SlideShare a Scribd company logo
4/25/16	
  	
  
1	
  
•  มีอาการคลื่นใส้หรืออาเจียน หรือมีทั้งสองอาการ?
•  ลักษณะการอาเจียน (ความถี่, ปริมาณ, ความ
สัมพันธ์กับการรับประทานอาหาร)
•  มีท้องผูก?
•  มีท้องอืด?
•  มีอาการหรือลักษณะเฉพาะหรือไม่? 

gut obstruction, ICP, epigastric pain
•  Hypercalcemia?
•  ได้รับยาที่อาจทำให้มีผลข้างเคียง?
•  มีอาการเครียด?
Neurotransmitters:

Serotonin, dopamine

histamine
Serotonin receptor antagonists
àOndansetron
Prokinetic/dopamine antagonists
àMetoclopromide, haloperidol
Benzodiazepines 

àLorazepam
Dexamethasone
Prokinetic drug for stasis/partial obstruction: Metoclopramide
Surgery/corticosteroids for intestinal obstruction
Octreotide, Buscopan to decrease secretions
Drugs: opioids, chemoTx

Biochem: hyperCa, renal/liver failure
Medication
Class
Drugs
Dopamine
Antagonists
§ metoclopramide 10-20mg po/iv/sc/pr q4-8h
§ haloperidol 0.5-1 mg po/sc/iv q6-12h
§ domperidone 10 mg po q4-8h
Prokinetic § metoclopramide 10-20 mg po/sc/pr q4-8h
§ domperidone 10 mg po q4-8h
Serotonin
Antagonists
§ ondansetron 4-8 mg bid-tid po/sc/iv
§ granisetron 0.5–1 mg po/sc/iv OD - bid
H1
Antagonists
§ dimenhydrinate 25-100 mg po/iv/pr q4-8h
§ promethazine 25 mg po/iv q4-6h
Miscellaneous § dexamethasone 2-4 mg po/sc/iv OD-qid
§ lorazepam 0.5 - 1 mg po/sl/iv q4-12h
•  Oral hygiene care หลังอาเจียนทุกครั้ง
•  กินทีละน้อยแต่บ่อยครั้ง
•  ให้อาหารอ่อน ย่อยง่าย
•  ลดอาการคลื่นไส้ -น้ำแอปเปิ้ล น้ำซุบ น้ำขิง
•  หลีกเลี่ยงการนอนหลังรับประทานอาหาร 30 นาที
•  ลดสิ่งกระตุ้น เสียง กลิ่น ความปวด
•  สวมเสื้อผ้าที่สบายตัว ไม่คับ
•  Acupuncture/acupressure
•  Relaxation and imagery
4/25/16	
  	
  
2	
  
1.  Drugs - 70-100% พบในผู้ป่วยที่ได้รับยากลุ่ม
opioid, anticholinergic drugs
2.  Advance cancer
- Bowel obstruction
- Spinal cord compression
- Hyper Ca
3. Debility
- อ่อนเพลีย เคลื่อนไหวลดลง
- ภาวะขาดอาหาร/น้ำ เนื่องจากอาเจียน/ไข้
4. Others - ไม่คุ้นสถานที่ วิตกกังวล กลัว
•  ประวัติ: ความถี่ของการถ่าย, นิสัยการขับ
ถ่าย,ลักษณะอุจจาระ, อาการปวดท้อง, ปวดเบ่ง,
บิด, คลื่นใส้อาเจียน, อาการทางระบบประสาท
•  การตรวจร่างกาย: 

- ตรวจหน้าท้อง: distension, sausage-like
mass LLQ, visible peristalsis, bowel sounds 

- ตรวจระบบประสาท, PR ดู rectal tone,
impact stool?

- Anus: hemorrhoids, fissure
•  ผู้ป่วยที่มีถ่ายเหลว กระปริบกระปรอย
ต้องระวังอาจเป็น overflow diarrhea
ซึ่งเกิดจาก stool impaction
• PR à อุจจาระแข็ง à stool softeners

à อุจจาระนิ่ม à senna, bisacodyl

à Empty rectum à plain film abdomen 

R/O high impaction/gut obst. รักษาตามการวินิจฉัย
• ผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานยา/spinal cord injury à 

suppository or fleet enema
Constipation Score >7 à
aggressive treatment
Dalal s. J Pall Med, 2006
Evacuate ถ้ามี impact feces
ให้ metoclopramide ทำ abdominal massage
SSE, Unison enema
Laxative + stool softener
0 = No feces
1 = Stool occupy <50% of lumen
2 = Stool occupy >50% of lumen
3 = Stool completely occupy 

the lumen
•  Stimulants
Senna (Senokot)
Bisacodyl (Dulcolax)
•  Softeners
Lactulose
Magnesium salts
•  Fibre*

psyllium (Metamucil)
* หลีกเลี่ยงการใช้ fibre
laxatives ในผู้ป่วย
palliative care
• Suppositories & enemas
Glycerin / bisacodyl
Bisphosphanate (Unison enema)
Class Medication Dose Route SE
Stimulants Senna 2-4 tab HS PO Nausea,
cramping
Bisacodyl
5mg/tab
5-15 mg OD PO
PR
Nausea,
clamping
Stool
softeners
Lactulose
15g/10 ml
15-30 ml
TID
PO Diarrhea,
nausea
Docusate
100mg/tab
50-200 mg/
d divide 1-4
doses
PO Diarrhea,
nausea
4/25/16	
  	
  
3	
  
•  ให้ข้อมูล สาเหตุ อาการ แผนการดูแลที่จะได้รับ
•  ดูแลให้อาหารที่มีกากใย/กระตุ้นการขับถ่าย เช่น
ขี้เหล็ก มะขาม ลูกพรุน
•  ดูแลให้ได้รับน้ำอย่างน้อย 1500/day
•  ดูแลให้ได้รับยาระบายตามแผนการรักษา
•  กระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวร่างกาย
•  ฝึกการขับถ่ายเป็นเวลา
•  จัดสถานที่ มิดชิด ส่วนตัว มีม่านกั้น
•  พิจารณา manual evacuation ตามเหมาะสม
•  เป็นผลข้างเคียงของการใช้ opioids
•  Opioids ลด peristalsis ของลำใส้
•  มักไม่พบ tolerance จึงต้องให้ยาระบายตลอดเวลา
ที่ใช้ยานี้
•  การดูแลเรื่องอาหารอย่างเดียวมักไม่ช่วย
•  หลีกเลี่ยงยาเพิ่มกากอาหาร bulk-forming agents
•  ควรให้ยากลุ่ม stimulants/softeners
– Senna, bysacodyl + lactulose, Mg sulphate
•  พบ 20-50% ใน ovarian CA, 10-29%
ในcolorectal CA (Ripamonti, 2008; Tuca, 2008)
•  ระยะเวลาที่วินิจฉัยมะเร็งจนเกิด MBO ~ 6-24 Mo
•  Estimated median survival ในผู้ป่วยที่ผ่าตัดไม่
ได้ ~1 เดือน และ 6-month life expectancy <8%
(Tuca, 2008)
•  การให้ parenteral nutrition ไม่เปลี่ยนแปลง
พยากรณ์โรค
•  ส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะรู้สึกพออยู่ได้
•  ไม่ค่อยมีอาการคลื้นใส้
•  รู้สึกสบายขึ้นหลังอาเจียน มักอาเจียนหลังรับ
ประทานอาหารไม่นาน
•  ท้องไม่อืด
•  อาเจียนมักไม่มี bile ปน
•  มีคลื้นใส้
อาเจียนมาก
•  มีอาการ
อ่อนเพลีย
•  ท้องอืดมาก
•  ใน complete obstruction มีปวดบิดเป็นพักๆ
(colicky pain) ไม่ผายลม ไม่ถ่ายอุจจาระ
•  อาเจียนบ่อย ปริมาณไม่มาก
•  Surgical options
– Resection
– Stoma
– Stent (Self-expandable metal stents
SEMS as an alternative or adjunct to
surgery)
•  Laser ablation
4/25/16	
  	
  
4	
  
•  มี intestinal motility จาก diffused carcinomatosis
•  อายุมากกว่า 65 ปี โดยเฉพาะถ้ามี cachexia ร่วมด้วย
•  มี ascites ที่ต้องเจาะบ่อยๆ
•  Advance cachexia
•  เคยฉายแสงบริเวณช่องท้อง/ช่องเชิงกรานมาก่อน
•  มี distant metastases, pleural effusion, pulm mets
•  การอุดกั้นเป็นหลายตำแหน่ง
•  Poor performance status
EPEC module – Bowel obstruction
•  Hydration
– Intravenous
– Subcutaneous (preferred)
•  Prokinetics : Metoclopramide
•  Analgesics : Morphine, fentanyl
•  Anti-emetics: Haloperidol
•  Anti-secretary agents : Buscopan
Octreotide
•  Metoclopramide 60 -80 mg SC over 24 hrs
•  Hyoscine butylbromide (Buscopan) 60mg SC
over 24 hrs in the case of total obstruction
(Colic)
•  Haloperidol 5 -10 mg SC over 24 hrs if
nausea is a significant symptom
•  Dexamethasone 8-16 mg IV/SC for recent
total obstruction
•  Octreotide 300 -600 mcg SC over 24 hrs to
control frequent large volume vomits
Cochrane Review 2008
•  Dexamethasone 6-16 mg IV/SC may bring
about resolution of obstruction
•  Incidence of side effects is extremely low
•  No impact on length of survival
•  ให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารเหลวเท่าที่ได้ ลำใส้
ยังพอดูดซึมน้ำ ได้บ้าง
•  ผู้ป่วยมักทนความไม่สุขสบายจากสภาวะขาดน้ำ
ได้ถ้าดูแล mouth care ดี
ข้อผิดพลาด
ความเข้าใจของศัลยแพทย์และบุคลากรสุขภาพว่า
complete gut obstruction ต้องรักษาโดยการให้
IV drip และ NG suction เท่านั้น
EPEC module – Bowel obstruction
4/25/16	
  	
  
5	
  
•  Symptom: N/V, pain,
gut obstruction
•  รับทราบความจริง
ทำ living will
•  ต้องการกลับบ้าน
ปฏิเสธที่จะมารพ.อีก
•  สามีเสียชีวิตแล้ว มีน้อง
สาวเป็น primary care
giver
•  มี รพสต.อยู่ใกล้บ้าน
Morphine 20 mg (2 amp) + Buscopan 80 mg (4 amp)
in syringe driver continuous subcut infusion in 24 h.
Morphine 30 mg (3 amp) + Buscopan 120 mg (6 amp)
•  ลักษณะเฉพาะในผู้ป่วยระยะท้าย
– ไม่ตอบสนองต่อการนอนพักผ่อน
– ไม่สัมพันธ์กับการออกกำลังหรือการทำ
กิจกรรม
•  เป็นอาการที่พบบ่อยในผู้ป่วยระยะท้าย โดย
เฉพาะช่วงท้ายของชีวิต
•  มีผลต่อการดำเนินชีวิตและกิจกรรมของผู้ป่วย
ทำให้วิตกกังวล รู้สึกโดดเดี่ยว คุณภาพชีวิตไม่ดี
Physical
•  การดำเนินโรคของผู้ป่วย: 

CA, HF, COPD, ESRD
•  การควบคุมอาการที่ไม่มี
ประสิทธิภาพ: ปวด หอบ
•  ผลข้างเคียงจากการรักษา:
CMT, RT, ยาขับปัสสวะ
•  Cachexia
•  ซีด
•  Fluid-electrolyte imbalance
•  นอนไม่หลับ

Psychosocial
•  ภาวะซึมเศร้า
•  ความเครียด
•  ปัญหาครอบครัว
•  ปัญหาด้านจิตวิญญาณ
ค้นหาสาเหตุ
และแก้ไข
•  ให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยและครอบครัว
•  การจัดกิจกรรมให้เหมาะกับสภาพร่างกาย ใช้
อุปกรณ์ช่วย เพื่อผ่อนแรง rehab program
•  จัดการอาการไม่สุขสบายต่างๆอย่างมีประสิทธิภาพ
•  ประเมินยาต่างๆที่ผู้ป่วยใช้
•  ประเมิน fluid-electrolytes, intake
•  ให้เลือดถ้าซีดมาก
•  กำจัดปัจจัยที่ทำให้นอนไม่หลับ ให้ยาช่วยให้หลับ
•  รักษาภาวะเครียด/ซึมเศร้า
•  การดูแลด้านจิตสังคม จิตวิญญาณ
4/25/16	
  	
  
6	
  
•  การให้ Dexamethasone (ผู้ป่วย survival <4 wk)
– ช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกสบายขึ้น (feeling of well-
being) ช่วยให้รู้สึกมีเรี่ยวแรง
– ประสิทธิภาพมักลดลงหลัง 4-6 สัปดาห์
– ควรให้ต่อเนื่องจนกว่าผู้ป่วยเสียชีวิต
•  การให้ยากลุ่ม CNS stimulants เช่น
methylphenidate
•  มักไม่สามารถเลี่ยงได้ในระยะสุดท้าย โดยเฉพาะผู้
ป่วย CA, HF จาก hormonal dysregulation,
inflammatory mediators
•  แม้ให้อาหารเต็มที่ก็ป้องกัน cachexia ไม่ได้
•  ความรุนแรงสัมพันธ์กับพยากรณ์โรค
•  สาเหตุอื่น: - ยาและการรักษา eg. ยาขับปัสสวะ

- อาการไม่สุขสบายที่ไม่ได้รับการแก้ไข
Pain, constipation, dyspepsia, gastric stasis
dry/sore-mouth, mucositis, candidiasis

- Psychosocial & Emotional distress
Non-pharm Rx
•  ค้นหาและจัดการสาเหตุ
•  ให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วย/
ครอบครัวเพื่อการยอมรับ
•  จัดอาหารให้ดูน่ารับ
ประทาน ให้ทีละน้อย

แต่บ่อยครั้ง
•  จัดบรรยากาศให้เอื้อต่อ
การรับประทาน
Pharm RX
•  Nutritional support
ในผู้ป่วย GI obst
•  Appetite stimulants

- Progestogens 

(Megestrol acetate)

- Dexamethasone เพิ่ม
ความอยากอาหาร ใช้ในผู้
ป่วยที่ survival < 4wks
เนื่องจากมีผลข้างเคียง
สาเหตุ
•  มะเร็งในช่องปาก
•  Fluid/elec imbalance: ขาดน้ำ hyper Ca
•  การรักษา: CMT, RT บริเวณศีรษะลำคอ à
salivary grand fibrosis
•  ยา: amitrip, plasil, MO, diuretics,
antihypertensives, antihistamines
•  ตัวผู้ป่วย: หายใจทางปาก กังวล ซึมเศร้า ติดเชื้อ
•  อื่นๆ: กาแฟ บุหรี่ เหล้า ให้ O2 ที่ไม่มี humidified
•  น้ำลายเหนียว เคี้ยว กลืน
อาหารลำบาก
•  การรับรสเสีย เบื่ออาหาร
•  พูดลำบาก
•  มีกลิ่นปาก จากอาหารค้าง

ในปาก ฟันผุง่าย
•  มีโอกาสเกิดแผล ในปากและ
ลิ้นอักเสบ ติดเชื้อง่าย
•  ไม่สามารถใส่ฟันปลอมไว้ได้
4/25/16	
  	
  
7	
  
•  จัดการสาเหตุ
•  Artificial saliva
•  Pilocarpine tab 5-10 mg tds
(contraindication in asthma, COPD)
•  4% Pilocarpine eye drop 3-5 drops (6-10
mg) tds (Unlicensed)
•  รักษาความสะอาดช่องปาก สม่ำเสมอ
•  Mouth care ก่อน/ระหว่าง/หลัง การฉายแสง
•  ถ้าลิ้นมีคราบขาว ใช้แปรงขนนุ่ม หรือใช้ 1.5%
hydrogen peroxide/sodium bicarb บ้วนปาก
•  อมน้ำแข็ง จิบน้ำบ่อยๆ
•  เพิ่ม saliva flow - อมผลไม้ (สับปะรด/มะนาวฝาน
แช่แข็ง) ลูกอมรสเปรี้ยว เคี้ยวหมากฝรั่ง (sugar free)
•  เลี่ยงอาหารแห้งกรอบ กาแฟ บุหรี่ แอลกอฮอล์
•  เพิ่มความชื้นภายในห้อง
สาเหตุ:
•  ยา: MO, amitrip
•  RT
•  หายใจทางปาก
•  CMT
•  Herpes simplex
•  Aphthous ulcers
การรักษา
•  รักษาสาเหตุ 

Candidiasis - cotrimazole 

Herpes simplex - Acyclovir
•  ทา Kenalog in orabase
•  ยาแก้ปวด: 

Xylocaine viscous 2% soln ทา

ASA 325 mg + NSS กลั้วปาก

Morphine oral/inj ในรายรุนแรง
•  เลี่ยงอาหารร้อน เผ็ด รสจัด
•  Mouth care
•  Pruritus /itching (คัน)
•  Pressure ulcers (แผลกดทับ)
•  Fungating wound (แผลมะเร็ง)
•  Colostomy (แผลผ่าตัดลำไส้)
•  Fistula (แผลที่มีรูรั่ว/ทะลุ)
สาเหตุ
•  มักพบในผู้ป่วย ตับวาย
jaundice ไตวาย
•  ผิวแห้ง โดยเฉพาะผู้สูง
อายุ
•  Skin disease
•  Side effect จากยา
เช่น ATB,
anticonvulsants
การรักษา
•  รักษาสาเหตุ
•  Antihist, ondanxetron
•  Tropical corticosteroid
•  หลีกเลี่ยงการอาบน้ำอุ่น
•  ทาครีมหลังอาบน้ำ
•  ตัดเล็บให้สั้น
•  ใส่เสื้อผ้าที่เหมาะสม ไม่
คับแน่น
แบ่งเป็น 4 ระดับ
I = ผิวหนังแดง กดไม่จางหาย
II = ตุ่มใสพอง แผลที่ชั้นตื้นๆ epidermis, dermis
III= ลุกลามเข้า subcutaneous tissue เริ่มมีเนื้อตาย
IV= แผลลุกลาม ถึงกระดูกมีเนื้อตายมากขึ้น
สาเหตุ
- อยู่ท่าเดียวนานๆ
- เปียกชื้น
- อ้วน น้ำหนักมาก
- ลากเสียดสี
- ไข้สูง
- ภาวะซีด
- ขาดสารอาหาร Alb ต่ำ
4/25/16	
  	
  
8	
  
Drug
• Zinc paste
• Duoderm
• ยาฆ่าเชื้อ
• ผ่าตัด
Non -Drug
• ค้นหาปัจจัยเสี่ยง/กำจัดสาเหตุ
• พลิกตัวบ่อยๆ
• ดูแลผิวหนังให้สะอาด ไม่เปียกชื้น
• ใช้วิธีการยก แทนการลาก ดึง
• ให้น้ำอาหารอย่างเพียงพอ
• ดูแลเรื่องไข้ แก้ไขภาวะซีด
• ที่นอน นุ่ม เรียบตึง
• ใช้ที่นอนลม
• แผลเกรด I-II dressingสม่ำเสมอ 

ทา zinc paste/ติด duoderm
Ferrell & Coyle , 2006; Twycross, Wilcock & Stark, 2009
•  พบได้ 5% ของผู้ป่วยมะเร็ง และ 10% ของผู้ป่วย
มะเร็งระยะลุกลาม
•  มักพบในช่วง 3-6 เดือนสุดท้ายก่อนเสียชีวิต
•  มักพบในโรคต่างๆ ตามลำดับดังนี้
–  Breast cancer * พบประมาณ 25%
–  Malignant melanoma
–  Lung cancer
–  Colorectal cancer
Pain 

Bleeding

Bad smell

Itching 

Exudate 

Psychosocial
Self-image 

Ferrell & Coyle , 2006; Twycross, Wilcock & Stark, 2009
•  Surgery : มักไม่ค่อยมีบทบาท เนื่องจากมี
โอกาสมีเลือดออกมาก มีการติดเชื้อ
•  Chemotherapy : อาจช่วยลดขนาดก้อน ถ้า
เป็นชนิดที่ตอบสนองดีต่อ CMT
•  Radiotherapy : ช่วยลดขนาดก้อน ลดภาวะ
เลือดออกจากแผล ลดอาการปวด ลด exudate
4/25/16	
  	
  
9	
  
•  ให้ยาลดปวดก่อนทำแผล
–  Fentanyl inj. 25 mcg (0.5cc) SL 5-10 นาที
–  Ketamine 0.25 ml ผสมน้ำผึ้งเป็น 2 ml SL 10
นาทีแล้วกลืนก่อนทำแผล 15 นาที
•  Superficial pain
–  Ice pack ประคบก่อนและหลังทำแผล 

topical lidocaine ให้ทันทีหลังทำแผลเสร็จ
–  ใช้ topical analgesia (opioid) ยาออกฤทธิ์โดย
ไปจับกับ peripheral opioid receptor
MO-IR บดผสม KY-gel ใส่ที่แผล (Back & Finley 1995) 

MO inj 5 mg ผสม KY-gel 5 ml (Waller & Caroline,2000)
•  Adrenaline ซุบก๊อส กด
แผลนาน 5-10 นาที
•  Sucalfate (ulsanic) 1
gm ผสมกับ water 1 ml
+KY- gel 1 หยด apply
บริเวณที่เลือดออก
•  ใช้ sofatule
อาบน้ำตามปกติ เป็น
ผลดีต่อจิตใจทำให้ผู้
ป่วยรู้สึกว่าร่างกาย
สะอาด
Debridement necrotic tissue
•  สำลีซุบ NSS จนชุ่มขัดถูเนื้อตายออก
•  ใช้ syringe ดูด NSS 35 ml ใช้เข็มเบอร์ 18 ฉีด
ล้างแผลช่วยชะล้างเนื้อตายออก
•  วิธีการ autolytic โดยการใช้ผลิตภัณฑ์ Hydrogel
Ferrell & Coyle , 2006; Twycross, Wilcock & Stark, 2009
•  บดยา metronidazole tab (200 mg) ให้
ละเอียดแล้วโรยบนแผล
•  ใช้ gauze ชุุบ metronidazole inj จนชุ่มแล้วนำ
ไปปิดหรือ pack เข้าไปภายในโพรงแผล
สามารถลดกลิ่นได้ภายใน 2-7 วัน
•  ระวังอย่าให้แผลแห้งมิฉะนั้นก๊อสจะติดกับแผล
ถ้าลอกออกจะส่งผลให้ปวดและเลือดออกได้
•  เปลี่ยนวัสดุชั้นแรกวันละครั้ง
•  ใช้วาสลีนก๊อสในการปิดแผลชั้น
แรกก่อนและชั้นที่สองตามด้วย ท๊อ
ปก๊อส
•  ชั้นที่สองเปลี่ยนวันละ 2-3 ครั้ง ถ้า
สารคัดปริมาณมาก
•  ปกป้องผิวหนังรอบๆ แผลจากสาร
คัดหลั่งโดยใช้ skin barriers

More Related Content

What's hot

ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
Utai Sukviwatsirikul
 
Agent used in hyperlipidemia
Agent used in hyperlipidemiaAgent used in hyperlipidemia
Agent used in hyperlipidemia
Sirinoot Jantharangkul
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
Utai Sukviwatsirikul
 
Psoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาPsoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษา
Utai Sukviwatsirikul
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
Utai Sukviwatsirikul
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก
Utai Sukviwatsirikul
 
ยาระงับปวด
ยาระงับปวดยาระงับปวด
ยาระงับปวด
Jumpon Utta
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรัง
CAPD AngThong
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
Dr.Suradet Chawadet
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
Rachanont Hiranwong
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
Utai Sukviwatsirikul
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4Surang Judistprasert
 
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยาการใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
Ziwapohn Peecharoensap
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
Prachaya Sriswang
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
Utai Sukviwatsirikul
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
CAPD AngThong
 
คู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการคู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการ
ธัญญชล พงษ์อิ่ม
 

What's hot (20)

ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
ยารักษาโรคจิตเวช รพ. สหัสขันธ์
 
Agent used in hyperlipidemia
Agent used in hyperlipidemiaAgent used in hyperlipidemia
Agent used in hyperlipidemia
 
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวานแนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลโภชนบำบัดในโรคเบาหวาน
 
Psoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษาPsoriasis แนวทางการรักษา
Psoriasis แนวทางการรักษา
 
Insulin
InsulinInsulin
Insulin
 
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
ภาษาอังกฤษกับทักษะทางเภสัชศาสตร์  ภญ.ปุณฑริก ประสิทธิศาสตร์
 
การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก การเลือกใช้ยากันชัก
การเลือกใช้ยากันชัก
 
ยาระงับปวด
ยาระงับปวดยาระงับปวด
ยาระงับปวด
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรัง
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
เอกสารประกอบการสอนวิชาเภสัชบำบัด ๓ (๗๙๑๕๕๑) หัวข้อ Assessment of Adverse drug...
 
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
คู่มือการจ่ายยา สถานปฏิบัติการเภสัชกรรมชุมชน 2554
 
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
ยาสามัญประจำบ้าน ฉบับที่4
 
Drug
DrugDrug
Drug
 
Berodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solutionBerodual salbutamol solution
Berodual salbutamol solution
 
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยาการใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
การใช้ยาแก้ปวดในร้านยา
 
Ppt. med error.2
Ppt. med error.2Ppt. med error.2
Ppt. med error.2
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบันยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
ยาสามัญประจำบ้านแผนปัจจุบัน
 
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรองการวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
การวินิจฉัยโรคไตเรื้อรังและแนวทางการคัดกรอง
 
คู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการคู่มือนักโภชนาการ
คู่มือนักโภชนาการ
 

Similar to PC05 : Management of nonpain symptoms

การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็ก
Ozone Thanasak
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
โรงพยาบาลสารภี
 
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมการบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
Utai Sukviwatsirikul
 
การปฐมพยาบาล
การปฐมพยาบาลการปฐมพยาบาล
การปฐมพยาบาลan1030
 
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมการบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
Utai Sukviwatsirikul
 
Antidote pocket guide v.3
Antidote pocket guide v.3Antidote pocket guide v.3
Antidote pocket guide v.3
sucheera Leethochawalit
 
interesting case
interesting  caseinteresting  case
interesting case
SHAMONBEST1
 
Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561
Utai Sukviwatsirikul
 
Cancer pain พระนั่งเกล้า
Cancer pain พระนั่งเกล้าCancer pain พระนั่งเกล้า
Cancer pain พระนั่งเกล้า
Pain clinic pnk
 
Common ambulatory gi problems in children
Common ambulatory gi problems in childrenCommon ambulatory gi problems in children
Common ambulatory gi problems in children
Pitiphong Sangsomrit
 
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...
Utai Sukviwatsirikul
 
The Ultimate Product
The Ultimate ProductThe Ultimate Product
The Ultimate Product
Nanthaka Boonsong
 
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงtechno UCH
 
Finish giตัด
Finish giตัดFinish giตัด
Finish giตัดsaowaluk2556
 
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - NurseTAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
taem
 

Similar to PC05 : Management of nonpain symptoms (20)

การใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็กการใช้ยาในเด็ก
การใช้ยาในเด็ก
 
หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4หลักการใช้ยา ปี4
หลักการใช้ยา ปี4
 
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมการบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
 
22
2222
22
 
การปฐมพยาบาล
การปฐมพยาบาลการปฐมพยาบาล
การปฐมพยาบาล
 
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคมการบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
การบำบัดทางชีวภาพ การให้การปรึกษาทางสุขภาพ และ การบำบัดทางจิตสังคม
 
Bio psy social_therapy
Bio psy social_therapyBio psy social_therapy
Bio psy social_therapy
 
Antidote pocket guide v.3
Antidote pocket guide v.3Antidote pocket guide v.3
Antidote pocket guide v.3
 
interesting case
interesting  caseinteresting  case
interesting case
 
Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561Dyspepsia 2561
Dyspepsia 2561
 
Cancer pain พระนั่งเกล้า
Cancer pain พระนั่งเกล้าCancer pain พระนั่งเกล้า
Cancer pain พระนั่งเกล้า
 
Symptoms management2
Symptoms management2Symptoms management2
Symptoms management2
 
Common ambulatory gi problems in children
Common ambulatory gi problems in childrenCommon ambulatory gi problems in children
Common ambulatory gi problems in children
 
Herb
HerbHerb
Herb
 
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...
Siriraj Poison Control Center: Antidote pocket guide v.3 หนังสือ ยาต้านพิษ เล...
 
GERD
GERDGERD
GERD
 
The Ultimate Product
The Ultimate ProductThe Ultimate Product
The Ultimate Product
 
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูงการดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
การดูแลผู้ป่วยที่ได้รับยาเคมีที่มีความเสี่ยงสูง
 
Finish giตัด
Finish giตัดFinish giตัด
Finish giตัด
 
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - NurseTAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
TAEM10: Endocrine Emergency - Nurse
 

More from CAPD AngThong

การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อการวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
CAPD AngThong
 
การจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pcการจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pc
CAPD AngThong
 
PC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACPPC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACP
CAPD AngThong
 
PC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifePC10:Last hours of life
PC10:Last hours of life
CAPD AngThong
 
PC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pcPC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pc
CAPD AngThong
 
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationPC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
CAPD AngThong
 
PC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative carePC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative care
CAPD AngThong
 
PC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative carePC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative care
CAPD AngThong
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PC
CAPD AngThong
 
PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care
CAPD AngThong
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1
CAPD AngThong
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
CAPD AngThong
 
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
CAPD AngThong
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
CAPD AngThong
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
CAPD AngThong
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
CAPD AngThong
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
CAPD AngThong
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
CAPD AngThong
 
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
CAPD AngThong
 
อ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยีอ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยี
CAPD AngThong
 

More from CAPD AngThong (20)

การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อการวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
การวางแผนจำหน่ายและการส่งต่อ
 
การจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pcการจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pc
 
PC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACPPC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACP
 
PC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifePC10:Last hours of life
PC10:Last hours of life
 
PC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pcPC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pc
 
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationPC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
 
PC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative carePC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative care
 
PC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative carePC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative care
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PC
 
PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care PC01: Concept Palliative Care
PC01: Concept Palliative Care
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
 
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
 
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
 
อ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยีอ.ไพบูลย์ ไวกยี
อ.ไพบูลย์ ไวกยี
 

PC05 : Management of nonpain symptoms

  • 1. 4/25/16     1   •  มีอาการคลื่นใส้หรืออาเจียน หรือมีทั้งสองอาการ? •  ลักษณะการอาเจียน (ความถี่, ปริมาณ, ความ สัมพันธ์กับการรับประทานอาหาร) •  มีท้องผูก? •  มีท้องอืด? •  มีอาการหรือลักษณะเฉพาะหรือไม่? 
 gut obstruction, ICP, epigastric pain •  Hypercalcemia? •  ได้รับยาที่อาจทำให้มีผลข้างเคียง? •  มีอาการเครียด? Neurotransmitters:
 Serotonin, dopamine
 histamine Serotonin receptor antagonists àOndansetron Prokinetic/dopamine antagonists àMetoclopromide, haloperidol Benzodiazepines 
 àLorazepam Dexamethasone Prokinetic drug for stasis/partial obstruction: Metoclopramide Surgery/corticosteroids for intestinal obstruction Octreotide, Buscopan to decrease secretions Drugs: opioids, chemoTx
 Biochem: hyperCa, renal/liver failure Medication Class Drugs Dopamine Antagonists § metoclopramide 10-20mg po/iv/sc/pr q4-8h § haloperidol 0.5-1 mg po/sc/iv q6-12h § domperidone 10 mg po q4-8h Prokinetic § metoclopramide 10-20 mg po/sc/pr q4-8h § domperidone 10 mg po q4-8h Serotonin Antagonists § ondansetron 4-8 mg bid-tid po/sc/iv § granisetron 0.5–1 mg po/sc/iv OD - bid H1 Antagonists § dimenhydrinate 25-100 mg po/iv/pr q4-8h § promethazine 25 mg po/iv q4-6h Miscellaneous § dexamethasone 2-4 mg po/sc/iv OD-qid § lorazepam 0.5 - 1 mg po/sl/iv q4-12h •  Oral hygiene care หลังอาเจียนทุกครั้ง •  กินทีละน้อยแต่บ่อยครั้ง •  ให้อาหารอ่อน ย่อยง่าย •  ลดอาการคลื่นไส้ -น้ำแอปเปิ้ล น้ำซุบ น้ำขิง •  หลีกเลี่ยงการนอนหลังรับประทานอาหาร 30 นาที •  ลดสิ่งกระตุ้น เสียง กลิ่น ความปวด •  สวมเสื้อผ้าที่สบายตัว ไม่คับ •  Acupuncture/acupressure •  Relaxation and imagery
  • 2. 4/25/16     2   1.  Drugs - 70-100% พบในผู้ป่วยที่ได้รับยากลุ่ม opioid, anticholinergic drugs 2.  Advance cancer - Bowel obstruction - Spinal cord compression - Hyper Ca 3. Debility - อ่อนเพลีย เคลื่อนไหวลดลง - ภาวะขาดอาหาร/น้ำ เนื่องจากอาเจียน/ไข้ 4. Others - ไม่คุ้นสถานที่ วิตกกังวล กลัว •  ประวัติ: ความถี่ของการถ่าย, นิสัยการขับ ถ่าย,ลักษณะอุจจาระ, อาการปวดท้อง, ปวดเบ่ง, บิด, คลื่นใส้อาเจียน, อาการทางระบบประสาท •  การตรวจร่างกาย: 
 - ตรวจหน้าท้อง: distension, sausage-like mass LLQ, visible peristalsis, bowel sounds 
 - ตรวจระบบประสาท, PR ดู rectal tone, impact stool?
 - Anus: hemorrhoids, fissure •  ผู้ป่วยที่มีถ่ายเหลว กระปริบกระปรอย ต้องระวังอาจเป็น overflow diarrhea ซึ่งเกิดจาก stool impaction • PR à อุจจาระแข็ง à stool softeners
 à อุจจาระนิ่ม à senna, bisacodyl
 à Empty rectum à plain film abdomen 
 R/O high impaction/gut obst. รักษาตามการวินิจฉัย • ผู้ป่วยที่ไม่สามารถรับประทานยา/spinal cord injury à 
 suppository or fleet enema Constipation Score >7 à aggressive treatment Dalal s. J Pall Med, 2006 Evacuate ถ้ามี impact feces ให้ metoclopramide ทำ abdominal massage SSE, Unison enema Laxative + stool softener 0 = No feces 1 = Stool occupy <50% of lumen 2 = Stool occupy >50% of lumen 3 = Stool completely occupy 
 the lumen •  Stimulants Senna (Senokot) Bisacodyl (Dulcolax) •  Softeners Lactulose Magnesium salts •  Fibre*
 psyllium (Metamucil) * หลีกเลี่ยงการใช้ fibre laxatives ในผู้ป่วย palliative care • Suppositories & enemas Glycerin / bisacodyl Bisphosphanate (Unison enema) Class Medication Dose Route SE Stimulants Senna 2-4 tab HS PO Nausea, cramping Bisacodyl 5mg/tab 5-15 mg OD PO PR Nausea, clamping Stool softeners Lactulose 15g/10 ml 15-30 ml TID PO Diarrhea, nausea Docusate 100mg/tab 50-200 mg/ d divide 1-4 doses PO Diarrhea, nausea
  • 3. 4/25/16     3   •  ให้ข้อมูล สาเหตุ อาการ แผนการดูแลที่จะได้รับ •  ดูแลให้อาหารที่มีกากใย/กระตุ้นการขับถ่าย เช่น ขี้เหล็ก มะขาม ลูกพรุน •  ดูแลให้ได้รับน้ำอย่างน้อย 1500/day •  ดูแลให้ได้รับยาระบายตามแผนการรักษา •  กระตุ้นให้มีการเคลื่อนไหวร่างกาย •  ฝึกการขับถ่ายเป็นเวลา •  จัดสถานที่ มิดชิด ส่วนตัว มีม่านกั้น •  พิจารณา manual evacuation ตามเหมาะสม •  เป็นผลข้างเคียงของการใช้ opioids •  Opioids ลด peristalsis ของลำใส้ •  มักไม่พบ tolerance จึงต้องให้ยาระบายตลอดเวลา ที่ใช้ยานี้ •  การดูแลเรื่องอาหารอย่างเดียวมักไม่ช่วย •  หลีกเลี่ยงยาเพิ่มกากอาหาร bulk-forming agents •  ควรให้ยากลุ่ม stimulants/softeners – Senna, bysacodyl + lactulose, Mg sulphate •  พบ 20-50% ใน ovarian CA, 10-29% ในcolorectal CA (Ripamonti, 2008; Tuca, 2008) •  ระยะเวลาที่วินิจฉัยมะเร็งจนเกิด MBO ~ 6-24 Mo •  Estimated median survival ในผู้ป่วยที่ผ่าตัดไม่ ได้ ~1 เดือน และ 6-month life expectancy <8% (Tuca, 2008) •  การให้ parenteral nutrition ไม่เปลี่ยนแปลง พยากรณ์โรค •  ส่วนใหญ่ผู้ป่วยจะรู้สึกพออยู่ได้ •  ไม่ค่อยมีอาการคลื้นใส้ •  รู้สึกสบายขึ้นหลังอาเจียน มักอาเจียนหลังรับ ประทานอาหารไม่นาน •  ท้องไม่อืด •  อาเจียนมักไม่มี bile ปน •  มีคลื้นใส้ อาเจียนมาก •  มีอาการ อ่อนเพลีย •  ท้องอืดมาก •  ใน complete obstruction มีปวดบิดเป็นพักๆ (colicky pain) ไม่ผายลม ไม่ถ่ายอุจจาระ •  อาเจียนบ่อย ปริมาณไม่มาก •  Surgical options – Resection – Stoma – Stent (Self-expandable metal stents SEMS as an alternative or adjunct to surgery) •  Laser ablation
  • 4. 4/25/16     4   •  มี intestinal motility จาก diffused carcinomatosis •  อายุมากกว่า 65 ปี โดยเฉพาะถ้ามี cachexia ร่วมด้วย •  มี ascites ที่ต้องเจาะบ่อยๆ •  Advance cachexia •  เคยฉายแสงบริเวณช่องท้อง/ช่องเชิงกรานมาก่อน •  มี distant metastases, pleural effusion, pulm mets •  การอุดกั้นเป็นหลายตำแหน่ง •  Poor performance status EPEC module – Bowel obstruction •  Hydration – Intravenous – Subcutaneous (preferred) •  Prokinetics : Metoclopramide •  Analgesics : Morphine, fentanyl •  Anti-emetics: Haloperidol •  Anti-secretary agents : Buscopan Octreotide •  Metoclopramide 60 -80 mg SC over 24 hrs •  Hyoscine butylbromide (Buscopan) 60mg SC over 24 hrs in the case of total obstruction (Colic) •  Haloperidol 5 -10 mg SC over 24 hrs if nausea is a significant symptom •  Dexamethasone 8-16 mg IV/SC for recent total obstruction •  Octreotide 300 -600 mcg SC over 24 hrs to control frequent large volume vomits Cochrane Review 2008 •  Dexamethasone 6-16 mg IV/SC may bring about resolution of obstruction •  Incidence of side effects is extremely low •  No impact on length of survival •  ให้ผู้ป่วยรับประทานอาหารเหลวเท่าที่ได้ ลำใส้ ยังพอดูดซึมน้ำ ได้บ้าง •  ผู้ป่วยมักทนความไม่สุขสบายจากสภาวะขาดน้ำ ได้ถ้าดูแล mouth care ดี ข้อผิดพลาด ความเข้าใจของศัลยแพทย์และบุคลากรสุขภาพว่า complete gut obstruction ต้องรักษาโดยการให้ IV drip และ NG suction เท่านั้น EPEC module – Bowel obstruction
  • 5. 4/25/16     5   •  Symptom: N/V, pain, gut obstruction •  รับทราบความจริง ทำ living will •  ต้องการกลับบ้าน ปฏิเสธที่จะมารพ.อีก •  สามีเสียชีวิตแล้ว มีน้อง สาวเป็น primary care giver •  มี รพสต.อยู่ใกล้บ้าน Morphine 20 mg (2 amp) + Buscopan 80 mg (4 amp) in syringe driver continuous subcut infusion in 24 h. Morphine 30 mg (3 amp) + Buscopan 120 mg (6 amp) •  ลักษณะเฉพาะในผู้ป่วยระยะท้าย – ไม่ตอบสนองต่อการนอนพักผ่อน – ไม่สัมพันธ์กับการออกกำลังหรือการทำ กิจกรรม •  เป็นอาการที่พบบ่อยในผู้ป่วยระยะท้าย โดย เฉพาะช่วงท้ายของชีวิต •  มีผลต่อการดำเนินชีวิตและกิจกรรมของผู้ป่วย ทำให้วิตกกังวล รู้สึกโดดเดี่ยว คุณภาพชีวิตไม่ดี Physical •  การดำเนินโรคของผู้ป่วย: 
 CA, HF, COPD, ESRD •  การควบคุมอาการที่ไม่มี ประสิทธิภาพ: ปวด หอบ •  ผลข้างเคียงจากการรักษา: CMT, RT, ยาขับปัสสวะ •  Cachexia •  ซีด •  Fluid-electrolyte imbalance •  นอนไม่หลับ
 Psychosocial •  ภาวะซึมเศร้า •  ความเครียด •  ปัญหาครอบครัว •  ปัญหาด้านจิตวิญญาณ ค้นหาสาเหตุ และแก้ไข •  ให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วยและครอบครัว •  การจัดกิจกรรมให้เหมาะกับสภาพร่างกาย ใช้ อุปกรณ์ช่วย เพื่อผ่อนแรง rehab program •  จัดการอาการไม่สุขสบายต่างๆอย่างมีประสิทธิภาพ •  ประเมินยาต่างๆที่ผู้ป่วยใช้ •  ประเมิน fluid-electrolytes, intake •  ให้เลือดถ้าซีดมาก •  กำจัดปัจจัยที่ทำให้นอนไม่หลับ ให้ยาช่วยให้หลับ •  รักษาภาวะเครียด/ซึมเศร้า •  การดูแลด้านจิตสังคม จิตวิญญาณ
  • 6. 4/25/16     6   •  การให้ Dexamethasone (ผู้ป่วย survival <4 wk) – ช่วยให้ผู้ป่วยรู้สึกสบายขึ้น (feeling of well- being) ช่วยให้รู้สึกมีเรี่ยวแรง – ประสิทธิภาพมักลดลงหลัง 4-6 สัปดาห์ – ควรให้ต่อเนื่องจนกว่าผู้ป่วยเสียชีวิต •  การให้ยากลุ่ม CNS stimulants เช่น methylphenidate •  มักไม่สามารถเลี่ยงได้ในระยะสุดท้าย โดยเฉพาะผู้ ป่วย CA, HF จาก hormonal dysregulation, inflammatory mediators •  แม้ให้อาหารเต็มที่ก็ป้องกัน cachexia ไม่ได้ •  ความรุนแรงสัมพันธ์กับพยากรณ์โรค •  สาเหตุอื่น: - ยาและการรักษา eg. ยาขับปัสสวะ
 - อาการไม่สุขสบายที่ไม่ได้รับการแก้ไข Pain, constipation, dyspepsia, gastric stasis dry/sore-mouth, mucositis, candidiasis
 - Psychosocial & Emotional distress Non-pharm Rx •  ค้นหาและจัดการสาเหตุ •  ให้ข้อมูลแก่ผู้ป่วย/ ครอบครัวเพื่อการยอมรับ •  จัดอาหารให้ดูน่ารับ ประทาน ให้ทีละน้อย
 แต่บ่อยครั้ง •  จัดบรรยากาศให้เอื้อต่อ การรับประทาน Pharm RX •  Nutritional support ในผู้ป่วย GI obst •  Appetite stimulants
 - Progestogens 
 (Megestrol acetate)
 - Dexamethasone เพิ่ม ความอยากอาหาร ใช้ในผู้ ป่วยที่ survival < 4wks เนื่องจากมีผลข้างเคียง สาเหตุ •  มะเร็งในช่องปาก •  Fluid/elec imbalance: ขาดน้ำ hyper Ca •  การรักษา: CMT, RT บริเวณศีรษะลำคอ à salivary grand fibrosis •  ยา: amitrip, plasil, MO, diuretics, antihypertensives, antihistamines •  ตัวผู้ป่วย: หายใจทางปาก กังวล ซึมเศร้า ติดเชื้อ •  อื่นๆ: กาแฟ บุหรี่ เหล้า ให้ O2 ที่ไม่มี humidified •  น้ำลายเหนียว เคี้ยว กลืน อาหารลำบาก •  การรับรสเสีย เบื่ออาหาร •  พูดลำบาก •  มีกลิ่นปาก จากอาหารค้าง
 ในปาก ฟันผุง่าย •  มีโอกาสเกิดแผล ในปากและ ลิ้นอักเสบ ติดเชื้อง่าย •  ไม่สามารถใส่ฟันปลอมไว้ได้
  • 7. 4/25/16     7   •  จัดการสาเหตุ •  Artificial saliva •  Pilocarpine tab 5-10 mg tds (contraindication in asthma, COPD) •  4% Pilocarpine eye drop 3-5 drops (6-10 mg) tds (Unlicensed) •  รักษาความสะอาดช่องปาก สม่ำเสมอ •  Mouth care ก่อน/ระหว่าง/หลัง การฉายแสง •  ถ้าลิ้นมีคราบขาว ใช้แปรงขนนุ่ม หรือใช้ 1.5% hydrogen peroxide/sodium bicarb บ้วนปาก •  อมน้ำแข็ง จิบน้ำบ่อยๆ •  เพิ่ม saliva flow - อมผลไม้ (สับปะรด/มะนาวฝาน แช่แข็ง) ลูกอมรสเปรี้ยว เคี้ยวหมากฝรั่ง (sugar free) •  เลี่ยงอาหารแห้งกรอบ กาแฟ บุหรี่ แอลกอฮอล์ •  เพิ่มความชื้นภายในห้อง สาเหตุ: •  ยา: MO, amitrip •  RT •  หายใจทางปาก •  CMT •  Herpes simplex •  Aphthous ulcers การรักษา •  รักษาสาเหตุ 
 Candidiasis - cotrimazole 
 Herpes simplex - Acyclovir •  ทา Kenalog in orabase •  ยาแก้ปวด: 
 Xylocaine viscous 2% soln ทา
 ASA 325 mg + NSS กลั้วปาก
 Morphine oral/inj ในรายรุนแรง •  เลี่ยงอาหารร้อน เผ็ด รสจัด •  Mouth care •  Pruritus /itching (คัน) •  Pressure ulcers (แผลกดทับ) •  Fungating wound (แผลมะเร็ง) •  Colostomy (แผลผ่าตัดลำไส้) •  Fistula (แผลที่มีรูรั่ว/ทะลุ) สาเหตุ •  มักพบในผู้ป่วย ตับวาย jaundice ไตวาย •  ผิวแห้ง โดยเฉพาะผู้สูง อายุ •  Skin disease •  Side effect จากยา เช่น ATB, anticonvulsants การรักษา •  รักษาสาเหตุ •  Antihist, ondanxetron •  Tropical corticosteroid •  หลีกเลี่ยงการอาบน้ำอุ่น •  ทาครีมหลังอาบน้ำ •  ตัดเล็บให้สั้น •  ใส่เสื้อผ้าที่เหมาะสม ไม่ คับแน่น แบ่งเป็น 4 ระดับ I = ผิวหนังแดง กดไม่จางหาย II = ตุ่มใสพอง แผลที่ชั้นตื้นๆ epidermis, dermis III= ลุกลามเข้า subcutaneous tissue เริ่มมีเนื้อตาย IV= แผลลุกลาม ถึงกระดูกมีเนื้อตายมากขึ้น สาเหตุ - อยู่ท่าเดียวนานๆ - เปียกชื้น - อ้วน น้ำหนักมาก - ลากเสียดสี - ไข้สูง - ภาวะซีด - ขาดสารอาหาร Alb ต่ำ
  • 8. 4/25/16     8   Drug • Zinc paste • Duoderm • ยาฆ่าเชื้อ • ผ่าตัด Non -Drug • ค้นหาปัจจัยเสี่ยง/กำจัดสาเหตุ • พลิกตัวบ่อยๆ • ดูแลผิวหนังให้สะอาด ไม่เปียกชื้น • ใช้วิธีการยก แทนการลาก ดึง • ให้น้ำอาหารอย่างเพียงพอ • ดูแลเรื่องไข้ แก้ไขภาวะซีด • ที่นอน นุ่ม เรียบตึง • ใช้ที่นอนลม • แผลเกรด I-II dressingสม่ำเสมอ 
 ทา zinc paste/ติด duoderm Ferrell & Coyle , 2006; Twycross, Wilcock & Stark, 2009 •  พบได้ 5% ของผู้ป่วยมะเร็ง และ 10% ของผู้ป่วย มะเร็งระยะลุกลาม •  มักพบในช่วง 3-6 เดือนสุดท้ายก่อนเสียชีวิต •  มักพบในโรคต่างๆ ตามลำดับดังนี้ –  Breast cancer * พบประมาณ 25% –  Malignant melanoma –  Lung cancer –  Colorectal cancer Pain 
 Bleeding
 Bad smell
 Itching 
 Exudate 
 Psychosocial Self-image 
 Ferrell & Coyle , 2006; Twycross, Wilcock & Stark, 2009 •  Surgery : มักไม่ค่อยมีบทบาท เนื่องจากมี โอกาสมีเลือดออกมาก มีการติดเชื้อ •  Chemotherapy : อาจช่วยลดขนาดก้อน ถ้า เป็นชนิดที่ตอบสนองดีต่อ CMT •  Radiotherapy : ช่วยลดขนาดก้อน ลดภาวะ เลือดออกจากแผล ลดอาการปวด ลด exudate
  • 9. 4/25/16     9   •  ให้ยาลดปวดก่อนทำแผล –  Fentanyl inj. 25 mcg (0.5cc) SL 5-10 นาที –  Ketamine 0.25 ml ผสมน้ำผึ้งเป็น 2 ml SL 10 นาทีแล้วกลืนก่อนทำแผล 15 นาที •  Superficial pain –  Ice pack ประคบก่อนและหลังทำแผล 
 topical lidocaine ให้ทันทีหลังทำแผลเสร็จ –  ใช้ topical analgesia (opioid) ยาออกฤทธิ์โดย ไปจับกับ peripheral opioid receptor MO-IR บดผสม KY-gel ใส่ที่แผล (Back & Finley 1995) 
 MO inj 5 mg ผสม KY-gel 5 ml (Waller & Caroline,2000) •  Adrenaline ซุบก๊อส กด แผลนาน 5-10 นาที •  Sucalfate (ulsanic) 1 gm ผสมกับ water 1 ml +KY- gel 1 หยด apply บริเวณที่เลือดออก •  ใช้ sofatule อาบน้ำตามปกติ เป็น ผลดีต่อจิตใจทำให้ผู้ ป่วยรู้สึกว่าร่างกาย สะอาด Debridement necrotic tissue •  สำลีซุบ NSS จนชุ่มขัดถูเนื้อตายออก •  ใช้ syringe ดูด NSS 35 ml ใช้เข็มเบอร์ 18 ฉีด ล้างแผลช่วยชะล้างเนื้อตายออก •  วิธีการ autolytic โดยการใช้ผลิตภัณฑ์ Hydrogel Ferrell & Coyle , 2006; Twycross, Wilcock & Stark, 2009 •  บดยา metronidazole tab (200 mg) ให้ ละเอียดแล้วโรยบนแผล •  ใช้ gauze ชุุบ metronidazole inj จนชุ่มแล้วนำ ไปปิดหรือ pack เข้าไปภายในโพรงแผล สามารถลดกลิ่นได้ภายใน 2-7 วัน •  ระวังอย่าให้แผลแห้งมิฉะนั้นก๊อสจะติดกับแผล ถ้าลอกออกจะส่งผลให้ปวดและเลือดออกได้ •  เปลี่ยนวัสดุชั้นแรกวันละครั้ง •  ใช้วาสลีนก๊อสในการปิดแผลชั้น แรกก่อนและชั้นที่สองตามด้วย ท๊อ ปก๊อส •  ชั้นที่สองเปลี่ยนวันละ 2-3 ครั้ง ถ้า สารคัดปริมาณมาก •  ปกป้องผิวหนังรอบๆ แผลจากสาร คัดหลั่งโดยใช้ skin barriers