SlideShare a Scribd company logo
4/25/16	
  	
  
1	
  
รศ.พญ.ศรีเวียง ไพโรจน์กุล
ศูนย์การุณรักษ์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
•  เป้าหมายเพื่อป้องกันและปลดเปลื้องความทุกข์
ทรมานทางกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ
•  ให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตดีที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้
•  เพื่อให้ทราบปัญหาของผู้ป่วยและครอบครัว
อย่างรอบด้าน
•  ช่วยในวางแผนการดูแลโดยเฉพาะในสภาวะที่
ผู้ป่วยเสื่อมถอยลง
•  เป็นการสื่อสาร สร้างสัมพันธ์ ช่วยเหลือ เยียวยา
ผู้ป่วยและครอบครัว
*Education for Physician on EOL Care
เริ่มจากการซักประวัติที่ดี:
•  การวินิจฉัยโรคที่เป็นภาวะคุกคามชีวิตของผู้ป่วย
และการรักษาที่เคยได้รับ การดำเนินโรค ระยะ
โรค แนวทางการรักษา พยากรณ์โรค
•  Co-morbids และการรักษา
•  การประเมินด้านกายใน PC แตกต่างจากการ
ประเมินตามปกติ คือ PC มีการประเมิน
สมรรถนะและอาการ มากกว่าการประเมินตาม
organ system
•  ประเมินอาการ สมรรถนะ ความปลอดภัย สภาวะ
โภชนาการ
•  การตรวจร่างกายเป็น therapeutic touch ช่วย
หาสาเหตุอาการของผู้ป่วย และประเมินความ
จำเป็นของการตรวจทางห้องปฏิบัติการ
•  Pain
•  Weakness/fatigue
•  Breathlessness
•  Insomnia
•  Weight loss
•  Confusion
•  Constipation, nausea/vomiting
•  Anxiety and depression
4/25/16	
  	
  
2	
  
•  อาการทางกายอาจมีสาเหตุจากหลายปัจจัย เช่น
จากโรคหลัก จากการรักษาในปัจจุบันหรือใน
อดีต หรืออาจจากโรคอื่นหรือโรคร่วมที่มี
•  ปัจจัยด้านจิตสังคมและจิตวิญญาณอาจมี
บทบาทสำคัญต่ออาการทางกาย
•  การประเมินอาการโดยผู้ป่วยเป็นผู้บอกเองเป็น
gold standard
•  แต่ละอาการ ซักลงในรายละเอียด
•  ตำแหน่ง:

- ปวดที่ไหน ร้าวไปที่ไหนหรือไม่?

- มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?

- ปวดมานานเท่าไร?

- การเป็นเฉียบพลันหรือค่อยเป็นค่อยไป?

- เป็นตลอดเวลาหรือเป็นพักๆ?
•  ลักษณะการปวด ให้ผู้ป่วยบรรยาย
•  ความรุนแรง โดยเฉลี่ย/มากสุด/น้อยสุด ค่าคะแนน?
•  อะไรทำให้เป็นมากขึ้นหรือทำให้ดีขึ้น?
•  รักษาอย่างไร ผลการรักษา? ดีขึ้นหรือไม่?
•  ผลกระทบต่อของผู้ป่วย สมรรถนะ กิจกรรม การนอน
•  ผู้ป่วยเข้าใจอย่างไร อะไรเป็นสาเหตุ ความหมาย
เป็นแบบประเมินระดับ
สมรรถนะผู้ป่วยระยะท้าย
มีระดับตั้งแต่ 0-100%
วัตถุประสงค์
•  สื่อสารให้เห็นสมรรถนะ
ของผู้ป่วยและพยากรณ์
ระยะเวลาที่เหลือ
•  ช่วยประกอบการตัดสินใจ
ในการดำเนินการต่างๆ
PPS
%
Survival time (days)
Mean (95%CI)
10 3 (1,5)
อ่อนล้ามาก กลืนลำบาก
30 20 (16,24)
นอนติดเตียง ต้องช่วยเหลือ
ทุกอย่าง
50 76 (64,88)
60 92 (80,105)
นั่งนอน >50% ของวัน
Lau, Downing et al. J Pain Symp Manage. 2009 .
PPS
%
การ
เคลื่อนไหว
การปฏิบัติกิจกรรมและ
การปรากฏของโรคให้เห็น
การดูแล
ตนเอง
การรับประทาน ระดับความรู้สึกตัว
100 ปกติ ทำกิจกรรมและทำงานได้ปกติ
ไม่ปรากฏอาการของโรค
ปกติ ปกติ รู้สึกตัวดี
90 ปกติ ทำกิจกรรมและทำงานได้ปกติ
โรคเริ่มปรากฏให้เห็น
ปกติ ปกติ รู้สึกตัวดี
80 ปกติ ต้องใช้ความพยายามในการทำ
กิจกรรมตามปกติ
โรคเริ่มปรากฏให้เห็น
ปกติ ปกติหรือ
ลดลง
รู้สึกตัวดี
70 ลดลง ไม่สามารถทำกิจกรรมและทำงานได้
ตามปกติ
โรคปรากฏให้เห็นชัดเจน
ปกติ ปกติหรือลดลง รู้สึกตัวดี
60 ลดลง ไม่สามารถทำงานอดิเรก/งานบ้าน
โรคปรากฏให้เห็นชัดเจน
ต้องช่วยเหลือ
เป็นครั้งคราว
ปกติหรือ
ลดลง
รู้สึกตัวดีหรือสับสน
50 นั่ง/นอนเป็น
ส่วนใหญ่
ไม่สามารถทำงานได้เลย
โรคมีการลุกลามมาก
ต้องช่วยเหลือ
มากขึ้น
ปกติหรือ
ลดลง
รู้สึกตัวดีหรือสับสน
40 อยู่บนเตียง
เป็นส่วนใหญ่
ไม่สามารถทำกิจกรรมส่วนใหญ่ได้
โรคมีการลุกลามมาก
ต้องช่วยเหลือ
เป็นส่วนใหญ่
ปกติ หรือ
ลดลง
รู้สึกตัวดีหรือง่วงซึม
+/- สับสน
30 อยู่บนเตียง
ตลอดเวลา
ไม่สามารถทำกิจกรรมใดๆ
โรคมีการลุกลามมาก
ต้องช่วยเหลือ
ทุกอย่าง
ปกติหรือ
ลดลง
รู้สึกตัวดีหรือง่วงซึม
+/- สับสน
20 อยู่บนเตียง
ตลอดเวลา
ไม่สามารถทำกิจกรรมใดๆ
โรคมีการลุกลามมาก
ต้องช่วยเหลือ
ทุกอย่าง
จิบน้ำได้
เล็กน้อย
รู้สึกตัวดีหรือง่วงซึม
+/- สับสน
10 อยู่บนเตียง
ตลอดเวลา
ไม่สามารถทำกิจกรรมใดๆ
โรคมีการลุกลามมาก
ต้องช่วยเหลือ
ทุกอย่าง
ทำความสะอาด
ปากเท่านั้น
ง่วงซึมหรือไม่รู้สึกตัว
+/- สับสน
0 เสียชีวิต - - - -
Case ที่ 1. ผู้ป่วยมะเร็งต่อมลูกหมาก มีการกระจายไปที่กระดูก
ใช้เวลาแต่ละวันนั่งหรือนอนอยู่บนเตียงเนื่องจากอ่อนเพลีย
ต้องประคองเวลาเดินถึงแม้จะเดินในระยะสั้นๆ ล้างหน้าแปรง
ฟันได้เอง พูดคุยสื่อสารได้ รับประทานอาหารได้ปกติ
PP
S
%
การ
เคลื่อนไหว
การปฏิบัติกิจกรรมและ
การปรากฏของโรคให้เห็น
การดูแล
ตนเอง
การรับ
ประทาน
ระดับความรู้สึก
ตัว
100 ปกติ ทำกิจกรรมและทำงานได้ปกติ
ไม่ปรากฏอาการของโรค
ปกติ ปกติ รู้สึกตัวดี
90 ปกติ ทำกิจกรรมและทำงานได้ปกติ
โรคเริ่มปรากฏให้เห็น
ปกติ ปกติ รู้สึกตัวดี
80 ปกติ ต้องใช้ความพยายามในการทำ
กิจกรรมตามปกติ
โรคเริ่มปรากฏให้เห็น
ปกติ ปกติหรือ
ลดลง
รู้สึกตัวดี
70 ลดลง ไม่สามารถทำกิจกรรมและทำงานได้
ตามปกติ
โรคปรากฏให้เห็นชัดเจน
ปกติ ปกติหรือลด
ลง
รู้สึกตัวดี
60 ลดลง ไม่สามารถทำงานอดิเรก/งานบ้าน
โรคปรากฏให้เห็นชัดเจน
ต้องช่วยเหลือ
เป็นครั้งคราว
ปกติหรือ
ลดลง
รู้สึกตัวดีหรือ
สับสน
50 นั่ง/นอนเป็น
ส่วนใหญ่
ไม่สามารถทำงานได้เลย
โรคมีการลุกลามมาก
ต้องช่วยเหลือ
มากขึ้น
ปกติหรือ
ลดลง
รู้สึกตัวดีหรือ
สับสน
4/25/16	
  	
  
3	
  
Case ที่ 2.ผู้ป่วย CA liver ระยะแพร่กระจายนอนติดเตียงไม่
สามารถทำกิจกรรมใดใดได้ รับประทานอาหารได้น้อยลง
ต้องช่วยเหลือในการทำกิจกรรมเช่น เช็ดตัว อาบน้ำบน
เตียง บางครั้งมีเพ้อ สับสน
PP
S
%
การ
เคลื่อนไหว
การปฏิบัติกิจกรรมและ
การปรากฏของโรคให้เห็น
การดูแล
ตนเอง
การรับ
ประทาน
ระดับความรู้สึก
ตัว
50 นั่ง/นอนเป็น
ส่วนใหญ่
ไม่สามารถทำงานได้เลย
โรคมีการลุกลามมาก
ต้องช่วย
เหลือมากขึ้น
ปกติหรือ
ลดลง
รู้สึกตัวดีหรือสับสน
40 อยู่บนเตียง
เป็นส่วน
ใหญ่
ไม่สามารถทำกิจกรรมส่วนใหญ่
ได้
โรคมีการลุกลามมาก
ต้องช่วย
เหลือเป็นส่วน
ใหญ่
ปกติ หรือ
ลดลง
รู้สึกตัวดีหรือง่วงซึม
+/- สับสน
30 อยู่บนเตียง
ตลอดเวลา
ไม่สามารถทำกิจกรรมใดๆ
โรคมีการลุกลามมาก
ต้องช่วย
เหลือทุกอย่าง
ปกติหรือ
ลดลง
รู้สึกตัวดีหรือง่วงซึม
+/- สับสน
20 อยู่บนเตียง
ตลอดเวลา
ไม่สามารถทำกิจกรรมใดๆ
โรคมีการลุกลามมาก
ต้องช่วย
เหลือทุกอย่าง
จิบน้ำได้
เล็กน้อย
รู้สึกตัวดีหรือง่วงซึม
+/- สับสน
10 อยู่บนเตียง
ตลอดเวลา
ไม่สามารถทำกิจกรรมใดๆ
โรคมีการลุกลามมาก
ต้องช่วย
เหลือทุกอย่าง
ทำความสะอาด
ปากเท่านั้น
ง่วงซึมหรือไม่รู้สึก
ตัว +/- สับสน
Case ที่ 3 ผู้ป่วย CA Breast ได้รับการวินิจฉัยว่ามีแพร่
กระจายไปที่ตับและปอด นอนติดเตียงไม่สามารถทำกิจกร
รมใดๆได้ รับประทานอาหารและน้ำไม่ได้ ( บ้วนปากได้
เท่านั้น) มีอาการเพ้อสับสน
PP
S
%
การ
เคลื่อนไหว
การปฏิบัติกิจกรรมและ
การปรากฏของโรคให้เห็น
การดูแล
ตนเอง
การรับ
ประทาน
ระดับความรู้สึก
ตัว
40 อยู่บนเตียง
เป็นส่วน
ใหญ่
ไม่สามารถทำกิจกรรมส่วนใหญ่
ได้
โรคมีการลุกลามมาก
ต้องช่วย
เหลือเป็นส่วน
ใหญ่
ปกติ หรือ
ลดลง
รู้สึกตัวดีหรือง่วงซึม
+/- สับสน
30 อยู่บนเตียง
ตลอดเวลา
ไม่สามารถทำกิจกรรมใดๆ
โรคมีการลุกลามมาก
ต้องช่วย
เหลือทุกอย่าง
ปกติหรือ
ลดลง
รู้สึกตัวดีหรือง่วงซึม
+/- สับสน
20 อยู่บนเตียง
ตลอดเวลา
ไม่สามารถทำกิจกรรมใดๆ
โรคมีการลุกลามมาก
ต้องช่วย
เหลือทุกอย่าง
จิบน้ำได้
เล็กน้อย
รู้สึกตัวดีหรือง่วงซึม
+/- สับสน
10 อยู่บนเตียง
ตลอดเวลา
ไม่สามารถทำกิจกรรมใดๆ
โรคมีการลุกลามมาก
ต้องช่วย
เหลือทุกอย่าง
ทำความสะอาด
ปากเท่านั้น
ง่วงซึมหรือไม่รู้สึก
ตัว +/- สับสน
0 เสียชีวิต - - - -
•  ประเมินอารมณ์ การรับรู้ การเผชิญปัญหา ความ
กลัว และปัญหาที่ผู้ป่วยยังค้างคาใจ
•  ตรวจกรองว่ามีภาวะวิตกกังวลหรือภาวะซึมเศร้า
หรือไม่ รวมถึงภาวะสับสน (delirium)
•  ในผู้ป่วยบางรายอาจต้องใช้แบบคัดกรองช่วยใน
การวินิจฉัย
ประเมินความสามารถในการตัดสินใจ
•  ความสามารถในการตัดสินใจ
•  กรณีไม่สามารถตัดสินใจเองได้ ให้ประเมินความ
ต้องการที่ผู้ป่วยเคยบอกไว้ หรือมีผู้ตัดสินใจแทน
•  ประเมินเป้าหมายการดูแลที่ผู้ป่วยต้องการ
•  การทำ advance care plan และ advance directives
และการกำหนดผู้ตัดสินใจแทน
ประเมินการรับรู้ความต้องการด้านข้อมูลของผู้ป่วย
•  ผู้ป่วยต้องการรับรู้ข้อมูลเพียงใด จะสื่อสารด้วยวิธีใด
•  รับรู้ว่าใครมีส่วนร่วมในการรับรู้/ปกปิดข้อมูล
•  ประเมินสภาวะแวดล้อม ครอบครัว
•  การงาน
•  สภาวะเศรษฐกิจ และปัญหาด้านกฏหมาย
•  ประเมินความต้องการของผู้ป่วยและผู้ดูแล
•  ประเมินความหมายของการเจ็บป่วย คุณค่าของ
ชีวิต ซึ่งมีผลต่อความรู้สึกในการดำรงค์ชีวิตต่อ
ของผู้ป่วย
•  เข้าใจอิทธิพลของความเชื่อและศาสนาที่มีต่อ
ชีวิตผู้ป่วย
•  การปฏิบัติตน หรือการทำพิธีกรรมตามความเชื่อ
•  การเผชิญกับความเจ็บป่วย และความตาย
•  เป้าหมายชีวิต ภาระกิจที่ยังค้างคา
4/25/16	
  	
  
4	
  
•  ประเมินความต้องการด้านการพยาบาลดูแล
•  อุปกรณ์สิ่งของที่จำเป็นต้องใช้ที่บ้าน
•  การดูแลเด็กและผู้พึ่งพิงในครอบครัวผู้ป่วย
•  รู้ว่าใครเป็นผู้ดูแลหลัก ประเมินความสามารถใน
การดูแล ความต้องการของผู้ดูแล
•  ประเมินการเตรียมตัวกับการเผชิญการสูญเสียที่
กำลังจะเกิดขึ้น
•  การเตรียมตัวและการวางแผนกับความตายที่จะ
มาถึงของผู้ป่วยและครอบครัว
12 10 6 5 3 2
67
เป็น DM
ได้รับการ
ตัดขา
แม่บ้าน
ขับรถ
บรรทุก
ช่าง
เสริมสวยช่วยดูแล
เด็ก
สุดใจ แดงสุรเดชครู ละมัย
•  ประสบการณ์ความเจ็บป่วยของผู้ป่วยมีหลายมิติ
และเป็นปัจเจก
•  การให้การดูแลที่มีประสิทธิภาพ อาศัยการ
ประเมินผู้ป่วยทั้งตัวตนและอย่างรอบด้าน

More Related Content

What's hot

คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปีคู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
Utai Sukviwatsirikul
 
PC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pcPC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pc
CAPD AngThong
 
Cpg obesity in children
Cpg obesity in childrenCpg obesity in children
Cpg obesity in children
Utai Sukviwatsirikul
 
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยาการให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
Ziwapohn Peecharoensap
 
PC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACPPC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACP
CAPD AngThong
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยOzone Thanasak
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
4LIFEYES
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
Utai Sukviwatsirikul
 
ดูแลด้วยศรัทธา Edit รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
ดูแลด้วยศรัทธา Edit  รัชฎาพร 16 ก.พ. 54ดูแลด้วยศรัทธา Edit  รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
ดูแลด้วยศรัทธา Edit รัชฎาพร 16 ก.พ. 54Watcharapong Rintara
 
วิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืน
วิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืนวิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืน
วิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืน
Utai Sukviwatsirikul
 
Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisBow Aya
 
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
Utai Sukviwatsirikul
 
Special dentistry
Special dentistrySpecial dentistry
Special dentistry
Nithimar Or
 
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากงานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากtechno UCH
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 

What's hot (18)

คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปีคู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
คู่มือสำหรับพ่อแม่เพื่อเผยแพร่ความรู้ด้านการดูแลและพัฒนาเด็ก ตอนวัยอนุบาล 3 6 ปี
 
PC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pcPC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pc
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษา
 
Review PMC 2010
Review PMC 2010Review PMC 2010
Review PMC 2010
 
Cpg obesity in children
Cpg obesity in childrenCpg obesity in children
Cpg obesity in children
 
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยาการให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
การให้บริการเภสัชกรรมในร้านยา
 
PC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACPPC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACP
 
การซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วยการซักประวัติการเจ็บป่วย
การซักประวัติการเจ็บป่วย
 
Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555Transfer factor chewable 15.5.2555
Transfer factor chewable 15.5.2555
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
แนวทางการดูแลผู้ป่วยโรคไข้เลือดออกสำหรับครอบครัว
 
ดูแลด้วยศรัทธา Edit รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
ดูแลด้วยศรัทธา Edit  รัชฎาพร 16 ก.พ. 54ดูแลด้วยศรัทธา Edit  รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
ดูแลด้วยศรัทธา Edit รัชฎาพร 16 ก.พ. 54
 
วิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืน
วิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืนวิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืน
วิธีปฏิบัติตนให้มีอายุยืน
 
Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitis
 
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
 
Special dentistry
Special dentistrySpecial dentistry
Special dentistry
 
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปากงานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
งานส่งเสริมทันตสุขภาพและป้องกันโรคช่องปาก
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 

Viewers also liked

Publication_DDe_2009
Publication_DDe_2009Publication_DDe_2009
Publication_DDe_2009DIBYENDU DE
 
Staticcleccollection
StaticcleccollectionStaticcleccollection
Staticcleccollection
tavennerpride
 
Eduketing 2015 Educacion positiva 2.0 - Juan Fernando Bou
Eduketing 2015   Educacion positiva 2.0 - Juan Fernando BouEduketing 2015   Educacion positiva 2.0 - Juan Fernando Bou
Eduketing 2015 Educacion positiva 2.0 - Juan Fernando BouEDUKETING
 
Narendra tomar (test manager)
Narendra tomar (test manager)Narendra tomar (test manager)
Narendra tomar (test manager)
Narendra Tomar
 
Abbott_Eric Resume
Abbott_Eric ResumeAbbott_Eric Resume
Abbott_Eric ResumeEric Abbott
 
Poweringelecatmosdevices
PoweringelecatmosdevicesPoweringelecatmosdevices
Poweringelecatmosdevices
tavennerpride
 
Libros
LibrosLibros
Drogocenny olej z czarnuszki
Drogocenny olej z czarnuszkiDrogocenny olej z czarnuszki
Drogocenny olej z czarnuszki
Oleje i Olejki Naturalne
 
Ilusões e fantasias
Ilusões e fantasiasIlusões e fantasias
Ilusões e fantasias
Luzia Gabriele
 
Ciencias Explicativas
Ciencias ExplicativasCiencias Explicativas
Ciencias Explicativas
Lilianyuri08
 
Addressing mode of 80286 microprocessor
Addressing mode of 80286 microprocessorAddressing mode of 80286 microprocessor
Addressing mode of 80286 microprocessor
pal bhumit
 
Desarrollo social en la adolescencia
Desarrollo social en la adolescenciaDesarrollo social en la adolescencia
Desarrollo social en la adolescencia
KarenMarchena
 
presentacion 2
presentacion 2presentacion 2
presentacion 2liz_metal
 

Viewers also liked (15)

Publication_DDe_2009
Publication_DDe_2009Publication_DDe_2009
Publication_DDe_2009
 
Pea
PeaPea
Pea
 
Staticcleccollection
StaticcleccollectionStaticcleccollection
Staticcleccollection
 
Eduketing 2015 Educacion positiva 2.0 - Juan Fernando Bou
Eduketing 2015   Educacion positiva 2.0 - Juan Fernando BouEduketing 2015   Educacion positiva 2.0 - Juan Fernando Bou
Eduketing 2015 Educacion positiva 2.0 - Juan Fernando Bou
 
Narendra tomar (test manager)
Narendra tomar (test manager)Narendra tomar (test manager)
Narendra tomar (test manager)
 
Hello__We_are_ITS
Hello__We_are_ITSHello__We_are_ITS
Hello__We_are_ITS
 
Abbott_Eric Resume
Abbott_Eric ResumeAbbott_Eric Resume
Abbott_Eric Resume
 
Poweringelecatmosdevices
PoweringelecatmosdevicesPoweringelecatmosdevices
Poweringelecatmosdevices
 
Libros
LibrosLibros
Libros
 
Drogocenny olej z czarnuszki
Drogocenny olej z czarnuszkiDrogocenny olej z czarnuszki
Drogocenny olej z czarnuszki
 
Ilusões e fantasias
Ilusões e fantasiasIlusões e fantasias
Ilusões e fantasias
 
Ciencias Explicativas
Ciencias ExplicativasCiencias Explicativas
Ciencias Explicativas
 
Addressing mode of 80286 microprocessor
Addressing mode of 80286 microprocessorAddressing mode of 80286 microprocessor
Addressing mode of 80286 microprocessor
 
Desarrollo social en la adolescencia
Desarrollo social en la adolescenciaDesarrollo social en la adolescencia
Desarrollo social en la adolescencia
 
presentacion 2
presentacion 2presentacion 2
presentacion 2
 

Similar to PC02 :Assessment in PC

การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ Dr.Ratchaneewan Sinawat Poomsa-ad
 
Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01
Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01
Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01Angkana Chongjarearn
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852
viroonya vindubrahmanakul
 
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทองการจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
Jumpon Utta
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zosterAimmary
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมfainaja
 
Home visit palliative care
 Home visit   palliative care Home visit   palliative care
Home visit palliative care
Ziwapohn Peecharoensap
 
การเตรียมการรับมือหวัด 2009 ในโรงเรียน
การเตรียมการรับมือหวัด 2009 ในโรงเรียนการเตรียมการรับมือหวัด 2009 ในโรงเรียน
การเตรียมการรับมือหวัด 2009 ในโรงเรียนAdisorn Tanprasert
 
ความทุกข์
ความทุกข์ความทุกข์
ความทุกข์kawpod
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยLoveis1able Khumpuangdee
 
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553Nithimar Or
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อpissamaiza Kodsrimoung
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อnuting
 

Similar to PC02 :Assessment in PC (20)

การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ การควบคุมและป้องกันฟันผุ
การควบคุมและป้องกันฟันผุ
 
Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01
Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01
Palliativecaretopic 1311489380-phpapp01-110724013855-phpapp01
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852H1n1 For Safe 040852
H1n1 For Safe 040852
 
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทองการจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
การจัดการตนเองเมื่อเป็นมะเร็ง ดร.ศุภลักษณ์ เข็มทอง
 
Knowledge
KnowledgeKnowledge
Knowledge
 
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อแนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
 
Vis varicella-zoster
Vis varicella-zosterVis varicella-zoster
Vis varicella-zoster
 
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรมโรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
โรคเพรเดอร์ วิลลี่ ซินโดรม
 
Home visit palliative care
 Home visit   palliative care Home visit   palliative care
Home visit palliative care
 
การเตรียมการรับมือหวัด 2009 ในโรงเรียน
การเตรียมการรับมือหวัด 2009 ในโรงเรียนการเตรียมการรับมือหวัด 2009 ในโรงเรียน
การเตรียมการรับมือหวัด 2009 ในโรงเรียน
 
Clu11
Clu11Clu11
Clu11
 
ความทุกข์
ความทุกข์ความทุกข์
ความทุกข์
 
Clu11
Clu11Clu11
Clu11
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
Factsheet hfm
Factsheet hfmFactsheet hfm
Factsheet hfm
 
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อยโรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
โรค มือ ปาก เท้าเปื่อย
 
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
นำเสนอโครงการทันตสุขภาพคนพิการ อ.ป่าบอน จ.พัทลุง ปี 2553
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 

More from CAPD AngThong

การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อการวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
CAPD AngThong
 
การจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pcการจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pc
CAPD AngThong
 
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationPC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
CAPD AngThong
 
PC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative carePC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative care
CAPD AngThong
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptoms
CAPD AngThong
 
PC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative carePC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative care
CAPD AngThong
 
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative carePC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
CAPD AngThong
 
PC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcPC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pc
CAPD AngThong
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1
CAPD AngThong
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
CAPD AngThong
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรัง
CAPD AngThong
 
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
CAPD AngThong
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
CAPD AngThong
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
CAPD AngThong
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
CAPD AngThong
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
CAPD AngThong
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
CAPD AngThong
 
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
CAPD AngThong
 
อ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยีอ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยี
CAPD AngThong
 
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวานภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
CAPD AngThong
 

More from CAPD AngThong (20)

การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อการวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
 
การจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pcการจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pc
 
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationPC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
 
PC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative carePC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative care
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptoms
 
PC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative carePC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative care
 
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative carePC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
 
PC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcPC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pc
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรัง
 
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
 
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
 
อ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยีอ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยี
 
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวานภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
 

PC02 :Assessment in PC

  • 1. 4/25/16     1   รศ.พญ.ศรีเวียง ไพโรจน์กุล ศูนย์การุณรักษ์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น •  เป้าหมายเพื่อป้องกันและปลดเปลื้องความทุกข์ ทรมานทางกาย จิตใจ สังคม และจิตวิญญาณ •  ให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตดีที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ •  เพื่อให้ทราบปัญหาของผู้ป่วยและครอบครัว อย่างรอบด้าน •  ช่วยในวางแผนการดูแลโดยเฉพาะในสภาวะที่ ผู้ป่วยเสื่อมถอยลง •  เป็นการสื่อสาร สร้างสัมพันธ์ ช่วยเหลือ เยียวยา ผู้ป่วยและครอบครัว *Education for Physician on EOL Care เริ่มจากการซักประวัติที่ดี: •  การวินิจฉัยโรคที่เป็นภาวะคุกคามชีวิตของผู้ป่วย และการรักษาที่เคยได้รับ การดำเนินโรค ระยะ โรค แนวทางการรักษา พยากรณ์โรค •  Co-morbids และการรักษา •  การประเมินด้านกายใน PC แตกต่างจากการ ประเมินตามปกติ คือ PC มีการประเมิน สมรรถนะและอาการ มากกว่าการประเมินตาม organ system •  ประเมินอาการ สมรรถนะ ความปลอดภัย สภาวะ โภชนาการ •  การตรวจร่างกายเป็น therapeutic touch ช่วย หาสาเหตุอาการของผู้ป่วย และประเมินความ จำเป็นของการตรวจทางห้องปฏิบัติการ •  Pain •  Weakness/fatigue •  Breathlessness •  Insomnia •  Weight loss •  Confusion •  Constipation, nausea/vomiting •  Anxiety and depression
  • 2. 4/25/16     2   •  อาการทางกายอาจมีสาเหตุจากหลายปัจจัย เช่น จากโรคหลัก จากการรักษาในปัจจุบันหรือใน อดีต หรืออาจจากโรคอื่นหรือโรคร่วมที่มี •  ปัจจัยด้านจิตสังคมและจิตวิญญาณอาจมี บทบาทสำคัญต่ออาการทางกาย •  การประเมินอาการโดยผู้ป่วยเป็นผู้บอกเองเป็น gold standard •  แต่ละอาการ ซักลงในรายละเอียด •  ตำแหน่ง:
 - ปวดที่ไหน ร้าวไปที่ไหนหรือไม่?
 - มีการเปลี่ยนแปลงอย่างไร?
 - ปวดมานานเท่าไร?
 - การเป็นเฉียบพลันหรือค่อยเป็นค่อยไป?
 - เป็นตลอดเวลาหรือเป็นพักๆ? •  ลักษณะการปวด ให้ผู้ป่วยบรรยาย •  ความรุนแรง โดยเฉลี่ย/มากสุด/น้อยสุด ค่าคะแนน? •  อะไรทำให้เป็นมากขึ้นหรือทำให้ดีขึ้น? •  รักษาอย่างไร ผลการรักษา? ดีขึ้นหรือไม่? •  ผลกระทบต่อของผู้ป่วย สมรรถนะ กิจกรรม การนอน •  ผู้ป่วยเข้าใจอย่างไร อะไรเป็นสาเหตุ ความหมาย เป็นแบบประเมินระดับ สมรรถนะผู้ป่วยระยะท้าย มีระดับตั้งแต่ 0-100% วัตถุประสงค์ •  สื่อสารให้เห็นสมรรถนะ ของผู้ป่วยและพยากรณ์ ระยะเวลาที่เหลือ •  ช่วยประกอบการตัดสินใจ ในการดำเนินการต่างๆ PPS % Survival time (days) Mean (95%CI) 10 3 (1,5) อ่อนล้ามาก กลืนลำบาก 30 20 (16,24) นอนติดเตียง ต้องช่วยเหลือ ทุกอย่าง 50 76 (64,88) 60 92 (80,105) นั่งนอน >50% ของวัน Lau, Downing et al. J Pain Symp Manage. 2009 . PPS % การ เคลื่อนไหว การปฏิบัติกิจกรรมและ การปรากฏของโรคให้เห็น การดูแล ตนเอง การรับประทาน ระดับความรู้สึกตัว 100 ปกติ ทำกิจกรรมและทำงานได้ปกติ ไม่ปรากฏอาการของโรค ปกติ ปกติ รู้สึกตัวดี 90 ปกติ ทำกิจกรรมและทำงานได้ปกติ โรคเริ่มปรากฏให้เห็น ปกติ ปกติ รู้สึกตัวดี 80 ปกติ ต้องใช้ความพยายามในการทำ กิจกรรมตามปกติ โรคเริ่มปรากฏให้เห็น ปกติ ปกติหรือ ลดลง รู้สึกตัวดี 70 ลดลง ไม่สามารถทำกิจกรรมและทำงานได้ ตามปกติ โรคปรากฏให้เห็นชัดเจน ปกติ ปกติหรือลดลง รู้สึกตัวดี 60 ลดลง ไม่สามารถทำงานอดิเรก/งานบ้าน โรคปรากฏให้เห็นชัดเจน ต้องช่วยเหลือ เป็นครั้งคราว ปกติหรือ ลดลง รู้สึกตัวดีหรือสับสน 50 นั่ง/นอนเป็น ส่วนใหญ่ ไม่สามารถทำงานได้เลย โรคมีการลุกลามมาก ต้องช่วยเหลือ มากขึ้น ปกติหรือ ลดลง รู้สึกตัวดีหรือสับสน 40 อยู่บนเตียง เป็นส่วนใหญ่ ไม่สามารถทำกิจกรรมส่วนใหญ่ได้ โรคมีการลุกลามมาก ต้องช่วยเหลือ เป็นส่วนใหญ่ ปกติ หรือ ลดลง รู้สึกตัวดีหรือง่วงซึม +/- สับสน 30 อยู่บนเตียง ตลอดเวลา ไม่สามารถทำกิจกรรมใดๆ โรคมีการลุกลามมาก ต้องช่วยเหลือ ทุกอย่าง ปกติหรือ ลดลง รู้สึกตัวดีหรือง่วงซึม +/- สับสน 20 อยู่บนเตียง ตลอดเวลา ไม่สามารถทำกิจกรรมใดๆ โรคมีการลุกลามมาก ต้องช่วยเหลือ ทุกอย่าง จิบน้ำได้ เล็กน้อย รู้สึกตัวดีหรือง่วงซึม +/- สับสน 10 อยู่บนเตียง ตลอดเวลา ไม่สามารถทำกิจกรรมใดๆ โรคมีการลุกลามมาก ต้องช่วยเหลือ ทุกอย่าง ทำความสะอาด ปากเท่านั้น ง่วงซึมหรือไม่รู้สึกตัว +/- สับสน 0 เสียชีวิต - - - - Case ที่ 1. ผู้ป่วยมะเร็งต่อมลูกหมาก มีการกระจายไปที่กระดูก ใช้เวลาแต่ละวันนั่งหรือนอนอยู่บนเตียงเนื่องจากอ่อนเพลีย ต้องประคองเวลาเดินถึงแม้จะเดินในระยะสั้นๆ ล้างหน้าแปรง ฟันได้เอง พูดคุยสื่อสารได้ รับประทานอาหารได้ปกติ PP S % การ เคลื่อนไหว การปฏิบัติกิจกรรมและ การปรากฏของโรคให้เห็น การดูแล ตนเอง การรับ ประทาน ระดับความรู้สึก ตัว 100 ปกติ ทำกิจกรรมและทำงานได้ปกติ ไม่ปรากฏอาการของโรค ปกติ ปกติ รู้สึกตัวดี 90 ปกติ ทำกิจกรรมและทำงานได้ปกติ โรคเริ่มปรากฏให้เห็น ปกติ ปกติ รู้สึกตัวดี 80 ปกติ ต้องใช้ความพยายามในการทำ กิจกรรมตามปกติ โรคเริ่มปรากฏให้เห็น ปกติ ปกติหรือ ลดลง รู้สึกตัวดี 70 ลดลง ไม่สามารถทำกิจกรรมและทำงานได้ ตามปกติ โรคปรากฏให้เห็นชัดเจน ปกติ ปกติหรือลด ลง รู้สึกตัวดี 60 ลดลง ไม่สามารถทำงานอดิเรก/งานบ้าน โรคปรากฏให้เห็นชัดเจน ต้องช่วยเหลือ เป็นครั้งคราว ปกติหรือ ลดลง รู้สึกตัวดีหรือ สับสน 50 นั่ง/นอนเป็น ส่วนใหญ่ ไม่สามารถทำงานได้เลย โรคมีการลุกลามมาก ต้องช่วยเหลือ มากขึ้น ปกติหรือ ลดลง รู้สึกตัวดีหรือ สับสน
  • 3. 4/25/16     3   Case ที่ 2.ผู้ป่วย CA liver ระยะแพร่กระจายนอนติดเตียงไม่ สามารถทำกิจกรรมใดใดได้ รับประทานอาหารได้น้อยลง ต้องช่วยเหลือในการทำกิจกรรมเช่น เช็ดตัว อาบน้ำบน เตียง บางครั้งมีเพ้อ สับสน PP S % การ เคลื่อนไหว การปฏิบัติกิจกรรมและ การปรากฏของโรคให้เห็น การดูแล ตนเอง การรับ ประทาน ระดับความรู้สึก ตัว 50 นั่ง/นอนเป็น ส่วนใหญ่ ไม่สามารถทำงานได้เลย โรคมีการลุกลามมาก ต้องช่วย เหลือมากขึ้น ปกติหรือ ลดลง รู้สึกตัวดีหรือสับสน 40 อยู่บนเตียง เป็นส่วน ใหญ่ ไม่สามารถทำกิจกรรมส่วนใหญ่ ได้ โรคมีการลุกลามมาก ต้องช่วย เหลือเป็นส่วน ใหญ่ ปกติ หรือ ลดลง รู้สึกตัวดีหรือง่วงซึม +/- สับสน 30 อยู่บนเตียง ตลอดเวลา ไม่สามารถทำกิจกรรมใดๆ โรคมีการลุกลามมาก ต้องช่วย เหลือทุกอย่าง ปกติหรือ ลดลง รู้สึกตัวดีหรือง่วงซึม +/- สับสน 20 อยู่บนเตียง ตลอดเวลา ไม่สามารถทำกิจกรรมใดๆ โรคมีการลุกลามมาก ต้องช่วย เหลือทุกอย่าง จิบน้ำได้ เล็กน้อย รู้สึกตัวดีหรือง่วงซึม +/- สับสน 10 อยู่บนเตียง ตลอดเวลา ไม่สามารถทำกิจกรรมใดๆ โรคมีการลุกลามมาก ต้องช่วย เหลือทุกอย่าง ทำความสะอาด ปากเท่านั้น ง่วงซึมหรือไม่รู้สึก ตัว +/- สับสน Case ที่ 3 ผู้ป่วย CA Breast ได้รับการวินิจฉัยว่ามีแพร่ กระจายไปที่ตับและปอด นอนติดเตียงไม่สามารถทำกิจกร รมใดๆได้ รับประทานอาหารและน้ำไม่ได้ ( บ้วนปากได้ เท่านั้น) มีอาการเพ้อสับสน PP S % การ เคลื่อนไหว การปฏิบัติกิจกรรมและ การปรากฏของโรคให้เห็น การดูแล ตนเอง การรับ ประทาน ระดับความรู้สึก ตัว 40 อยู่บนเตียง เป็นส่วน ใหญ่ ไม่สามารถทำกิจกรรมส่วนใหญ่ ได้ โรคมีการลุกลามมาก ต้องช่วย เหลือเป็นส่วน ใหญ่ ปกติ หรือ ลดลง รู้สึกตัวดีหรือง่วงซึม +/- สับสน 30 อยู่บนเตียง ตลอดเวลา ไม่สามารถทำกิจกรรมใดๆ โรคมีการลุกลามมาก ต้องช่วย เหลือทุกอย่าง ปกติหรือ ลดลง รู้สึกตัวดีหรือง่วงซึม +/- สับสน 20 อยู่บนเตียง ตลอดเวลา ไม่สามารถทำกิจกรรมใดๆ โรคมีการลุกลามมาก ต้องช่วย เหลือทุกอย่าง จิบน้ำได้ เล็กน้อย รู้สึกตัวดีหรือง่วงซึม +/- สับสน 10 อยู่บนเตียง ตลอดเวลา ไม่สามารถทำกิจกรรมใดๆ โรคมีการลุกลามมาก ต้องช่วย เหลือทุกอย่าง ทำความสะอาด ปากเท่านั้น ง่วงซึมหรือไม่รู้สึก ตัว +/- สับสน 0 เสียชีวิต - - - - •  ประเมินอารมณ์ การรับรู้ การเผชิญปัญหา ความ กลัว และปัญหาที่ผู้ป่วยยังค้างคาใจ •  ตรวจกรองว่ามีภาวะวิตกกังวลหรือภาวะซึมเศร้า หรือไม่ รวมถึงภาวะสับสน (delirium) •  ในผู้ป่วยบางรายอาจต้องใช้แบบคัดกรองช่วยใน การวินิจฉัย ประเมินความสามารถในการตัดสินใจ •  ความสามารถในการตัดสินใจ •  กรณีไม่สามารถตัดสินใจเองได้ ให้ประเมินความ ต้องการที่ผู้ป่วยเคยบอกไว้ หรือมีผู้ตัดสินใจแทน •  ประเมินเป้าหมายการดูแลที่ผู้ป่วยต้องการ •  การทำ advance care plan และ advance directives และการกำหนดผู้ตัดสินใจแทน ประเมินการรับรู้ความต้องการด้านข้อมูลของผู้ป่วย •  ผู้ป่วยต้องการรับรู้ข้อมูลเพียงใด จะสื่อสารด้วยวิธีใด •  รับรู้ว่าใครมีส่วนร่วมในการรับรู้/ปกปิดข้อมูล •  ประเมินสภาวะแวดล้อม ครอบครัว •  การงาน •  สภาวะเศรษฐกิจ และปัญหาด้านกฏหมาย •  ประเมินความต้องการของผู้ป่วยและผู้ดูแล •  ประเมินความหมายของการเจ็บป่วย คุณค่าของ ชีวิต ซึ่งมีผลต่อความรู้สึกในการดำรงค์ชีวิตต่อ ของผู้ป่วย •  เข้าใจอิทธิพลของความเชื่อและศาสนาที่มีต่อ ชีวิตผู้ป่วย •  การปฏิบัติตน หรือการทำพิธีกรรมตามความเชื่อ •  การเผชิญกับความเจ็บป่วย และความตาย •  เป้าหมายชีวิต ภาระกิจที่ยังค้างคา
  • 4. 4/25/16     4   •  ประเมินความต้องการด้านการพยาบาลดูแล •  อุปกรณ์สิ่งของที่จำเป็นต้องใช้ที่บ้าน •  การดูแลเด็กและผู้พึ่งพิงในครอบครัวผู้ป่วย •  รู้ว่าใครเป็นผู้ดูแลหลัก ประเมินความสามารถใน การดูแล ความต้องการของผู้ดูแล •  ประเมินการเตรียมตัวกับการเผชิญการสูญเสียที่ กำลังจะเกิดขึ้น •  การเตรียมตัวและการวางแผนกับความตายที่จะ มาถึงของผู้ป่วยและครอบครัว 12 10 6 5 3 2 67 เป็น DM ได้รับการ ตัดขา แม่บ้าน ขับรถ บรรทุก ช่าง เสริมสวยช่วยดูแล เด็ก สุดใจ แดงสุรเดชครู ละมัย •  ประสบการณ์ความเจ็บป่วยของผู้ป่วยมีหลายมิติ และเป็นปัจเจก •  การให้การดูแลที่มีประสิทธิภาพ อาศัยการ ประเมินผู้ป่วยทั้งตัวตนและอย่างรอบด้าน