกษุณี จะต้องปฏิบัติโดยเคร่งครัดนอกจากนี้ยังได้ประมวลเหตุการณ์พุทธประวัติที่สาคัญนับตั้งแต่ตรัสรู้เสวยวิมุติสุขเป็นต้นไป
พร้อมทั้งประวัติการทาสังคายนาครั้งที่1 และครั้งที่2 ไว้ด้วยมี 21,000 พระธรรมขันธ์แบ่งออกเป็น 5 คัมภีร์ คือ มหาวิภังค์
ภิกขุณีวิภังค์มหาวรรคจุลวรรคและปริวาร โดยพระไตรปิฎกของไทยเราจัดพิมพ์เป็น8เล่มหนังสือได้แก่พระไตรปิฎกเล่มที่1-8
2.พระสุตตันตปิฎกหมวดพระสูตรว่าด้วยประมวลพระธรรมเทศนาและคาบรรยายธรรมที่ตรัสให้เหมาะแก่บุคคลและโอกาส
เป็นประมวลหลักธรรมที่ทรงแสดงโดยบุคลาธิษฐานหรือทรงใช้สมมติโวหารตลอดจนบทธรรมภาษิต
จัดแบ่งเนื้อหาพระสูตรที่มีขนาดยาวปานกลางและสั้นไม่เท่ากันรวมไว้เป็นหมวดหมู่ใหญ่ ได้ 5หมวด เรียกว่านิกายคือ
ทีฆนิกายมัชฌิมนิกายสังยุตตนิกายอังคุตตรนิกายและขุททกนิกาย ซึ่งพระไตรปิฎกของไทยเราจัดพิมพ์เป็น25 เล่มหนังสือ
ได้แก่พระไตรปิฎกเล่มที่9-333.พระอภิธรรมปิฎก หมวดพระอภิธรรม
ว่าด้วยประมวลพระพุทธพจน์อันเกี่ยวกับหลักธรรมที่เป็นปรมัตถธรรมล้วนคือพระพุทธพจน์ที่แสดงสภาวธรรมโดยปรมัตถ์ คือ
มีอยู่จริง หรือเป็นความหมายที่แท้จริงของสรรพสิ่งซึ่งได้แก่ จิตเจตสิกรูปนิพพาน
ซึ่งเป็นธรรมอันยิ่งละเอียดลุ่มลึกยิ่งกว่าธรรมทั้งปวงเป็นประมวลคาอธิบายเหตุการณ์ต่างๆ
อันเป็นสมมติบัญญัติเข้ามาประกอบความมี42,000 พระธรรมขันธ์แบ่งออกเป็น 7 คัมภีร์ คือ ธัมมสังคณี วิภังค์ ธาตุกถา
ปุคคลบัญยัติกถาวัตถุยมกและปัฏฐานโดยพระไตรปิฎกของไทยเราจัดพิมพ์เป็น12 เล่มหนังสือได้แก่พระไตรปิฎกเล่มที่34-
45
พระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม : ที่มา www.84000.org

More Related Content

What's hot

ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาPadvee Academy
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์pentanino
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานChainarong Maharak
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาPadvee Academy
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทpentanino
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายPadvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์Padvee Academy
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาpentanino
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์Padvee Academy
 
Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)Sarawut Sangnarin
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาPadvee Academy
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาpentanino
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานPadvee Academy
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดpentanino
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกรมณ รมณ
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกPadvee Academy
 
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์PhusitSudhammo
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...Padvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์Padvee Academy
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะPadvee Academy
 

What's hot (20)

ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๓ อภิปรัชญา
 
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
สายธารปรัชญาคือที่มาของสรรพศาสตร์
 
พุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายานพุทธศาสนานิกายมหายาน
พุทธศาสนานิกายมหายาน
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๕ คุณวิทยา
 
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาทศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
ศึกษาเปรียบเทียบหลักจริยศาสตร์ของโสคราตีสกับพุทธปรัชญาเถรวาท
 
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกายขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
ขบวนการพุทธใหม่ในโลกยุคปัจจุบัน ตอน วัดพระธรรมกาย
 
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระพุทธโฆสาจารย์
 
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญาปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
ปริศนาธรรมในพุทธปรัชญา
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๒ ความสัมพันธ์ระหว่างปรัชญา ศาสนา วิทยาศาสตร์
 
Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)Paper of triple gem full (final)
Paper of triple gem full (final)
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญาปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๑ ความหมายและขอบเขตของปรัชญา
 
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญาสุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
สุขอนามัยตามหลักพุทธปรัชญา
 
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายานความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
ความรู้พื้นฐานและบ่อเกิดพุทธศาสนามหายาน
 
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิดศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
ศึกษาเปรียบเทียบแนวความคิด
 
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออกปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
ปรัชญาตะวันตก ตะวันออก
 
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออกปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
ปรัชญาเบื้องต้น บทที่ ๖ ปรัชญาตะวันออก
 
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
พุทธศาสนากับโหราศาสตร์
 
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
รากฐานแห่งอภิปรัชญาของศีลธรรม โดย ค้านท์ (Kants groundwork of the metaphysics...
 
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
ชีวิตและผลงานของพระสุมังคลาจารย์
 
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
ชีวิตและผลงานของพระอนุรุทธะ
 

Similar to พระไตรปิฏก

สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้Tongsamut vorasan
 
ปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาYota Bhikkhu
 
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdfmaruay songtanin
 
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารJack Like
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.วัดดอนทอง กาฬสินธุ์
 
สาวิณี
สาวิณีสาวิณี
สาวิณีsawinee37
 
Ebook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกEbook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกPanda Jing
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีPa'rig Prig
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาNew Nan
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Net'Net Zii
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrareciteTongsamut vorasan
 
048พระรัตนตรัย
048พระรัตนตรัย048พระรัตนตรัย
048พระรัตนตรัยniralai
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธprimpatcha
 
Ebook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลา
Ebook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลาEbook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลา
Ebook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลาPanda Jing
 
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้Theeraphisith Candasaro
 

Similar to พระไตรปิฏก (20)

สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
สิ่งที่ชาวพุทธต้องรู้
 
ปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนาปรัชญาพุทธศาสนา
ปรัชญาพุทธศาสนา
 
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
๐๑ เกริ่นนำ นะโมฯ.pdf
 
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสารพระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
พระพุทธศาสนากับการสื่อสาร
 
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
เอกสารประกอบการบรรยายวิชาพระไตรปิฎกวิเคราะห์ (ตอน ๓) ๑๗ พ.ย.
 
สาวิณี
สาวิณีสาวิณี
สาวิณี
 
Ebook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดกEbook ประตูสู่ชาดก
Ebook ประตูสู่ชาดก
 
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปีจริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
จริยศาสตร์ประเมินบทที่555 3-ปี
 
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนาหลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
หลักการหรือคำสอนแห่งพระพุทธศาสนา
 
พระไตรปิฎก
พระไตรปิฎกพระไตรปิฎก
พระไตรปิฎก
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554Projectm6 2-2554
Projectm6 2-2554
 
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
590805 บทที่-3-แก้ไขแล้ว
 
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
10 สาธยายธรรม ( บทสวดมนต์แนวพุทธ )sutrarecite
 
048พระรัตนตรัย
048พระรัตนตรัย048พระรัตนตรัย
048พระรัตนตรัย
 
Manomayitti 1-8
Manomayitti 1-8Manomayitti 1-8
Manomayitti 1-8
 
งาน
งานงาน
งาน
 
หน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธหน้าที่ของชาวพุทธ
หน้าที่ของชาวพุทธ
 
Ebook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลา
Ebook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลาEbook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลา
Ebook ดาไลลามะ สนทนาธรรมกับคนไทยที่ธรรมศาลา
 
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
คุณธรรม จริยธรรม และสิ่งควรรู้
 

More from sangkeetwittaya stourajini

ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาsangkeetwittaya stourajini
 
ประวัติพระพุทธเจ้า
ประวัติพระพุทธเจ้าประวัติพระพุทธเจ้า
ประวัติพระพุทธเจ้าsangkeetwittaya stourajini
 
รำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทยรำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทยsangkeetwittaya stourajini
 
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์sangkeetwittaya stourajini
 

More from sangkeetwittaya stourajini (20)

พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา
 
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกาประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
ประวัติพุทธบริษัท ภิกษุ ภิกษุณี อุบาสก อุบาสิกา
 
ประวัติพระพุทธเจ้า
ประวัติพระพุทธเจ้าประวัติพระพุทธเจ้า
ประวัติพระพุทธเจ้า
 
ชาดก
ชาดกชาดก
ชาดก
 
ละครรำ
ละครรำละครรำ
ละครรำ
 
รำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทยรำไทย รำวง มาตรฐานไทย
รำไทย รำวง มาตรฐานไทย
 
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์บรรณานุกรม  ดนตรี นาฎศิลป์
บรรณานุกรม ดนตรี นาฎศิลป์
 
โขน
โขนโขน
โขน
 
Dance
DanceDance
Dance
 
Thai music2
Thai music2Thai music2
Thai music2
 
Thai music3
Thai music3Thai music3
Thai music3
 
Thai music4
Thai music4Thai music4
Thai music4
 
Thai music5
Thai music5Thai music5
Thai music5
 
Thai music6
Thai music6Thai music6
Thai music6
 
Thai music7
Thai music7Thai music7
Thai music7
 
Thai music8
Thai music8Thai music8
Thai music8
 
Thai music9
Thai music9Thai music9
Thai music9
 
Thai music10
Thai music10Thai music10
Thai music10
 
Thai music11
Thai music11Thai music11
Thai music11
 
Thai music12
Thai music12Thai music12
Thai music12
 

พระไตรปิฏก

  • 1. พระไตรปิ ฏก พระพุทธศาสนา เป็นคาสั่งสอนของ องค์สมเด็จพระผู้มีพระภาคอรหันตสัมมาสัมพุทธเจ้า ผู้ทรงเป็นพระอรหันต์ ตรัสรู้ชอบได้โดยพระองค์เองถึงพร้อมด้วยวิชชาและจรณะเสด็จไปดีแล้วทรงเป็นผู้รู้แจ้งโลกเป็นสารถี ฝึกบุรุษที่ควรฝึก ไม่มีผู้อื่นยิ่งกว่าเป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ทั้งหลายเป็นผู้เบิกบานแล้วเป็นผู้จาแนกพระธรรม. การศึกษาหรือการน้อมประพฤติปฏิบัติตามพระธรรมคาสั่งสอนของพระองค์ด้วยความเคารพด้วยความรู้ ความเข้าใจที่ถูกต้องแท้จริงย่อมนามาซึ่งประโยชน์เป็นอันมากให้เกิดแก่ผู้นั้นและผู้เกี่ยวข้อง. ความหมายของพระไตรปิฎก ไตรปิฎก"ปิฎกสาม";ปิฎก แปลตามศัพท์อย่างพื้นๆว่ากระจาดหรือตะกร้า อันเป็นภาชนะสาหรับใส่รวมของต่างๆเข้าไว้ นามาใช้ในความหมายว่า เป็นที่รวบรวมคาสอนในพระพุทธศาสนาที่จัดเป็นหมวดหมู่แล้ว โดยนัยนี้ ไตรปิฎกจึงแปลว่าคัมภีร์ที่บรรจุพุทธพจน์( และเรื่องราวชั้นเดิมของพระพุทธศาสนา)๓ชุด หรือประมวลแห่งคัมภีร์ที่รวบรวมพระธรรมวินัย ๓หมวดกล่าวคือวินัยปิฎก สุตตันตปิฎก และอภิธรรมปิฎก ; พระไตรปิฎกจัดแบ่งหมวดหมู่โดยย่อดังนี้ ๑. พระวินัยปิฎกประมวลพุทธพจน์หมวดพระวินัยคือพุทธบัญญัติเกี่ยวกับความประพฤติความเป็นอยู่ขนบ ธรรมเนียมและการดาเนินกิจการต่างๆของภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์แบ่งเป็น๕คัมภีร์ (เรียกย่อหรือหัวใจว่าอา ปา ม จุ ป) คือ ๑.อาทิกัมมิกะ หรือปาราชิกว่าด้วยสิกขาบทที่เกี่ยวกับอาบัติหนักของฝ่ายภิกษุสงฆ์ตั้งแต่ปาราชิกถึงอนิยต ๒. ปาจิตตีย์ว่าด้วยสิกขาบทที่เกี่ยวกับอาบัติเบาตั้งแต่นิสสัคคิยปาจิตตีย์ถึงเสขิยะรวมตลอดทั้งภิกขุนีวิภังค์ทั้งหมด ๓. มหาวรรคว่าด้วยสิกขาบทนอกปาฏิโมกข์ตอนต้น๑๐ขันธกะหรือ๑๐ตอน ๔. จุลวรรคว่าด้วยสิกขาบทนอกปาฏิโมกข์ตอนปลาย๑๒ขันธกะ ๕. ปริวารคัมภีร์ประกอบหรือคู่มือบรรจุคาถามคาตอบสาหรับซ้อมความรู้พระวินัย พระวินัยปิฎกนี้แบ่งอีกแบบหนึ่งเป็น ๕ คัมภีร์เหมือนกัน(จัด ๒ ข้อในแบบต้นนั้นใหม่)คือ ๑.มหาวิภังค์ หรือภิกขุวิภังค์ ว่าด้วยสิกขาบทในปาฏิโมกข์(ศีล๒๒๗ข้อ) ฝ่ายภิกษุสงฆ์ ๒. ภิกขุนีวิภังค์ว่าด้วยสิกขาบทในปาฏิโมกข์(ศีล๓๑๑ข้อ) ฝ่ายภิกษุณีสงฆ์ ๓. มหาวรรค ๔.จุลวรรค ๕. ปริวาร บางทีท่านจัดให้ย่นย่อเข้าอีกแบ่งพระวินัยปิฎกเป็น๓หมวด คือ ๑.วิภังค์ ว่าด้วยสิกขาบทในปาฏิโมกข์ทั้งฝ่ายภิกษุสงฆ์และฝ่ายภิกษุณีสงฆ์(คือรวมข้อ๑และ ๒ ข้างต้นทั้งสองแบบ เข้าด้วยกัน) ๒. ขันธกะว่าด้วยสิกขาบทนอกปาฏิโมกข์ทั้ง๒๒ขันธกะหรือ๒๒ บทตอน(คือรวมข้อ ๓และ ๔เข้าด้วยกัน)
  • 2. ๓. ปริวารว่าคัมภีร์ประกอบ(คือข้อ ๕ ข้างบน) ๒. พระสุตตันตปิฎกประมวลพุทธพจน์หมวดพระสูตรคือพระธรรมเทศนาคาบรรยายธรรมต่างๆ ที่ตรัสยักเยื้องให้เหมาะกับบุคคลและโอกาสตลอดจนบทประพันธ์เรื่องเล่า และเรื่องราวทั้งหลายที่เป็นชั้นเดิมในพระพุทธศาสนาแบ่งเป็น๕นิกาย(เรียกย่อหรือหัวใจว่าที ม สํ อํ ขุ) คือ ๑.ทีฆนิกายชุมนุมพระสูตรที่มีขนาดยาว๓๔สูตร ๒. มัชฌิมนิกายชุมนุมพระสูตรที่มีความยาวปานกลาง๑๕๒สูตร ๓. สังยุตตนิกายชุมนุมพระสูตรที่จัดรวมเข้าเป็นกลุ่มๆเรียกว่าสังยุตต์หนึ่งๆตามเรื่องที่เนื่องกัน หรือตามหัวข้อหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องรวม๕๖สังยุตต์มี ๗,๗๖๒ สูตร ๔. อังคุตตรนิกายชุมนุมพระสูตรที่จัดรวมเข้าเป็นหมวดๆเรียกว่านิบาตหนึ่งๆตามลาดับจานวนหัวข้อธรรมรวม ๑๑ นิบาต หรือ๑๑ หมวดธรรมมี ๙,๕๕๗ สูตร ๕. ขุททกนิกายชุมนุมพระสูตรคาถาภาษิตคาอธิบายและเรื่องราวเบ็ดเตล็ดที่จัดเข้าในสี่นิกายแรกไม่ได้มี ๑๕คัมภีร์ ๓. พระอภิธรรมปิฎกประมวลพระพุทธพจน์หมวดพระอภิธรรมคือหลักธรรมและคาอธิบายที่เป็นหลักวิชาล้วนๆ ไม่เกี่ยวด้วยบุคคลหรือเหตุการณ์ แบ่งเป็น๗คัมภีร์ (เรียกย่อหรือหัวใจว่าสํ วิ ธา ปุ ก ย ป) คือ ๑.สังคณี หรือ ธัมมสังคณี รวมข้อธรรมเข้าเป็นหมวดหมู่แล้วอธิบายทีละประเภทๆ ๒. วิภังค์ ยกหมวดธรรมสาคัญๆขึ้นตั้งเป็นหัวเรื่องแล้วแยกแยะออกอธิบายชี้แจงวินิจฉัยโดยละเอียด ๓. ธาตุกถาสงเคราะห์ข้อธรรมต่างๆเข้าในขันธ์อายตนะ ธาตุ ๔. ปุคคลบัญญัติบัญญัติความหมายของบุคคลประเภทต่างๆตามคุณธรรมที่มีอยู่ในบุคคลนั้นๆ ๕. กถาวัตถุแถลงและวินิจฉัยทัศนะของนิกายต่างๆสมัยสังคายนาครั้งที่๓ ๖.ยมก ยกหัวข้อธรรมขึ้นวินิจฉัยด้วยวิธีถามตอบโดยตั้งคาถามย้อนกันเป็นคู่ๆ ๗. ปัฏฐาน หรือ มหาปกรณ์ อธิบายปัจจัย๒๔แสดงความสัมพันธ์เนื่องอาศัยกันแห่งธรรมทั้งหลายโดยพิสดาร ความหมายของ พระไตรปิฎก
  • 3. พระไตรปิฏก แปลว่า ๓ คัมภีร์ เมื่อแยกเป็นคาๆ ว่า พระ + ไตร + ปิฏก คาว่า "พระ" เป็นคาแสดงความเคารพหรือยกย่อง คาว่า "ไตร" แปลว่า สาม คาว่า "ปิฏก" แปลได ้ ๒ อย่าง คือ แปลว่า คัมภีร์ หรือแปลว่า กระจาด ตะกร้า ดังนั้น พระไตรปิฏก จึงหมายถึง สิ่งที่รวบรวมคาสั่งสอนของพระพุทธเจ ้าไว ้เป็นหมวดหมู่ไม่ไห ้กระจัดกระ จาย คล ้ายกระจาดหรือตะกร ้าอันเป็นภาชนะใส่ของนั้นเอง ปิฏก ๓ หรือพระไตรปิฏก แบ่งออกเป็น ๑. พระวินัยปิฏก ว่าด ้วยวินัยหรือศีลของภิกษุ ภิกษุณี ๒. พระสุตตันตปิฏก ว่าด ้วยพระธรรมเทศนาทั่วไป ๓. พระอภิธรรมปิฏก ว่าด ้วยธรรมล ้วนๆ หรือธรรมสาคัญ พระไตรปิฎก ๑ ๒ ๓ พระวินัยปิฏก คัมภีร์ว่าด ้วยระเบียบวินัย พระสุตตันตปิฏก คัมภีร์ว่าด ้วยพระธรรมเทศนาทั่วๆ ไป มีประวัติ และท ้องเรื่องประกอบ เน ้นความสาคัญในสมาธิ คือการพัฒนาด ้านจิตใจ พระอภิธรรมปิ ฏก คัมภีร์ว่าด ้วยหลักธรรม และคาอธิบาย ที่เป็นเนื้อหาวิชาการล ้วนๆ ไม่มีประวัติและท ้องเรื่องประกอบ ความสาคัญของพระไตรปิฎก ก่อนปรินิพพาน พระพุทธเจ ้าได ้ตรัสทานองสั่งเสียกับพระอานนท์ว่า เมื่อพระองค์ปรินิพพานล่วงลับไปแล ้ว จะไม่ทรงตั้งภิกษุรูปใดแทนพระองค์ หากแต่ให ้ชาวพุทธทั้งหลายยึดพระธรรมวินัยเป็ นศาสดาแทนพระองค์ ตามพระพุทธพจน์ว่า "โย โว อานนฺท มยาธมฺโม จ วินโย จ เทสิโต ปญฺญตฺโต โส โว มมจฺจเยน สตฺถา" แปลว่า ดูก่อน อานนท์ ธรรมและวินัยใดที่เราได ้แสดงแล ้วและบัญญัติแล ้วแก่เธอทั้งหลาย ธรรมและวินัยนั้น เป็นศาสดาของเธอทั้งหลาย โดยกาลที่เราล่วงลับไป พระพุทธพจน์นี้แสดงให ้เห็นว่า พระธรรมวินัย ถือเป็นคาสั่งสอนของพระพุทธเจ ้า จึงเท่ากับเป็นองค์พระศาสดาและเป็ นตัวแทนพระพุทธศาสนา ตู ้พระไตรปิฏก วัดระฆังโฆสิตาราม
  • 4. และพระธรรมวินัยทั้งหลายนั้นล ้วนได ้ประมวลอยู่ใน พระไตรปิฏก ทั้งสิ้น อาจกล่าวได ้ว่า พระไตรปิฏก มีความสาคัญดังนี้ คือ ๑. เป็นที่รวบรวมไว ้ซึ่งพระพุทธพจน์ คือคาสั่งของพระพุทธเจ ้า ๒. เป็นที่สถิตของพระศาสดาของพุทธศาสนิกชน เราสามารถเฝ้าพระพุทธเจ ้า หรือรู ้จักพระพุทธเจ ้าได ้จากพระไตรปิฏก ๓. เป็นแหล่งต ้นเดิมหรือแม่บทในพระพุทธศาสนา ๔. เป็นมาตรฐานตรวจสอบคาสอนและข ้อปฏิบัติในพระพุทธศาสนา คาสอนและข ้อปฏิบัติใดๆ ที่จะถือว่าเป็นคาสอนและข ้อปฏิบัติในพระพุทธศาสนาได ้ จะต ้องสอดคล ้องกับพระธรรมวินัยในพระไตรปิฏก ๕. เป็นคัมภีร์ที่ถือเป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่เป็นประโยชน์ทางวิชาการ สุชาดา วราหพันธ์, วิถีธรรมวิถีไทย, หน ้า ๔๒-๔๓ ความหมายพระไตรปิฎก จากพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ โดยพระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) ความหมายพระวินัยปิฎก จากพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ โดยพระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต)
  • 5. พระวินัยปิฎก ๘ เล่ม พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๑ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๒ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๓ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๔ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๕ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๖ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๗ พระวินัยปิฎก เล่มที่ ๘ ความหมายของพระวินัยปิฎก พระวินัยปิฎกประมวลพุทธพจน์หมวดพระวินัยคือพุทธบัญญัติเกี่ยวกับความประพฤติความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและการดาเนินกิจการต่างๆของภิกษุสงฆ์และภิกษุณีสงฆ์แบ่งเป็น๕คัมภีร์ (เรียกย่อหรือหัวใจว่า อา ปา ม จุ ป) คือ ๑.อาทิกัมมิกะ หรือปาราชิกว่าด้วยสิกขาบทที่เกี่ยวกับอาบัติหนักของฝ่ายภิกษุสงฆ์ตั้งแต่ปาราชิกถึงอนิยต ๒. ปาจิตตีย์ว่าด้วยสิกขาบทที่เกี่ยวกับอาบัติเบาตั้งแต่นิสสัคคิยปาจิตตีย์ถึงเสขิยะรวมตลอดทั้งภิกขุนีวิภังค์ทั้งหมด ๓. มหาวรรคว่าด้วยสิกขาบทนอกปาฏิโมกข์ตอนต้น๑๐ขันธกะหรือ๑๐ตอน ๔. จุลวรรคว่าด้วยสิกขาบทนอกปาฏิโมกข์ตอนปลาย๑๒ขันธกะ ๕. ปริวารคัมภีร์ประกอบหรือคู่มือบรรจุคาถามคาตอบสาหรับซ้อมความรู้พระวินัย พระวินัยปิฎกนี้แบ่งอีกแบบหนึ่งเป็น ๕ คัมภีร์เหมือนกัน(จัด ๒ ข้อในแบบต้นนั้นใหม่)คือ ๑.มหาวิภังค์ หรือภิกขุวิภังค์ ว่าด้วยสิกขาบทในปาฏิโมกข์(ศีล๒๒๗ข้อ) ฝ่ายภิกษุสงฆ์ ๒. ภิกขุนีวิภังค์ว่าด้วยสิกขาบทในปาฏิโมกข์(ศีล๓๑๑ข้อ) ฝ่ายภิกษุณีสงฆ์ ๓. มหาวรรค ๔.จุลวรรค ๕. ปริวาร บางทีท่านจัดให้ย่นย่อเข้าอีกแบ่งพระวินัยปิฎกเป็น๓หมวด คือ ๑.วิภังค์ ว่าด้วยสิกขาบทในปาฏิโมกข์ทั้งฝ่ายภิกษุสงฆ์และฝ่ายภิกษุณีสงฆ์(คือรวมข้อ๑และ ๒ ข้างต้นทั้งสอง แบบเข้าด้วยกัน) ๒. ขันธกะว่าด้วยสิกขาบทนอกปาฏิโมกข์ทั้ง๒๒ขันธกะหรือ๒๒ บทตอน(คือรวมข้อ ๓และ ๔เข้าด้วยกัน) ๓. ปริวารว่าคัมภีร์ประกอบ(คือข้อ ๕ ข้างบน) พระวินัยปิฎก ๘ เล่ม เล่ม ๑มหาวิภังค์ ภาค ๑ ว่าด้วยปาราชิกสังฆาทิเสสและอนิยตสิกขาบท(สิกขาบทในปาฏิโมกข์ฝ่ายภิกษุสงฆ์ ๑๙ข้อแรก) เล่ม ๒ มหาวิภังค์ภาค ๒ ว่าด้วยสิกขาบทเกี่ยวกับอาบัติเบาของภิกษุ(เป็นอันครบสิกขาบท๒๒๗หรือศีล ๒๒๗)
  • 6. เล่ม ๓ ภิกขุนีวิภังค์ว่าด้วยสิกขาบท๓๑๑ของภิกษุณี เล่ม ๔ มหาวรรคภาค๑ มี ๔ขันธกะ ว่าด้วยการอุปสมบท(เริ่มเรื่องตั้งแต่ตรัสรู้และประดิษฐานพระศาสนา) อุโบสถ จาพรรษาและปวารณา เล่ม ๕ มหาวรรคภาค๒ มี ๖ ขันธกะ ว่าด้วยเรื่องเครื่องหนังเภสัชกฐินจีวรนิคหกรรมและการทะเลาะวิวาทและสามัคคี เล่ม ๖ จุลวรรคภาค๑ มี ๔ ขันธกะว่าด้วยเรื่องนิคหกรรมวุฏฐานวิธีและการระงับอธิกรณ์ เล่ม ๗ จุลวรรคภาค๒ มี ๘ ขันธกะว่าด้วยข้อบัญญัติปลีกย่อยเรื่องเสนาสนะสังฆเภทวัตรต่างๆการงดสวดปาฏิโมกข์ เรื่องภิกษุณี เรื่องสังคายนาครั้งที่๑และครั้งที่๒ เล่ม ๘ ปริวารคู่มือถามตอบซ้อมความรู้พระวินัย ความหมายสุตตันตปิฎก จากพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ โดยพระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) พระสุตตันตปิฎก ๒๕ เล่ม ทีฆนิกาย เล่ม ๑-๓ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๓ มัชฌิมนิกาย เล่ม ๔-๖ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๔ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๖ สังยุตตนิกาย เล่ม ๗-๑๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๗ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๘ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๑ อังคุตตรนิกาย เล่ม ๑๒-๑๖ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๓ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๔ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๖
  • 7. ขุททกนิกาย เล่ม ๑๗- ๒๕ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๗ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๘ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๑๙ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๐ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๑ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๒ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๓ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๔ พระสุตตันตปิฎก เล่มที่ ๒๕ ความหมายของพระสุตตันตปิฎก พระสุตตันตปิฎกประมวลพุทธพจน์หมวดพระสูตรคือพระธรรมเทศนาคาบรรยายธรรมต่างๆ ที่ตรัสยักเยื้องให้เหมาะกับบุคคลและโอกาสตลอดจนบทประพันธ์เรื่องเล่า และเรื่องราวทั้งหลายที่เป็นชั้นเดิมในพระพุทธศาสนาแบ่งเป็น๕นิกาย(เรียกย่อหรือหัวใจว่าที ม สํ อํ ขุ) คือ ๑.ทีฆนิกายชุมนุมพระสูตรที่มีขนาดยาว๓๔สูตร ๒. มัชฌิมนิกายชุมนุมพระสูตรที่มีความยาวปานกลาง๑๕๒สูตร ๓. สังยุตตนิกายชุมนุมพระสูตรที่จัดรวมเข้าเป็นกลุ่มๆเรียกว่าสังยุตต์หนึ่งๆตามเรื่องที่เนื่องกัน หรือตามหัวข้อหรือบุคคลที่เกี่ยวข้องรวม๕๖สังยุตต์มี ๗,๗๖๒ สูตร ๔. อังคุตตรนิกายชุมนุมพระสูตรที่จัดรวมเข้าเป็นหมวดๆเรียกว่านิบาตหนึ่งๆตามลาดับจานวนหัวข้อธรรม รวม๑๑นิบาต หรือ๑๑ หมวดธรรมมี ๙,๕๕๗ สูตร ๕. ขุททกนิกายชุมนุมพระสูตรคาถาภาษิตคาอธิบายและเรื่องราวเบ็ดเตล็ดที่จัดเข้าในสี่นิกายแรกไม่ได้มี ๑๕คัมภีร์ พระสุตตันปิฎก๒๕ เล่ม ๑. ทีฆนิกาย ๓ เล่ม เล่ม ๙ สีลขันธวรรคมีพระสูตรขนาดยาว๑๓สูตรหลายสูตรกล่าวถึงจุลศีลมัชฌิมศีลมหาศีล เล่ม ๑๐ มหาวรรคมีพระสูตรยาว๑๐สูตรส่วนมากชื่อเริ่มด้วย"มหา"เช่นมหาปรินิพพานสูตรมหาสติปัฏฐานสูตรเป็นต้น เล่ม ๑๑ ปาฏิกวรรคมีพระสูตรยาว๑๑สูตรเริ่มด้วยปาฏิกสูตรหลายสูตรมีชื่อเสียงเช่นจักกวัตติสูตรอัคคัญญสูตร สิงคาลกสูตรและสังคีติสูตร ๒. มัชฌิมนิกาย ๓ เล่ม เล่ม ๑๒ มูลปัณณาสก์ บั้นต้นมีพระสูตรขนาดกลาง๕๐สูตร เล่ม ๑๓ มัชฌิมปัณณาสก์ บั้นกลางมีพระสูตรขนาดกลาง๕๐สูตร
  • 8. เล่ม ๑๔ อุปริปัณณาสก์ บั้นปลายมีพระสูตรขนาดกลาง๕๒สูตร ๓. สังยุตตนิกาย ๕ เล่ม เล่ม ๑๕ สคาถวรรครวมคาถาภาษิตที่ตรัสและกล่าวตอบบุคคลต่างๆเช่นเทวดามารภิกษุณี พราหมณ์ พระเจ้าโกศล เป็นต้นจัดเป็นกลุ่มเรื่องตามบุคคลและสถานที่มี๑๑สังยุตต์ เล่ม ๑๖ นิทานวรรคครึ่งเล่มว่าด้วยเหตุปัจจัยคือหลักปฏิจจสมุปบาทนอกนั้นมีเรื่องธาตุ การบรรลุธรรมสังสารวัฏ ลาภสักการะเป็นต้นจัด เป็น ๑๐ สังยุตต์ เล่ม ๑๗ ขันธวารวรรคว่าด้วยเรื่องขันธ์๕ในแง่มุมต่างๆ มีเรื่องเบ็ดเตล็ดรวมทั้งเรื่องสมาธิและทิฏฐิต่างๆปะปนอยู่บ้าง จัดเป็น ๑๓ สังยุตต์ เล่ม ๑๘ สฬายตนวรรคเกือบครึ่งเล่มว่าด้วยอายตนะ๖ตามแนวไตรลักษณ์ เรื่องอื่นมีเบญจศีลข้อปฏิบัติให้ถึงอสังขตะ อันตคาหิกทิฏฐิ เป็นต้นจัดเป็น ๑๐ สังยุตต์ เล่ม ๑๙ มหาวรรคว่าด้วยโพธิปักขิยธรรม๓๗แต่เรียงลาดับเป็นมรรคโพชฌงค์สติปัฏฐานอินทรีย์สัมมัปปธาน พละ อิทธิบาทรวมทั้งเรื่องที่เกี่ยวข้องเช่นนิวรณ์ สังโยชน์อริยสัจจ์ ฌาน ตลอดถึงองค์คุณของพระโสดาบันและอานิสงส์ของการบรรลุโสดาปัตติผลจัดเป็น๑๒สังยุตต์ (พึงสังเกตว่าคัมภีร์นี้เริ่มต้นด้วยการย้าความสาคัญของความมีกัลยาณมิตรเป็นจุดเริ่มต้นเข้าสู่มรรค) ๔. อังคุตตรนิกาย ๕ เล่ม เล่ม ๒๐ เอก-ทุก-ติกนิบาตว่าด้วยธรรมหมวด๑หมวด ๒ หมวด๓ รวมทั้งเรื่องเอตทัคคะ เล่ม ๒๑จตุกกนิบาตว่าด้วยธรรมหมวด๔ เล่ม ๒๒ ปัญจก-ฉักกนิบาตว่าด้วยธรรมหมวด๕-๖ เล่ม ๒๓สัตตก-อัฏฐก-นวกนิบาตว่าด้วยธรรมหมวด๗-๘-๙ เล่ม ๒๔ ทสก-เอกาทสกนิบาตว่าด้วยธรรมหมวด๑๐-๑๑ ในอังคุตตรนิกายมีข้อธรรมหลากหลายลักษณะตั้งแต่ทิฏฐธัมมิกัตถะถึงปรมัตถะทั้งสาหรับบรรพชิตและสาหรับคฤหัสถ์ กระจายกันอยู่โดยเรียงตามจานวน ๕. ขุททกนิกาย ๙ เล่ม เล่ม ๒๕ รวมคัมภีร์ย่อย๕คือขุททกปาฐะ(บทสวดย่อยๆโดยเฉพาะมงคลสูตรรตนสูตรกรณียเมตตสูตร) ธรรมบท(เฉพาะตัวคาถาทั้ง๔๒๓)อุทาน(พุทธอุทาน ๘๐) อิติวุตตกะ(พระสูตรที่ไม่ขึ้นต้นด้วย"เอวมฺเมสุต" แต่เชื่อมความเข้าสู่คาถาด้วยคาว่า"อิติวุจฺจติ" รวม๑๑๒สูตร)และสุตตนิบาต(ชุมนุมพระสูตรชุดพิเศษ ซึ่งเป็นคาถาล้วนหรือมีความนาเป็นร้อยแก้วรวม๗๑สูตร) เล่ม ๒๖ มีคัมภีร์ย่อยที่เป็นคาถาล้วน๔คือ วิมานวัตถุ(เรื่องผู้เกิดในสวรรค์อยู่วิมานเล่าการทาความดีของตนในอดีต ที่ทาให้ได้ไปเกิดเช่นนั้น๘๕เรื่อง) เปตวัตถุ(เรื่องเปรตเล่ากรรมชั่วในอดีตของตน๕๑เรื่อง) เถรคาถา(คาถาของพระอรหันตเถระ๒๖๔รูปที่กล่าวแสดงความรู้สึกสงบประณีตในการบรรลุธรรมเป็นต้น)
  • 9. เถรีคาถา(คาถาของพระอรหันตเถรี ๗๓รูปที่กล่าวแสดงความรู้สึกเช่นนั้น) เล่ม ๒๗ชาดก ภาค๑ รวมคาถาแสดงคติธรรมที่พระพุทธเจ้าตรัสเมื่อครั้งเป็นพระโพธิสัตว์ในอดีตชาติ และมีคาถาภาษิตของผู้อื่นปนอยู่บ้างภาคแรกตั้งแต่เรื่องที่มีคาถาเดียว(เอกนิบาต)ถึงเรื่องมี ๔๐คาถา(จัตตาฬีสนิบาต) รวม๕๒๕เรื่อง เล่ม ๒๘ชาดก ภาค๒ รวมคาถาอย่างในภาค๑นั้นเพิ่มอีก แต่เป็นเรื่องอย่างยาวตั้งแต่เรื่องมี๕๐คาถา(ปัญญาสนิบาต) ถึงเรื่องมีคาถามากมาย(มหานิบาต)จบลงด้วยมหาเวสสันดรชาดกซึ่งมี ๑,๐๐๐คาถารวมอีก๒๒เรื่อง บรรจบทั้งสองภาค เป็น ๕๔๗ ชาดก เล่ม ๒๙ มหานิทเทสภาษิตของพระสารีบุตรอธิบายขยายความพระสูตร ๑๖สูตรในอัฏฐกวรรคแห่งสุตตนิบาต เล่ม ๓๐ จูฬนิทเทสภาษิตของพระสารีบุตรอธิบายขยายความพระสูตร ๑๖สูตรในปารายนวรรคและขัคควิสาณสูตร ในอุรควรรคแห่งสุตตนิบาต เล่ม ๓๑ปฏิสัมภิทามรรคภาษิตของพระสารีบุตรอธิบายข้อธรรมที่ลึกซึ้งต่างๆเช่นเรื่องญาณทิฏฐิ อานาปานอินทรีย์ วิโมกข์เป็นต้นอย่างพิสดารเป็นทางแห่งปัญญาแตกฉาน เล่ม ๓๒อปทาน ภาค ๑ คาถาประพันธ์แสดงประวัติโดยเฉพาะในอดีตชาติเริ่มด้วยพุทธอปทาน(ประวัติของพระพุทธเจ้า) ปัจเจกพุทธอปทาน(เรื่องราวของพระปัจเจกพุทธเจ้า)ต่อด้วยเถรอปทาน(อัตตประวัติแห่งพระอรหันตเถระ) เรียงลาดับเริ่มแต่พระสารีบุตรตามด้วยพระมหาโมคคัลลานะพระมหากัสสปะพระอนุรุทธพระปุณณมันตานีบุตร พระอุบาลีพระอัญญาโกณฑัญญะพระปิณโฑลภารทวาชะพระขทิรวนิยเรวตะพระอานนท์ต่อเรื่อยไปจนจบภาค ๑ รวม พระอรหันตเถระ๔๑๐รูป เล่ม ๓๓อปทาน ภาค ๒คาถาประพันธ์แสดงอัตตประวัติพระอรหันตเถระต่ออีกจนถึงรูปที่ ๕๕๐ต่อนั้น เป็นเถรีอปทานแสดงเรื่องราวของพระอรหันตเถรี ๔๐เรื่องเริ่มด้วยพระเถรีที่ไม่คุ้นนาม๑๖รูป ต่อด้วยพระเถรีที่สาคัญเรียงลาดับคือพระมหาปชาบดีโคตมีพระเขมาพระอุบลวรรณาพระปฏาจาราพระกุณฑลเกสี พระกีสาโคตมีพระธรรมทินนาพระสกุลาพระนันทาพระโสณาพระภัททกาปิลานีพระยโสธราและท่านอื่นๆต่อไปจนจบ ครั้นจบอปทานแล้ว ท้ายเล่ม๓๓นี้มีคัมภีร์ พุทธวงส์เป็นคาถาประพันธ์แสดงเรื่องของพระพุทธเจ้าในอดีต๒๔ พระองค์ที่พระพุทธเจ้าพระองค์ปัจจุบันเคยได้ทรงเฝ้าและได้รับพยากรณ์จนถึงประวัติของพระองค์เองรวมเป็นพระพุทธเจ้า ๒๕ พระองค์จบแล้วมีคัมภีร์สั้นๆชื่อ จริยาปิฎกเป็นท้ายสุดแสดงพุทธจริยาในอดีตชาติ๓๕เรื่องที่มีแล้วในชาดก แต่เล่าด้วยคาถาประพันธ์ใหม่ชี้ตัวอย่างการบาเพ็ญบารมีบางข้อ ความหมายอภิธรรมปิฎก จากพจนานุกรมพุทธศาสน์ ฉบับประมวลศัพท์ โดยพระธรรมปิฎก (ป.อ. ปยุตฺโต) พระอภิธรรมปิฎก ๑๒ เล่ม พระอภิธรรม เล่มที่ ๑ พระอภิธรรม เล่มที่ ๒
  • 10. พระอภิธรรม เล่มที่ ๓ พระอภิธรรม เล่มที่ ๔ พระอภิธรรม เล่มที่ ๕ พระอภิธรรม เล่มที่ ๖ พระอภิธรรม เล่มที่ ๗ พระอภิธรรม เล่มที่ ๘ พระอภิธรรม เล่มที่ ๙ พระอภิธรรม เล่มที่ ๑๐ พระอภิธรรม เล่มที่ ๑๑ พระอภิธรรม เล่มที่ ๑๒ ความหมายของ พระอภิธรรมปิฎก พระอภิธรรมปิฎกประมวลพระพุทธพจน์หมวดพระอภิธรรมคือหลักธรรมและคาอธิบายที่เป็นหลักวิชาล้วนๆ ไม่เกี่ยวด้วยบุคคลหรือเหตุการณ์ แบ่งเป็น๗คัมภีร์ (เรียกย่อหรือหัวใจว่าสํ วิ ธา ปุ ก ย ป) คือ ๑.สังคณี หรือ ธัมมสังคณี รวมข้อธรรมเข้าเป็นหมวดหมู่แล้วอธิบายทีละประเภทๆ ๒. วิภังค์ ยกหมวดธรรมสาคัญๆขึ้นตั้งเป็นหัวเรื่องแล้วแยกแยะออกอธิบายชี้แจงวินิจฉัยโดยละเอียด ๓. ธาตุกถาสงเคราะห์ข้อธรรมต่างๆเข้าในขันธ์อายตนะ ธาตุ ๔. ปุคคลบัญญัติบัญญัติความหมายของบุคคลประเภทต่างๆตามคุณธรรมที่มีอยู่ในบุคคลนั้นๆ ๕. กถาวัตถุแถลงและวินิจฉัยทัศนะของนิกายต่างๆสมัยสังคายนาครั้งที่๓ ๖.ยมก ยกหัวข้อธรรมขึ้นวินิจฉัยด้วยวิธีถามตอบโดยตั้งคาถามย้อนกันเป็นคู่ๆ ๗. ปัฏฐาน หรือ มหาปกรณ์ อธิบายปัจจัย๒๔แสดงความสัมพันธ์เนื่องอาศัยกันแห่งธรรมทั้งหลายโดยพิสดาร ค. พระอภิธรรมปิฎก ๑๒ เล่ม เล่ม ๓๔ธัมมสังคณี ต้นเล่มแสดงมาติกา(แม่บท) อันได้แก่บทสรุปแห่งธรรมทั้งหลายที่จัดเป็นชุดๆมีทั้งชุด ๓ เช่น จัดทุกสิ่งทุกอย่างประดามีเป็นกุศลธรรมอกุศลธรรมอัพยากฤตธรรมชุดหนึ่งเป็นอดีตธรรมอนาคตธรรม ปัจจุบันธรรม ชุดหนึ่ง ฯลฯ และชุด๒ เช่นจัดทุกสิ่งทุกอย่างเป็นสังขตธรรมอสังขตธรรมชุดหนึ่งรูปีธรรมอรูปีธรรมชุดหนึ่ง โลกียธรรมโลกุตตรธรรม ชุดหนึ่งเป็นต้นรวมทั้งหมดมี ๑๖๔ชุด หรือ๑๖๔มาติกาจากนั้นขยายความมาติกาที่๑เป็นตัวอย่างแสดงให้เห็นกุศลธรรม อกุศลธรรมและอัพยากฤตธรรมที่กระจายออกไปโดย จิตเจตสิกรูปและนิพพานท้ายเล่มมีอีก ๒บท แสดงคาอธิบายย่อหรือคาจากัดความข้อธรรมทั้งหลายในมาติกาที่กล่าวถึงข้างต้นจนครบ๑๖๔มาติกา ได้คาจากัดความข้อธรรมใน๒บท เป็น ๒ แบบ (แต่บทท้ายจากัดความไว้เพียง๑๒๒มาติกา) เล่ม ๓๕วิภังค์ ยกหลักธรรมสาคัญๆขึ้นมาแจกแจงแยกแยะอธิบายกระจายออกให้เห็นทุกแง่จนชัดเจนจบไปเป็นเรื่องๆ รวมอธิบายทั้งหมด๑๘เรื่อง คือขันธ์ ๕อายตนะ๑๒ธาตุ ๑๘อริยสัจจ์๔ อินทรีย์ ๒๒ปฏิจจสมุปบาท สติปัฏฐาน ๔ สัมมัปปธาน ๔ อิทธิบาท ๔โพชฌงค์ ๗มรรคมีองค์ ๘ฌานอัปปมัญญา ศีล ๕ปฏิสัมภิทา ๔ญาณประเภทต่างๆ
  • 11. และเบ็ดเตล็ดว่าด้วยอกุศลธรรมต่างๆอธิบายเรื่องใดก็เรียกว่าวิภังค์ของเรื่องนั้นๆเช่นอธิบายขันธ์ ๕ก็เรียกขันธวิภังค์เป็นต้น รวมมี ๑๘วิภังค์ เล่ม ๓๖ธาตุกถานาข้อธรรมในมาติกาทั้งหลายและข้อธรรมอื่นๆอีก ๑๒๕อย่างมาจัดเข้าในขันธ์ ๕อายตนะ๑๒และธาตุ๑๘ ว่าข้อใดได้หรือไม่ได้ในอย่างไหนๆและปุคคลบัญญัติบัญญัติความหมายของชื่อที่ใช้เรียกบุคคลต่างๆตามคุณธรรมเช่นว่า “โสดาบัน”ได้แก่ บุคคลผู้ละสังโยชน์๓ได้แล้วดังนี้เป็นต้น เล่ม ๓๗กถาวัตถุคัมภีร์ที่พระโมคคัลลีบุตรติสสเถระประธานการสังคายนาครั้งที่๓เรียบเรียงขึ้น เพื่อแก้ความเห็นผิดของนิกายต่างๆในพระพุทธศาสนาครั้งนั้นซึ่งได้แตกแยกกันออกแล้วถึง ๑๘นิกายเช่นความเห็นว่า พระอรหันต์เสื่อมจาdอรหัตตผลได้ เป็นพระอรหันต์พร้อมกับการเกิดได้ ทุกอย่างเกิดจากกรรมเป็นต้น ประพันธ์เป็นคาปุจฉาวิสัชนามีทั้งหมด๒๑๙กถา เล่ม ๓๘ยมกภาค ๑ คัมภีร์อธิบายหลักธรรมสาคัญให้เห็นความหมายและขอบเขตอย่างชัดเจนและทดสอบความรู้อย่างลึกซึ้ง ด้วยวิธีตั้งคาถามย้อนกันเป็นคู่ๆ(ยมกแปลว่าคู่)เช่นถามว่าธรรมทั้งปวงที่เป็นกุศลเป็นกุศลมูล หรือว่าธรรมทั้งปวงที่เป็นกุศลมูลเป็นกุศล,รูป(ทั้งหมด)เป็นรูปขันธ์ หรือว่ารูปขันธ์(ทั้งหมด)เป็นรูป, ทุกข์ (ทั้งหมด) เป็นทุกขสัจจ์ หรือว่าทุกขสัจจ์(ทั้งหมด)เป็นทุกข์ หลักธรรมที่นามาอธิบายในเล่มนี้มี ๗คือ มูล (เช่นกุศลมูล)ขันธ์ อายตนะธาตุ สัจจะสังขาร อนุสัย ถามตอบอธิบายเรื่องใดก็เรียกว่ายมกของเรื่องนั้นๆเช่นมูลยมกขันธยมกเป็นต้น เล่มนี้จึงมี ๗ยมก เล่ม ๓๙ยมก ภาค ๒ถามตอบอธิบายหลักธรรมเพิ่มเติมจากภาค๑อีก ๓เรื่อง คือ จิตตยมกธรรมยมก(กุศล-อกุศล- อัพยากตธรรม)อินทรียยมกบรรจบเป็น๑๐ ยมก เล่ม ๔๐ ปัฏฐานภาค ๑ คัมภีร์ปัฏฐานอธิบายปัจจัย ๒๔ โดยพิสดาร แสดงความสัมพันธ์อิงอาศัยเป็นปัจจัยแก่กันแห่งธรรมทั้งหลายในแง่ด้านต่างๆ ธรรมที่นามาอธิบายก็คือข้อธรรมที่มีในมาติกาคือแม่บทหรือบทสรุปธรรมซึ่งกล่าวไว้แล้วในคัมภีร์สังคณีนั่นเองแต่อธิบายเฉพาะ ๑๒๒มาติกาแรกที่เรียกว่าอภิธรรมมาติกาปัฏฐานเล่มแรกนี้อธิบายความหมายของปัจจัย๒๔ เป็นการปูพื้นความเข้าใจเบื้องต้นก่อนจากนั้นจึงเข้าสู่เนื้อหาของเล่มคืออนุโลมติกปัฏฐาน อธิบายความเป็นปัจจัยแก่กันแห่งธรรมทั้งหลายในแม่บทชุด๓(ติกมาติกา)โดยปัจจัย๒๔นั้น เช่นว่า กุศลธรรมเป็นปัจจัยแก่กุศลธรรมโดยอุปนิสสยปัจจัย(เพราะศรัทธาจึงให้ทานจึงสมาทานศีลจึงบาเพ็ญฌานจึงเจริญวิปัสสนา ฯลฯ)กุศลธรรมเป็นปัจจัยแก่อกุศลธรรมโดยอุปนิสสยปัจจัย(คิดถึงทานที่ตนได้ให้ ศีลที่ได้รักษาแล้ว ดีใจ ยึดเป็นอารมณ์แน่นหนาจนเกิดราคะทิฏฐิ,มีศรัทธามีศีล มีปัญญาแล้วเกิดมานะว่าฉันดีกว่าเก่งกว่าหรือเกิดทิฏฐิว่า ต้องทาอย่างเรานี้เท่านั้นจึงถูกต้องฯลฯ)อกุศลธรรมเป็นปัจจัยแก่กุศลธรรมโดยอุปนิสสยปัจจัย(เพราะความอยากบางอย่าง หรือเพราะมานะหรือทิฏฐิจึงให้ทานจึงรักษาศีลจึงทาฌานให้เกิดฯลฯ)กุศลธรรมเป็นปัจจัยแก่อกุศลธรรมโดยอารัมมณปัจจัย (คิดถึงฌานที่ตนเคยได้แต่มาเสื่อมไปเสียแล้วเกิดความโทมนัสฯลฯ)อย่างนี้เป็นต้น (เล่มนี้อธิบายแต่ในเชิงอนุโลมคือตามนัยปกติไม่อธิบายตามนัยปฏิเสธจึงเรียกว่าอนุโลมปัฏฐาน) เล่ม ๔๑ปัฏฐาน ภาค ๒อนุโลมติกปัฏฐานต่อ คือ อธิบายความเป็นปัจจัยแก่กันแห่งธรรมทั้งหลายในแม่บทชุด๓ ต่อจากเล่ม๔๐ เช่น อดีตธรรมเป็นปัจจัยแก่ปัจจุบันธรรมโดยอารัมมณปัจจัย(พิจารณารูปเสียงเป็นต้นที่ดับเป็น อดีตไปแล้วว่าเป็นของไม่เที่ยงเป็นทุกข์เป็นอนัตตา เกิดความโทมนัสขึ้นฯลฯ)เป็นต้น
  • 12. เล่ม ๔๒ ปัฏฐานภาค ๓ อนุโลมทุกปัฏฐานอธิบายความเป็นปัจจัยแก่กันแห่งธรรมทั้งหลายในแม่บทชุด๒(ทุกมาติกา)เช่น โลกียธรรมเป็นปัจจัยแก่โลกียธรรมโดยอารัมมณปัจจัย(รูปายตนะเป็นปัจจัยแก่จักขุวิญญาณฯลฯ)ดังนี้ เป็นต้น เล่ม ๔๓ปัฏฐาน ภาค ๔อนุโลมทุกปัฏฐาน ต่อ เล่ม ๔๔ปัฏฐาน ภาค ๕ยังเป็นอนุโลมปัฏฐานแต่อธิบายความเป็นปัจจัยแก่กันแห่งธรรมทั้งหลายในแม่บทต่างๆ ข้ามชุดกันไปมาประกอบด้วย อนุโลมทุกติกปัฏฐานธรรมในแม่บทชุด ๒(ทุกมาติกา)กับธรรมในแม่บทชุด ๓(ติกมาติกา)เช่นอธิบาย "กุศลธรรมที่เป็นโลกุตตรธรรมเป็นปัจจัยแก่กุศลธรรมที่เป็นโลกียธรรมโดยอธิปติปัจจัย"เป็นอย่างไรเป็นต้น อนุโลมติกทุกปัฏฐานธรรมในแม่บทชุด ๓(ติกมาติกา)กับธรรมในแม่บทชุด๒ (ทุกมาติกา) อนุโลมติกติกปัฏฐานธรรมในแม่บทชุด ๓(ติกมาติกา)กับธรรมในแม่บทชุด๓ (ติกมาติกา)โยงระหว่างต่างชุดกันเช่นอธิบายว่า "กุศลธรรมที่เป็นอดีตธรรมเป็นปัจจัยแก่อกุศลธรรมที่เป็นปัจจุบันธรรม"เป็นอย่างไรเป็นต้น อนุโลมทุกทุกปัฏฐานธรรมในแม่บทชุด ๒ (ทุกมาติกา)กับธรรมในบทชุด๒(ทุกมาติกา)โยงระหว่างต่างชุดกันเช่นชุดโลกียะ โลกุตตระกับชุดสังขตะอสังขตะเป็นต้น เล่ม ๔๕ปัฏฐาน ภาค ๖ เป็นปัจจนียปัฏฐาน คืออธิบายความเป็นปัจจัยแก่กันแห่งธรรมทั้งหลายอย่างเล่มก่อนๆนั่นเอง แต่อธิบายแง่ปฏิเสธแยกเป็นปัจจนียปัฏฐาน คือ ปฏิเสธ+ปฏิเสธเช่นว่า ธรรมที่ไม่ใช่กุศล อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลเกิดขึ้นโดยเหตุปัจจัยเป็นอย่างไร อนุโลมปัจจนียปัฏฐานคืออนุโลม+ปฏิเสธ เช่นว่าอาศัยโลกิยธรรม ธรรมที่ไม่ใช่โลกุตตรธรรมเกิดขึ้นโดยเหตุปัจจัยเป็นอย่างไร ปัจจนียานุโลมปัฏฐานคือปฏิเสธ+อนุโลมเช่นว่า อาศัยธรรมที่ไม่ใช่กุศลธรรมที่เป็นอกุศลเกิดขึ้นโดยเหตุปัจจัยเป็นอย่างไรและในทั้ง ๓แบบนี้แต่ละแบบ จะอธิบายโดยใช้ธรรมในแม่บทชุด๓แล้วต่อด้วยชุด๒แล้วข้ามชุดระหว่างชุด๒กับชุด ๓ ชุด ๓กับชุด ๒ ชุด ๓ กับชุด ๓ ชุด ๒ กับชุด ๒ จนครบทั้งหมดเหมือนกันดังนั้นแต่ละแบบจึงแยกซอยละเอียดออกไปเป็นติกทุก ทุกติกติกทุกติกติกทุกทุกตามลาดับ (เขียนให้เต็มเป็น ปัจจนียติกปัฏฐาน ปัจจนียทุกปัฏฐานปัจจนียทุกติกปัฏฐานฯลฯ ดังนี้เรื่อยไปจนถึงท้ายสุดคือ ปัจจนียานุโลมทุกทุกปัฏฐาน) คัมภีร์ปัฏฐานนี้ท่านอธิบายค่อนข้างละเอียดเฉพาะเล่มต้นๆเท่านั้นเล่มหลังๆท่านแสดงไว้แต่หัวข้อหรือแนว และทิ้งไว้ให้ผู้เข้าใจแนวนั้นแล้วเอาไปแจกแจงโดยพิสดารเองโดยเฉพาะเล่มสุดท้ายคือภาค๖แสดงไว้ย่นย่อที่สุด แม้กระนั้นก็ยังเป็นหนังสือถึง๖เล่มหรือ ๓,๓๒๐ หน้ากระดาษพิมพ์ ถ้าอธิบายโดยพิสดารทั้งหมดจะเป็นเล่มหนังสืออีกจานวนมากมายหลายเท่าตัวท่านจึงเรียกปัฏฐานอีกชื่อหนึ่งว่า"มหาปกรณ์" แปลว่าตาราใหญ่ ใหญ่ทั้งโดยขนาดและโดยความสาคัญ พระอรรถกถาจารย์กล่าวว่าพระไตรปิฎกมีเนื้อความทั้งหมด ๘๔,๐๐๐พระธรรมขันธ์แบ่งเป็นพระวินัยปิฎก ๒๑,๐๐๐ พระธรรมขันธ์พระสุตตันตปิฎก ๒๑,๐๐๐พระธรรมขันธ์และพระอภิธรรมปิฎก ๔๒,๐๐๐พระธรรมขันธ์ พระพุทธพจน์อันเป็นศาสนธรรมพระดารัสตรัสสอนและตรัสสั่งของพระพุทธองค์ภายหลังพระพุทธองค์เสด็จดับขันธปรินิพพาน
  • 13. ได้รับการสังคายนารวบรวมประมวลเป็นบทสวดสาหรับสอบทานความถูกต้องมิให้ผิดเพี้ยนไปจากที่ตรัสสั่งสอนจริง ด้วยสังฆานุมัติพร้อมกันครั้งแรกโดยพระอรหันตเถระ 500 รูปเมื่อพุทธปรินิพพานผ่านไปได้ 3เดือน การสังคายนาพระธรรมวินัยในครั้งนั้นได้ยกเอาพระพุทธพจน์ที่ทรงแสดงโปรดเวไนยสัตว์ตลอดระยะเวลา45 พรรษา ขึ้นสู่การพิจารณาสอบทานรับรองความบริสุทธิ์ถูกต้องในท่ามกลางสงฆ์แล้วประมวลจัดเป็นหมวด3หมวดใหญ่ เรียกว่า พระไตรปิฎกประกอบด้วย1.พระวินัยปิฎกหมวดพระวินัย ว่าด้วยพระพุทธบัญญัติที่ทรงวางหลักความประพฤติและมารยาทอันเป็นแบบอย่างที่ดีเยี่ยงอารยชน เป็นประมวลหลักคาสอนเกี่ยวกับศีลหรือสิกขาบทตลอดจนพิธีกรรมและธรรมเนียมของพระสงฆ์อันเป็นกฎระเบียบที่พระภิกษุ- ภิกษุณี จะต้องปฏิบัติโดยเคร่งครัดนอกจากนี้ยังได้ประมวลเหตุการณ์พุทธประวัติที่สาคัญนับตั้งแต่ตรัสรู้เสวยวิมุติสุขเป็นต้นไป พร้อมทั้งประวัติการทาสังคายนาครั้งที่1 และครั้งที่2 ไว้ด้วยมี 21,000 พระธรรมขันธ์แบ่งออกเป็น 5 คัมภีร์ คือ มหาวิภังค์ ภิกขุณีวิภังค์มหาวรรคจุลวรรคและปริวาร โดยพระไตรปิฎกของไทยเราจัดพิมพ์เป็น8เล่มหนังสือได้แก่พระไตรปิฎกเล่มที่1-8 2.พระสุตตันตปิฎกหมวดพระสูตรว่าด้วยประมวลพระธรรมเทศนาและคาบรรยายธรรมที่ตรัสให้เหมาะแก่บุคคลและโอกาส เป็นประมวลหลักธรรมที่ทรงแสดงโดยบุคลาธิษฐานหรือทรงใช้สมมติโวหารตลอดจนบทธรรมภาษิต จัดแบ่งเนื้อหาพระสูตรที่มีขนาดยาวปานกลางและสั้นไม่เท่ากันรวมไว้เป็นหมวดหมู่ใหญ่ ได้ 5หมวด เรียกว่านิกายคือ ทีฆนิกายมัชฌิมนิกายสังยุตตนิกายอังคุตตรนิกายและขุททกนิกาย ซึ่งพระไตรปิฎกของไทยเราจัดพิมพ์เป็น25 เล่มหนังสือ ได้แก่พระไตรปิฎกเล่มที่9-333.พระอภิธรรมปิฎก หมวดพระอภิธรรม ว่าด้วยประมวลพระพุทธพจน์อันเกี่ยวกับหลักธรรมที่เป็นปรมัตถธรรมล้วนคือพระพุทธพจน์ที่แสดงสภาวธรรมโดยปรมัตถ์ คือ มีอยู่จริง หรือเป็นความหมายที่แท้จริงของสรรพสิ่งซึ่งได้แก่ จิตเจตสิกรูปนิพพาน ซึ่งเป็นธรรมอันยิ่งละเอียดลุ่มลึกยิ่งกว่าธรรมทั้งปวงเป็นประมวลคาอธิบายเหตุการณ์ต่างๆ อันเป็นสมมติบัญญัติเข้ามาประกอบความมี42,000 พระธรรมขันธ์แบ่งออกเป็น 7 คัมภีร์ คือ ธัมมสังคณี วิภังค์ ธาตุกถา ปุคคลบัญยัติกถาวัตถุยมกและปัฏฐานโดยพระไตรปิฎกของไทยเราจัดพิมพ์เป็น12 เล่มหนังสือได้แก่พระไตรปิฎกเล่มที่34- 45 พระไตรปิฎก ๔๕ เล่ม : ที่มา www.84000.org