SlideShare a Scribd company logo
4/25/16	
  	
  
1	
  
รศ.พญ.ศรีเวียง ไพโรจน์กุล
ศูนย์การุณรักษ์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
•  กลุ่มประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น
•  การเปลี่ยนแปลงของสภาวะโรค
•  ผู้สูงอายุมีโรคร่วมเรื้อรังหลายโรค 

(Multiple co-morbids)
•  ภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ
•  ภาระด้านผู้ดูแล
Thai	
  Health	
  Profile	
  2010	
  
WHO 2012
The Needs of Older People 

at the End of Life
4/25/16	
  	
  
2	
  
•  มีปัญหาหลายโรค
•  แต่ละโรคมีผลร่วมกันมากกว่าการเป็นโรคใดโรค
หนึ่ง
•  มีปัญหา adverse drug reactions
•  การเจ็บป่วยอย่างเฉียบพลันแต่ละครั้งมีผลทำให้
สมรรถนะของผู้สูงอายุทรุดลง ทำให้ต้องพึ่งพิง แยก
ตัว รู้สึกโดดเดี่ยว
•  ปัญหาด้านจิตใจจากการเจ็บป่วย
•  มีการเปลี่ยนแปลงของความรู้สึกตัวเฉียบพลันได้
•  การประเมินอาการอาจทำได้ลำบาก
•  อาการแสดงบางครั้งไม่แน่ชัด
•  มีการเสื่อมถอยของสมรรถนะได้
•  มีโอกาสพลัดตกหกล้ม
•  เกิดภาวะขาดน้ำได้ง่าย
•  มักพบมีภาวะเบื่ออาหาร
•  อาการจากผลข้างเคียงของยาอาจไม่เหมือนที่พบ
ทั่วไป
Amella, JHPN, 2003.
ผู้สูงอายุ > 80 ปี
•  ความชุกของโรคมะเร็งพบลดลง
•  ความชุกของ dementia พบมากขึ้น (44%)
•  พยากรณ์โรคหลากหลาย การดำเนินโรคทำนาย
ลำบาก
•  มีการตัดสินใจยับยั้ง/ถอดถอนการพยุงชีพบ่อย
•  การสื่อสารส่วนใหญ่ผ่านครอบครัว
•  มักไม่ได้รับการดูแลจัดการอาการที่ดี
Evers MM, et al. JPSM, 2002.
•  ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ต้องการรับรู้โรคและไม่ต้องการ
ความทุกข์ทรมาน
•  ร้อยละ 75 ไม่ต้องการการรักษาที่ “ยืดชีวิต” ถ้า
โอกาสประสบผลสำเร็จมีน้อย
อายุ <70 ปี OR 9.88 

การศึกษา < 6 ปี OR 3.15
•  ร้อยละ 56 ไม่ต้องการเสียชีวิตที่บ้าน

อายุ <70 ปี OR 2.8
Srinonprasert V, et al. J Med Assoc Thai, 2014
•  ประเมินอาการลำบากจากปัญหาการสื่อสาร โดย
เฉพาะการประเมินความปวด
•  ขาดการได้รับข้อมูลที่เพียงพอและขาดการมีส่วน
ร่วมในการตัดสินใจ
•  ขาดสถานที่ดูแล
•  ขาดการเข้าถึงแพทย์ดูแลเฉพาะทาง
•  ขาดการบริการเยี่ยมบ้าน
•  ขาดการดูแลแบบ palliative care เมื่อเข้าสู่ระยะ
ท้ายของชีวิต
WHO, Better palliative care for older people
เป้าหมายร่วมกัน:
ควบคุมการใช้ชีวิตด้วยตนเอง
ปลดเปลื้องความทุกข์ทรมาน
ดูแลแบบองค์รวม เพิ่มคุณภาพชีวิต ควบคุมอาการ
การประสาน/ทำงานเป็นทีม
4/25/16	
  	
  
3	
  
Disease-independent markers:
•  ภาวะแก่หง่อม
•  สมรรถนะระดับที่ต้องพึ่งพิง
•  มีการรับรู้สูญเสีย
•  มีอาการไม่สุขสบาย
•  ครอบครัวต้องการการประคับประคอง
Disease-specific markers:
•  มีอาการ congestive heart failure
•  Chronic lung disease
•  Stroke
•  Cancer
•  Dementia
•  ติดเชื้อซ้ำซ้อน
•  ข้อเสื่อมทำให้ปวดเรื้อรัง สมรรถนะเสื่อมถอย
Gatto M. Evidence-based Geriatric Nursing Protocols for Best Practice, 4th Ed.
นาง ค. อายุ 81 ปี มี
CHF, osteoarthritis
มีอาการหลงลืม 

มี fracture hip จาก
การหกล้มเมื่อ 3
เดือนก่อน เดินไม่ได้
ใช้รถเข็น และต้องมี
ผู้ดูแลตลอดเวลา
Cancer
Organ failure
Frailty/Dementia
•  ติดตามน้ำหนักและ VS
•  ฉีดวัคซีนกันไข้หวัดใหญ่
•  การให้ ASA ในผู้ที่มี
โอกาสเกิดโรคหลอดเลือด
หัวใจ
•  การใช้เครื่องช่วยฟังหรือ
แว่นช่วยการมองเห็น
•  ระวังการถูกทำร้ายหรือ
ละเลยทอดทิ้ง
•  ประเมิน ADL เป็นระยะเพื่อ
ให้ความช่วยเหลือ
•  ติดตามระดับน้ำตาลใน
เลือดถ้าเป็น DM
•  ตรวจกรองการรับรู้และ
ภาวะซึมเศร้า
•  ประเมินความปวด
•  ทบทวนยาที่ใช้
•  ทำ advance directives
•  ให้การสนับสนุน
ครอบครัว
Amella EJ, Medscape.com, 2003 Mitchell SL, et al. N Engl J Med 2009.
Dyspnea 	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  Pain Pressure
ulcer Aspiration Agitation
•  พบความชุกร้อยละ 20 - 45 

(AGS, J Am Geriatr Soc 2002)
•  อาจก่อให้เกิดอาการซึมเศร้า การแยกตัว นอน
ไม่หลับ ปัญหาการเคลื่อนไหว และการเสื่อมของ
สมรรถนะ
•  ความปวดที่ไม่ได้รับการจัดการพบร้อยละ 25
ในสถานดูแลผู้สูงอายุ (Won, J Am Geriatr Soc 1999)
4/25/16	
  	
  
4	
  
•  การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา เช่น 

สมรรถนะของไตเสื่อมถอย 

การเปลี่ยนแปลงของ body fat distribution

การเปลี่ยนแปลงของ hepatic metabolism 

ทำให้ระดับยาสูงกว่าปกติมีโอกาสเกิดอันตราย
หรือผลข้างเคียงจากยาสูง
•  ตัวอย่างเช่น การใช้ยา cyclooxygenase-2
(COX-2) inhibitors อาจทำให้เกิดภาวะ
แทรกซ้อนที่รุนแรงต่อระบบหัวใจและหลอด
เลือดได้
•  ไม่มี specific guidelines ในขนาดหรือการปรับ
ยาในผู้สูงอายุ แต่แนะนำให้เริ่มในขนาดน้อยๆ
ติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด และปรับขนาดขึ้น
อย่างช้าๆ
•  ผลข้างเคียงของ Tricyclic antidepressants (TCAs) 

- Cardiotoxicity ไม่ควรใช้ในผู้ที่มี
prolonged Q-T intervals หรือ
bundle branch blocks

- Orthostasis

- Sedation, confusion

- Urinary retention

- Exacerbation of narrow-angle glaucoma
•  จำกัดการใช้ในผู้สูงอายุ
•  นิยมใช้ SSRIs.
•  Acquired syndrome
•  พบได้ร้อยละ 6-12 ของประชากรอายุ >65 ปี
•  มีการเลวลงของ cognitive abilities และ
สมรรถนะ
•  มักรุนแรงและรบกวนต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน
Lussier D, Prim Care Clin Office Pract, 2011.
•  Alzheimer’s disease พบร้อยละ 50-70
•  Cerebrovascular disease (multiinfarct,
stroke)
•  Normal-pressure hydrocephalus
•  Parkinson’s disease
•  Traumatic brain injury
4/25/16	
  	
  
5	
  
0	
  	
  	
  	
  	
  	
  1	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  2	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  3	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  4	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  5	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  6	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  7	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  8	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  	
  9	
  	
  	
  	
  yrs	
  	
  	
  
Cognitive symptoms
Loss of dependence
Behavior problems
NH placement
30
25
20
15
10
5
MMSE
Alzheimer’s disease progression
Increasing
disease severity
Feldman, et al. Clinical Diagnosis and Management of AD. 1999
•  การดำเนินโรคใช้ระยะเวลานานหลายปี
•  สมรรถนะของร่างกายเสื่อมถอยลงเรื่อยๆหลัง
การวินิจฉัย
•  และเสื่อมถอยมากขึ้นเมื่อโรคอยู่ในระยะรุนแรง
•  ภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันที่เกิดขึ้นเป็นระยะจะ
เร่งให้โรครุนแรงขึ้น
•  ระยะท้ายของโรคกินเวลานานและพยากรณ์โรค
ลำบาก
•  การวางแผนการดูแลล่วงหน้า (advanced care
planning) เป็นสิ่งที่มีความสำคัญและควรกระตุ้นให้
ผู้ป่วยทำเมื่อได้รับการวินิจฉัยเป็น dementia
•  ในระยะ early dementia ควรมีการพูดคุยเรื่องการ
หลีกเลี่ยงการให้อาหารทางสายยางเมื่อผู้สูงอายุเริ่ม
กลืนลำบาก
•  เป้าหมายการดูแล (goal of care) ในระยะ
advance dementia ควรหลีกเลี่ยงการพยุงชีพแต่
ควรเลือกการดูแลให้สุขสบาย
•  ครอบครัวผู้ป่วยที่รับรู้พยากรณ์โรคอย่างถ่องแท้ของ
มักหลีกเลี่ยงการรักษาที่ก่อให้เกิดความไม่สุขสบาย
Titilayo O, et al. Predicting Survival From In-Hospital CPR.
Clinical Geriatrics (http://www.clinicalgeriatrics.com). 2009
Dysphagia
Malnutrition
Increased
survival
Pressure
sore
Increased
functional
status
Increased post-op
complications & discomfort
Withholding feeding tubes
is often recommended
•  Life support: ET, mechanical ventilation,
inotropic drugs, renal dialysis, 

ICU admission, antibiotics
•  CPR
•  Feeding
•  Hydration
•  Acute care hospitalization
•  Treatment of acute problems
•  Treatment of chronic diseases
บทบาทพยาบาลในการดูแลผู้สูงอายุระยะท้าย
มองเห็นคุณค่าและความ
ต้องการของผู้สูงอายุ
ทำ advance care plan
และ advance directive
เพิ่มพูนสมรรถนะและ
ความสุขสบาย
ประเมินอาการ/จัดการ
อย่างมีประสิทธิภาพ
กระตุ้นให้มีการสื่อสาร
พูดคุยอย่างมีส่วนร่วม
ทำประชุมครอบครัว ทราบ
แผนการดูแลร่วมกัน
ให้การดูแลแบบองค์รวม
โดยทีมสหสาขา
ทำแผนดูแล/แผนจำหน่าย
ติดตามต่อเนื่อง ส่งต่อ
ให้มีโอกาสทำตามความ
ประสงค์ในวาระสุดท้าย
เคารพในศักดิ์ศรี ตอบ
สนองความต้องการ
4/25/16	
  	
  
6	
  

More Related Content

What's hot

ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการรักษาทางจิตเวช
คู่มือการรักษาทางจิตเวช คู่มือการรักษาทางจิตเวช
คู่มือการรักษาทางจิตเวช
Utai Sukviwatsirikul
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555Rachanont Hiranwong
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
Utai Sukviwatsirikul
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
CAPD AngThong
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
โรงพยาบาลสารภี
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็ก
Ozone Thanasak
 
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้านเลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
Ziwapohn Peecharoensap
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
Pa'rig Prig
 
Aerius drug monograph
Aerius drug monograph Aerius drug monograph
Aerius drug monograph
Utai Sukviwatsirikul
 
Diuretics drugs
 Diuretics drugs Diuretics drugs
Diuretics drugs
Sirinoot Jantharangkul
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
Sirinoot Jantharangkul
 
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงบทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
Pa'rig Prig
 
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014 หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
Utai Sukviwatsirikul
 
Nsaids
NsaidsNsaids

What's hot (18)

ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชนคู่มือยาจิตเวชชุมชน
คู่มือยาจิตเวชชุมชน
 
คู่มือการรักษาทางจิตเวช
คู่มือการรักษาทางจิตเวช คู่มือการรักษาทางจิตเวช
คู่มือการรักษาทางจิตเวช
 
ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555ยาเข้าใหม่ 2555
ยาเข้าใหม่ 2555
 
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)คู่มือการจ่ายยาเด็ก  (Drugs in Pediatrics)
คู่มือการจ่ายยาเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็ก
 
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้านเลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
เลิกบุหรี่ในเคสเยี่ยมบ้าน
 
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวานบทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
บทที่ 4 ยารักษาโรคเบาหวาน
 
Aerius drug monograph
Aerius drug monograph Aerius drug monograph
Aerius drug monograph
 
Diuretics drugs
 Diuretics drugs Diuretics drugs
Diuretics drugs
 
Symptoms management2
Symptoms management2Symptoms management2
Symptoms management2
 
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุการใช้ยาในผู้สูงอายุ
การใช้ยาในผู้สูงอายุ
 
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูงบทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
บทที่ 5 ยารักษาโรคความดันโลหิตสูง
 
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014 หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก  principle-of-pediatic-care-2014
หลักการเภสัชกรรมบําบัดในเด็ก principle-of-pediatic-care-2014
 
Insulin
InsulinInsulin
Insulin
 
Nsaids
NsaidsNsaids
Nsaids
 

Similar to PC 07 :Geriatric palliative care

Palliatve session on the Palliative care.pdf
Palliatve session on the Palliative care.pdfPalliatve session on the Palliative care.pdf
Palliatve session on the Palliative care.pdf
eightswot
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Krongdai Unhasuta
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Krongdai Unhasuta
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Krongdai Unhasuta
 
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่ CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
Thorsang Chayovan
 
PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care
CAPD AngThong
 
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงงานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงappcheeze
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
Tuang Thidarat Apinya
 
Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
Kamol Khositrangsikun
 
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์Utai Sukviwatsirikul
 
Lifestyle and musculoskeletal diseases in children
Lifestyle and musculoskeletal diseases in childrenLifestyle and musculoskeletal diseases in children
Lifestyle and musculoskeletal diseases in children
Thira Woratanarat
 
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงMetabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Utai Sukviwatsirikul
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก
Utai Sukviwatsirikul
 
Diabetic mellitus 02
Diabetic mellitus 02Diabetic mellitus 02
Diabetic mellitus 02vora kun
 
Psychiatric Emergency
Psychiatric EmergencyPsychiatric Emergency
Psychiatric Emergency
Narenthorn EMS Center
 

Similar to PC 07 :Geriatric palliative care (20)

Palliatve session on the Palliative care.pdf
Palliatve session on the Palliative care.pdfPalliatve session on the Palliative care.pdf
Palliatve session on the Palliative care.pdf
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
 
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่ CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
CPG มะเร็งเม็ดเลือดขาวและต่อมน้ำเหลืองในผู้ใหญ่
 
PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care
 
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูงงานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
งานสุขะ เรื่อง ความดันโลหิตสูง
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาโรคไต
 
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไตแนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
แนวทางการตรวจคัดกรองและดูแลรักษาภาวะแทรกซ้อนทางไต
 
Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
 
Diabetes
DiabetesDiabetes
Diabetes
 
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
ความรู้พื้นฐานเรื่องโรคเบาหวาน โดย พ.ญ. พรรณทิพย์ ตันติวงษ์
 
Lifestyle and musculoskeletal diseases in children
Lifestyle and musculoskeletal diseases in childrenLifestyle and musculoskeletal diseases in children
Lifestyle and musculoskeletal diseases in children
 
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
 
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงMetabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก
 
Diabetic mellitus 02
Diabetic mellitus 02Diabetic mellitus 02
Diabetic mellitus 02
 
ปานรภา
ปานรภาปานรภา
ปานรภา
 
Psychiatric Emergency
Psychiatric EmergencyPsychiatric Emergency
Psychiatric Emergency
 

More from CAPD AngThong

การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อการวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
CAPD AngThong
 
การจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pcการจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pc
CAPD AngThong
 
PC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACPPC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACP
CAPD AngThong
 
PC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifePC10:Last hours of life
PC10:Last hours of life
CAPD AngThong
 
PC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pcPC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pc
CAPD AngThong
 
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationPC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
CAPD AngThong
 
PC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative carePC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative care
CAPD AngThong
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PC
CAPD AngThong
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1
CAPD AngThong
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
CAPD AngThong
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรัง
CAPD AngThong
 
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
CAPD AngThong
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
CAPD AngThong
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
CAPD AngThong
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
CAPD AngThong
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
CAPD AngThong
 
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
CAPD AngThong
 
อ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยีอ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยี
CAPD AngThong
 
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวานภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
CAPD AngThong
 
Module 5 ntr dm htn ckd final
Module 5 ntr dm  htn ckd  finalModule 5 ntr dm  htn ckd  final
Module 5 ntr dm htn ckd final
CAPD AngThong
 

More from CAPD AngThong (20)

การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อการวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
 
การจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pcการจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pc
 
PC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACPPC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACP
 
PC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifePC10:Last hours of life
PC10:Last hours of life
 
PC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pcPC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pc
 
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationPC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
 
PC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative carePC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative care
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PC
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรัง
 
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
 
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
 
อ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยีอ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยี
 
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวานภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
ภาวะแทรกซ้อนทางไตในผู้ป่วยเบาหวาน
 
Module 5 ntr dm htn ckd final
Module 5 ntr dm  htn ckd  finalModule 5 ntr dm  htn ckd  final
Module 5 ntr dm htn ckd final
 

PC 07 :Geriatric palliative care

  • 1. 4/25/16     1   รศ.พญ.ศรีเวียง ไพโรจน์กุล ศูนย์การุณรักษ์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น •  กลุ่มประชากรผู้สูงอายุเพิ่มขึ้น •  การเปลี่ยนแปลงของสภาวะโรค •  ผู้สูงอายุมีโรคร่วมเรื้อรังหลายโรค 
 (Multiple co-morbids) •  ภาระค่าใช้จ่ายด้านสุขภาพ •  ภาระด้านผู้ดูแล Thai  Health  Profile  2010   WHO 2012 The Needs of Older People 
 at the End of Life
  • 2. 4/25/16     2   •  มีปัญหาหลายโรค •  แต่ละโรคมีผลร่วมกันมากกว่าการเป็นโรคใดโรค หนึ่ง •  มีปัญหา adverse drug reactions •  การเจ็บป่วยอย่างเฉียบพลันแต่ละครั้งมีผลทำให้ สมรรถนะของผู้สูงอายุทรุดลง ทำให้ต้องพึ่งพิง แยก ตัว รู้สึกโดดเดี่ยว •  ปัญหาด้านจิตใจจากการเจ็บป่วย •  มีการเปลี่ยนแปลงของความรู้สึกตัวเฉียบพลันได้ •  การประเมินอาการอาจทำได้ลำบาก •  อาการแสดงบางครั้งไม่แน่ชัด •  มีการเสื่อมถอยของสมรรถนะได้ •  มีโอกาสพลัดตกหกล้ม •  เกิดภาวะขาดน้ำได้ง่าย •  มักพบมีภาวะเบื่ออาหาร •  อาการจากผลข้างเคียงของยาอาจไม่เหมือนที่พบ ทั่วไป Amella, JHPN, 2003. ผู้สูงอายุ > 80 ปี •  ความชุกของโรคมะเร็งพบลดลง •  ความชุกของ dementia พบมากขึ้น (44%) •  พยากรณ์โรคหลากหลาย การดำเนินโรคทำนาย ลำบาก •  มีการตัดสินใจยับยั้ง/ถอดถอนการพยุงชีพบ่อย •  การสื่อสารส่วนใหญ่ผ่านครอบครัว •  มักไม่ได้รับการดูแลจัดการอาการที่ดี Evers MM, et al. JPSM, 2002. •  ผู้สูงอายุส่วนใหญ่ต้องการรับรู้โรคและไม่ต้องการ ความทุกข์ทรมาน •  ร้อยละ 75 ไม่ต้องการการรักษาที่ “ยืดชีวิต” ถ้า โอกาสประสบผลสำเร็จมีน้อย อายุ <70 ปี OR 9.88 
 การศึกษา < 6 ปี OR 3.15 •  ร้อยละ 56 ไม่ต้องการเสียชีวิตที่บ้าน
 อายุ <70 ปี OR 2.8 Srinonprasert V, et al. J Med Assoc Thai, 2014 •  ประเมินอาการลำบากจากปัญหาการสื่อสาร โดย เฉพาะการประเมินความปวด •  ขาดการได้รับข้อมูลที่เพียงพอและขาดการมีส่วน ร่วมในการตัดสินใจ •  ขาดสถานที่ดูแล •  ขาดการเข้าถึงแพทย์ดูแลเฉพาะทาง •  ขาดการบริการเยี่ยมบ้าน •  ขาดการดูแลแบบ palliative care เมื่อเข้าสู่ระยะ ท้ายของชีวิต WHO, Better palliative care for older people เป้าหมายร่วมกัน: ควบคุมการใช้ชีวิตด้วยตนเอง ปลดเปลื้องความทุกข์ทรมาน ดูแลแบบองค์รวม เพิ่มคุณภาพชีวิต ควบคุมอาการ การประสาน/ทำงานเป็นทีม
  • 3. 4/25/16     3   Disease-independent markers: •  ภาวะแก่หง่อม •  สมรรถนะระดับที่ต้องพึ่งพิง •  มีการรับรู้สูญเสีย •  มีอาการไม่สุขสบาย •  ครอบครัวต้องการการประคับประคอง Disease-specific markers: •  มีอาการ congestive heart failure •  Chronic lung disease •  Stroke •  Cancer •  Dementia •  ติดเชื้อซ้ำซ้อน •  ข้อเสื่อมทำให้ปวดเรื้อรัง สมรรถนะเสื่อมถอย Gatto M. Evidence-based Geriatric Nursing Protocols for Best Practice, 4th Ed. นาง ค. อายุ 81 ปี มี CHF, osteoarthritis มีอาการหลงลืม 
 มี fracture hip จาก การหกล้มเมื่อ 3 เดือนก่อน เดินไม่ได้ ใช้รถเข็น และต้องมี ผู้ดูแลตลอดเวลา Cancer Organ failure Frailty/Dementia •  ติดตามน้ำหนักและ VS •  ฉีดวัคซีนกันไข้หวัดใหญ่ •  การให้ ASA ในผู้ที่มี โอกาสเกิดโรคหลอดเลือด หัวใจ •  การใช้เครื่องช่วยฟังหรือ แว่นช่วยการมองเห็น •  ระวังการถูกทำร้ายหรือ ละเลยทอดทิ้ง •  ประเมิน ADL เป็นระยะเพื่อ ให้ความช่วยเหลือ •  ติดตามระดับน้ำตาลใน เลือดถ้าเป็น DM •  ตรวจกรองการรับรู้และ ภาวะซึมเศร้า •  ประเมินความปวด •  ทบทวนยาที่ใช้ •  ทำ advance directives •  ให้การสนับสนุน ครอบครัว Amella EJ, Medscape.com, 2003 Mitchell SL, et al. N Engl J Med 2009. Dyspnea                                  Pain Pressure ulcer Aspiration Agitation •  พบความชุกร้อยละ 20 - 45 
 (AGS, J Am Geriatr Soc 2002) •  อาจก่อให้เกิดอาการซึมเศร้า การแยกตัว นอน ไม่หลับ ปัญหาการเคลื่อนไหว และการเสื่อมของ สมรรถนะ •  ความปวดที่ไม่ได้รับการจัดการพบร้อยละ 25 ในสถานดูแลผู้สูงอายุ (Won, J Am Geriatr Soc 1999)
  • 4. 4/25/16     4   •  การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา เช่น 
 สมรรถนะของไตเสื่อมถอย 
 การเปลี่ยนแปลงของ body fat distribution
 การเปลี่ยนแปลงของ hepatic metabolism 
 ทำให้ระดับยาสูงกว่าปกติมีโอกาสเกิดอันตราย หรือผลข้างเคียงจากยาสูง •  ตัวอย่างเช่น การใช้ยา cyclooxygenase-2 (COX-2) inhibitors อาจทำให้เกิดภาวะ แทรกซ้อนที่รุนแรงต่อระบบหัวใจและหลอด เลือดได้ •  ไม่มี specific guidelines ในขนาดหรือการปรับ ยาในผู้สูงอายุ แต่แนะนำให้เริ่มในขนาดน้อยๆ ติดตามดูแลอย่างใกล้ชิด และปรับขนาดขึ้น อย่างช้าๆ •  ผลข้างเคียงของ Tricyclic antidepressants (TCAs) 
 - Cardiotoxicity ไม่ควรใช้ในผู้ที่มี prolonged Q-T intervals หรือ bundle branch blocks
 - Orthostasis
 - Sedation, confusion
 - Urinary retention
 - Exacerbation of narrow-angle glaucoma •  จำกัดการใช้ในผู้สูงอายุ •  นิยมใช้ SSRIs. •  Acquired syndrome •  พบได้ร้อยละ 6-12 ของประชากรอายุ >65 ปี •  มีการเลวลงของ cognitive abilities และ สมรรถนะ •  มักรุนแรงและรบกวนต่อการดำเนินชีวิตประจำวัน Lussier D, Prim Care Clin Office Pract, 2011. •  Alzheimer’s disease พบร้อยละ 50-70 •  Cerebrovascular disease (multiinfarct, stroke) •  Normal-pressure hydrocephalus •  Parkinson’s disease •  Traumatic brain injury
  • 5. 4/25/16     5   0            1                2                  3                4                  5                6                  7                  8                  9        yrs       Cognitive symptoms Loss of dependence Behavior problems NH placement 30 25 20 15 10 5 MMSE Alzheimer’s disease progression Increasing disease severity Feldman, et al. Clinical Diagnosis and Management of AD. 1999 •  การดำเนินโรคใช้ระยะเวลานานหลายปี •  สมรรถนะของร่างกายเสื่อมถอยลงเรื่อยๆหลัง การวินิจฉัย •  และเสื่อมถอยมากขึ้นเมื่อโรคอยู่ในระยะรุนแรง •  ภาวะแทรกซ้อนเฉียบพลันที่เกิดขึ้นเป็นระยะจะ เร่งให้โรครุนแรงขึ้น •  ระยะท้ายของโรคกินเวลานานและพยากรณ์โรค ลำบาก •  การวางแผนการดูแลล่วงหน้า (advanced care planning) เป็นสิ่งที่มีความสำคัญและควรกระตุ้นให้ ผู้ป่วยทำเมื่อได้รับการวินิจฉัยเป็น dementia •  ในระยะ early dementia ควรมีการพูดคุยเรื่องการ หลีกเลี่ยงการให้อาหารทางสายยางเมื่อผู้สูงอายุเริ่ม กลืนลำบาก •  เป้าหมายการดูแล (goal of care) ในระยะ advance dementia ควรหลีกเลี่ยงการพยุงชีพแต่ ควรเลือกการดูแลให้สุขสบาย •  ครอบครัวผู้ป่วยที่รับรู้พยากรณ์โรคอย่างถ่องแท้ของ มักหลีกเลี่ยงการรักษาที่ก่อให้เกิดความไม่สุขสบาย Titilayo O, et al. Predicting Survival From In-Hospital CPR. Clinical Geriatrics (http://www.clinicalgeriatrics.com). 2009 Dysphagia Malnutrition Increased survival Pressure sore Increased functional status Increased post-op complications & discomfort Withholding feeding tubes is often recommended •  Life support: ET, mechanical ventilation, inotropic drugs, renal dialysis, 
 ICU admission, antibiotics •  CPR •  Feeding •  Hydration •  Acute care hospitalization •  Treatment of acute problems •  Treatment of chronic diseases บทบาทพยาบาลในการดูแลผู้สูงอายุระยะท้าย มองเห็นคุณค่าและความ ต้องการของผู้สูงอายุ ทำ advance care plan และ advance directive เพิ่มพูนสมรรถนะและ ความสุขสบาย ประเมินอาการ/จัดการ อย่างมีประสิทธิภาพ กระตุ้นให้มีการสื่อสาร พูดคุยอย่างมีส่วนร่วม ทำประชุมครอบครัว ทราบ แผนการดูแลร่วมกัน ให้การดูแลแบบองค์รวม โดยทีมสหสาขา ทำแผนดูแล/แผนจำหน่าย ติดตามต่อเนื่อง ส่งต่อ ให้มีโอกาสทำตามความ ประสงค์ในวาระสุดท้าย เคารพในศักดิ์ศรี ตอบ สนองความต้องการ