SlideShare a Scribd company logo
4/25/16	
  	
  
1	
  
รศ.พญ.ศรีเวียง ไพโรจน์กุล
ศูนย์การุณรักษ์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์
คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
Heart disease
Injuries
Cancer
AIDS
Malaria
Tuberculosis
Diarrheal disease
2009
1997
2001
1977
1967
1987
Thai Health Profile 2010
•  การก้าวกระโดดของเทคโนโลยี
•  แพทย์มีความเชี่ยวชาญมากขึ้น
•  ผู้ป่วยสามารถรอดชีวิตได้มากขึ้น
•  การดูผู้ป่วยเป็นส่วนๆตามความ
เชี่ยวชาญของแพทย์เฉพาะทาง
•  แพทย์ต้องทำทุกวิถีทางที่จะช่วย
ชีวิตผู้ป่วย
•  การเสียชีวิตคือความล้มเหลว
ทางการแพทย์
•  ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล
•  แพทย์ได้ทำการรักษาเต็มความสามารถเท่าที่
เทคโนโลยีที่มีอยู่ ไม่มีอะไรจะทำให้ได้อีก
•  แพทย์หมดหน้าที่ในการให้การดูแลแล้ว
•  ผู้ป่วยควรกลับไปดูแลตนเอง/เสียชีวิตที่บ้าน
•  ไม่ควรสูญเสียทรัพยากรให้แก่ผู้หมดหนทางรักษา
การแพทย์ในปัจจุบันที่สนใจแต่มิติทางกาย
ดูแลโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะโรคแบบแยกส่วน
การขาดความตระหนักในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
4/25/16	
  	
  
2	
  
• เราไม่เคยบอกผู้ป่วยว่า “เราไม่มีอะไรจะทำให้ได้อีก”
• “เราจะทำทุกอย่างเพื่อช่วยให้คุณอยู่อย่างมี

ความหมายที่สุดในเวลาที่เหลือ”
• “เราจะอยู่กับคุณจนกว่าเวลานั้นจะมาถึง”
WHO 2005
Life Prolonging Care
Palliative/
Hospice
Care
D
E
A
T
H
Disease Progression
Death
Life closure - preparedness Final hours of life care
Bereavement care
From Frank D. Ferris MD, San Diego; EPEC Course
Palliative Care
Bereavement careCurative
Disease discovery
•  ผู้ป่วยที่เป็นโรคที่รักษาไม่ได้
•  โรคดำเนินมาถึงระยะท้าย
•  มีเวลาเหลือไม่นาน
•  Advance cancers
•  Advance diseases with poor
prognosis:

- End-stage heart failure

- End-stage lung diseases

- End-stage renal failure

- End-stage neurological diseases
•  Dementia
•  HIV/AIDS
• ควรพิจารณาโดยอาศัยการประเมินทางคลินิก โรค
ร่วม สังคมและปัจจัยอื่นๆประกอบด้วย เพื่อให้เห็นใน
ภาพรวม
• ถ้าไม่ประหลาดใจ ควรเริ่มดำเนินการวางแผนการ
ดูแล เพื่อให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี และเตรียมตัว
สำหรับการเสื่อมถอยของโรค
Thomas K, et al. Prognostic Indicator Guidance 4th Ed, Oct 2011.
ผู้ป่วยที่มี advance disease หรือ progressive life
limiting condition ท่านจะประหลาดใจหรือไม่ถ้าผู้
ป่วยจะเสียชีวิตในไม่กี่เดือน/สัปดาห์/วัน ข้างหน้า
4/25/16	
  	
  
3	
  
Thomas K, et al. Prognostic Indicator Guidance 4th Ed, Oct 2011. Thomas K, et al. Prognostic Indicator Guidance 4th Ed, Oct 2011.
Thomas K, et al. Prognostic Indicator Guidance 4th Ed, Oct 2011. Thomas K, et al. Prognostic Indicator Guidance 4th Ed, Oct 2011.
Thomas K, et al. Prognostic Indicator Guidance 4th Ed, Oct 2011. Thomas K, et al. Prognostic Indicator Guidance 4th Ed, Oct 2011.
4/25/16	
  	
  
4	
  
Thomas K, et al. Prognostic Indicator Guidance 4th Ed, Oct 2011.
นาง ก. อายุ 54 ปี เป็น CA
colon มีการกระจายของ
มะเร็งไปที่ตับ มีตาเหลือง
ตัวเหลือง แพทย์แนะนำให้
ใส่ stent เพื่อลดอาการตัว
เหลือง ผู้ป่วยอ่อนเพลีย เบื่อ
อาหารและน้ำหนักลด
นาย ข. อายุ 76 ปี เป็น DM มี
CHF จาก ischemic heart
disease หอบเวลาเดิน ได้รับ
การรักษาด้วยยาขับปัสสวะและ
ยาขยายหลอดเลือดหลายขนาน
เข้าโรงพยาบาลด้วยอาการ
CHF 2 ครั้งในปีที่ผ่านมา
นาง ค. อายุ 81 ปี มี CHF,
osteoarthritis มีอาการหลงลืม
มี fracture hip จากการหกล้ม
เมื่อ 3 เดือนก่อน เดินไม่ได้ใช้รถ
เข็น และต้องมีผู้ดูแลเกือบตลอด
Cancer
Organ failure
Frialty/Dementia
WHO 2005
•  ยอมรับว่าความตายเป็นมิติหนึ่งของชีวิต
•  ไม่พยายามเร่งหรือยืดเยื้อความตาย
•  ปลดเปลื้องอาการปวดและอาการไม่สุขสบายต่างๆ
•  ให้การดูแลเพื่อช่วยให้ผู้ป่วยมีชีวิตอยู่อย่าง
activeที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ จนกว่าผู้ป่วยจะเสีย
ชีวิต
•  ประสานการดูแลด้านจิตสังคมและจิตวิญญาณ
•  จัดหาระบบการช่วยเหลือแก่ครอบครัว
•  ใช้การทำงานเป็นทีมเพื่อตอบสนองต่อความ
ต้องการของผู้ป่วยและครอบครัว
•  หลีกเลี่ยงการรักษาที่ไม่เกิดประโยชน์
74%	
  
70%	
  
70%	
  
67%	
  
46%	
  
47%	
  
28%	
  
25%	
  
Pain
Dyspnea
Constipation
Oral symp.
Cough
Insomnia
Delirium
N/V
Pain	
   Dyspnea	
   Cons4pa4on	
   Oral	
  symp.	
   Cough	
   Insomnia	
   Delirium	
   N/V	
  
ศูนย์การุณรักษ์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ 2555
4/25/16	
  	
  
5	
  
•  การประเมินอย่าง

ถี่ถ้วนและถูกต้อง
•  การประเมินอย่างต่อ
เนื่อง
•  การทบทวนแผน

การรักษาเป็นระยะ
Palliative surgery:
•  Debulking surgery
•  Immobilize fractures
•  Bowel obstruction:
resection, bypass,
stents, ostomy
•  Spinal decompression
& stabilization
Palliative RT:
•  Control of bleeding
•  Relief of obst: SVC, AW
•  Pain control: bone mets
•  Shrinkage of tumor
mass: brain metastasis
Treat reversible conditions
Symptom management of incurable conditions
Palliative CMT

Manage anxiety, depression
Emergency management
การสูญเสียภาพ
ลักษณ์
การสูญเสีย
ด้านสุขภาพ
ความวิตก
กังวลเรื่อง
เศรษฐกิจ
กลัวความ
ทุกข์ทรมาน
กลัวไม่รู้ว่าจะ
เผชิญกับอะไร
การสูญเสีย
ครอบครัวและ
สมบัติทุกอย่างที่มี
การสูญเสีย
ความเป็นอิสระ
การพึ่งพิงตนเอง
Cicely	
  Saunders,	
  1967	
  
การสูญเสีย
บทบาทหน้าที่
จิตสังคม
•  บุคลิก ลักษณะ
•  ความสนใจ งานอดิเรก
•  ศาสนา
•  อาชีพ
•  ครอบครัว
•  ความเชื่อ
•  ความสัมพันธ์
จิตวิญญาณ
•  การค้นหาความหมาย
ของชีวิต/ความตาย
•  คุณค่า
•  การให้อภัย
•  ความรัก ความเข้าใจ
•  ความเชื่อทางศาสนา
4/25/16	
  	
  
6	
  
•  สอนทักษะในการให้การพยาบาลผู้ป่วย
•  การดูแลประคับประคองด้านจิตใจ
•  การจัดหาบริการทางการแพทย์/การส่งต่อเครือ
ข่าย
•  การช่วยเหลือด้านจิตสังคม
•  การช่วยแก้ปัญหาข้อขัดแย้งต่างๆในครอบครัว
•  Bereavement counseling
•  หอบเจ็บแน่นหน้าอก
•  ได้รับยา chemotherapy 2
ครั้ง ไม่ตอบสนอง มีภาวะ
แทรกซ้อนติดเชื้อรุนแรง มี
septic shock
•  ยุติการให้เคมีบำบัด
•  หายใจไม่ออก ไอมาก นอนไม่
ได้ ต้องนั่งหลับ
•  ปรึกษา palliative care
Symptom control:
- MO 20 mg/d

- Midazolam 

1 mg/h at night

0.5 mg/h day time
- Non-pharm Rx
of dyspnea
Advance care
planning
Died peacefully
2 months later

More Related Content

What's hot

ขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอก
ขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอกขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอก
ขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอก
mutod
 
การดูแลความสะอาดสุขสบาย
การดูแลความสะอาดสุขสบายการดูแลความสะอาดสุขสบาย
การดูแลความสะอาดสุขสบาย
Nakhon Pathom Rajabhat University
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
Utai Sukviwatsirikul
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
Utai Sukviwatsirikul
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
Prachaya Sriswang
 
สมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวสมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัว
Thanyalak Chanmai
 
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูคู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
Utai Sukviwatsirikul
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการAobinta In
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Jo Smartscience II
 
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
CAPD AngThong
 
We can do palliative care
We can do palliative careWe can do palliative care
We can do palliative care
Khanawut Nitikul
 
1370228618
13702286181370228618
1370228618
Sumalee Klom
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศsomdetpittayakom school
 
ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia
ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia
ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia
Utai Sukviwatsirikul
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
Utai Sukviwatsirikul
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
Nattaka_Su
 

What's hot (20)

ขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอก
ขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอกขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอก
ขั้นตอนการให้บริการ - ผู้ป่วยนอก
 
การดูแลความสะอาดสุขสบาย
การดูแลความสะอาดสุขสบายการดูแลความสะอาดสุขสบาย
การดูแลความสะอาดสุขสบาย
 
ความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพความรู้การตรวจสุขภาพ
ความรู้การตรวจสุขภาพ
 
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
ยาสามัญประจำบ้านแผนปจจุบันและแผนโบราณ
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
Ppt. วัณโรค
Ppt. วัณโรคPpt. วัณโรค
Ppt. วัณโรค
 
สมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัวสมุนไพรใกล้ตัว
สมุนไพรใกล้ตัว
 
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
คู่มือการสนทนาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร สู่ประชาคมอาเซียน
 
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุคู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
คู่มือการดูแลตนเอง โรคความดันโลหิตสูงในผู้สูงอายุ
 
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟูคู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
คู่มือการดูแลผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมองระยะฟื้นฟู
 
ทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการทุพโภชนาการ
ทุพโภชนาการ
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังการออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
การออกกำลังกายในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
We can do palliative care
We can do palliative careWe can do palliative care
We can do palliative care
 
1370228618
13702286181370228618
1370228618
 
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 
ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia
ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia
ภาวะสมองเสื่อม Clinical Practice Guidelines : Dementia
 
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุอาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
อาการที่สําคัญในผู้สูงอายุ
 
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการแผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
แผ่นสไลด์ - ความหมายและความสำคัญของอาหารและโภชนาการ
 
Ppt.dm
Ppt.dmPpt.dm
Ppt.dm
 

Similar to PC01: Concept Palliative Care

การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
เทพไซเบอร์ฯ ร้านค้าดอทคอม
 
Sample 4 lifeyes
Sample 4 lifeyesSample 4 lifeyes
Sample 4 lifeyes
Phansan Ubalee
 
PC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative carePC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative care
CAPD AngThong
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
60941
 
Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
Kamol Khositrangsikun
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Krongdai Unhasuta
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Krongdai Unhasuta
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Krongdai Unhasuta
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
Vorawut Wongumpornpinit
 
Pearr osteosarcoma
Pearr osteosarcomaPearr osteosarcoma
Pearr osteosarcoma
Puri Apipan
 
Case conference Ext.ปุณณพัฒน์ 19 ก.พ. 61
Case conference Ext.ปุณณพัฒน์ 19 ก.พ. 61Case conference Ext.ปุณณพัฒน์ 19 ก.พ. 61
Case conference Ext.ปุณณพัฒน์ 19 ก.พ. 61
Toey Sutisa
 
Centre management - PD quality นพ.สกานต์
Centre management -  PD quality นพ.สกานต์Centre management -  PD quality นพ.สกานต์
Centre management - PD quality นพ.สกานต์
Kamol Khositrangsikun
 
Papillary thyroid carcinoma (Thai)
Papillary thyroid carcinoma (Thai)Papillary thyroid carcinoma (Thai)
Papillary thyroid carcinoma (Thai)
Patinya Yutchawit
 
Orthopedic conference jekita
Orthopedic conference jekitaOrthopedic conference jekita
Orthopedic conference jekita
FonJekita
 
Thailand guideline for hepatocellular carcinoma
Thailand guideline for hepatocellular carcinomaThailand guideline for hepatocellular carcinoma
Thailand guideline for hepatocellular carcinoma
Utai Sukviwatsirikul
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
Utai Sukviwatsirikul
 

Similar to PC01: Concept Palliative Care (20)

การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
การป้องกันโรคไตแบบบูรณาการ “งานของหมอและประชาชน”
 
Sample 4 lifeyes
Sample 4 lifeyesSample 4 lifeyes
Sample 4 lifeyes
 
PC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative carePC 07 :Geriatric palliative care
PC 07 :Geriatric palliative care
 
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdftapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
tapanee2500,+Journal+manager,+Aw+CVT+journal+No27-2-4.pdf
 
Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
Hand out km & best practice อุดรธานี พฤศจิกายน 2557
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
 
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdfGeriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
Geriatric Trauma Nursing -- 2022.pdf
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสานแนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
แนวทางการดูแลผู้ป่วยอัมพฤกษ์อัมพาตด้วยการแพทย์ผสมผสาน
 
Pearr osteosarcoma
Pearr osteosarcomaPearr osteosarcoma
Pearr osteosarcoma
 
Pearr osteosarcoma
Pearr osteosarcomaPearr osteosarcoma
Pearr osteosarcoma
 
Clu1
Clu1Clu1
Clu1
 
Km pal pnk jan 2010
Km pal pnk jan 2010Km pal pnk jan 2010
Km pal pnk jan 2010
 
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.การจัดการโรคDm&htใน อปท.
การจัดการโรคDm&htใน อปท.
 
Case conference Ext.ปุณณพัฒน์ 19 ก.พ. 61
Case conference Ext.ปุณณพัฒน์ 19 ก.พ. 61Case conference Ext.ปุณณพัฒน์ 19 ก.พ. 61
Case conference Ext.ปุณณพัฒน์ 19 ก.พ. 61
 
Centre management - PD quality นพ.สกานต์
Centre management -  PD quality นพ.สกานต์Centre management -  PD quality นพ.สกานต์
Centre management - PD quality นพ.สกานต์
 
Papillary thyroid carcinoma (Thai)
Papillary thyroid carcinoma (Thai)Papillary thyroid carcinoma (Thai)
Papillary thyroid carcinoma (Thai)
 
Orthopedic conference jekita
Orthopedic conference jekitaOrthopedic conference jekita
Orthopedic conference jekita
 
Thailand guideline for hepatocellular carcinoma
Thailand guideline for hepatocellular carcinomaThailand guideline for hepatocellular carcinoma
Thailand guideline for hepatocellular carcinoma
 
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
แนวทางการดูแลผู้ป่วยมะเร็งตับในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2558
 

More from CAPD AngThong

การจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pcการจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pc
CAPD AngThong
 
PC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACPPC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACP
CAPD AngThong
 
PC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifePC10:Last hours of life
PC10:Last hours of life
CAPD AngThong
 
PC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pcPC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pc
CAPD AngThong
 
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationPC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
CAPD AngThong
 
PC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative carePC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative care
CAPD AngThong
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptoms
CAPD AngThong
 
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative carePC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
CAPD AngThong
 
PC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcPC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pc
CAPD AngThong
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PC
CAPD AngThong
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1
CAPD AngThong
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
CAPD AngThong
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรัง
CAPD AngThong
 
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
CAPD AngThong
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
CAPD AngThong
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
CAPD AngThong
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
CAPD AngThong
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
CAPD AngThong
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
CAPD AngThong
 
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
CAPD AngThong
 

More from CAPD AngThong (20)

การจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pcการจัดระบบบริการ Pc
การจัดระบบบริการ Pc
 
PC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACPPC12: Goal setting and ACP
PC12: Goal setting and ACP
 
PC10:Last hours of life
PC10:Last hours of lifePC10:Last hours of life
PC10:Last hours of life
 
PC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pcPC11. communication skills in pc
PC11. communication skills in pc
 
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedationPC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
PC09 : Ethics and law in eol and pall sedation
 
PC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative carePC08 : Pediatric palliative care
PC08 : Pediatric palliative care
 
PC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptomsPC05 : Management of nonpain symptoms
PC05 : Management of nonpain symptoms
 
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative carePC04 : Management of dyspnea in palliative care
PC04 : Management of dyspnea in palliative care
 
PC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pcPC03 : Pain management in pc
PC03 : Pain management in pc
 
PC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PCPC02 :Assessment in PC
PC02 :Assessment in PC
 
HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1HandOut Nutrition รุ่น1
HandOut Nutrition รุ่น1
 
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานีฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
ฺการดำเนินการCKD Clinic ในจังหวัดปทุมธานี
 
ยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรังยาในโรคไตเรื้อรัง
ยาในโรคไตเรื้อรัง
 
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
แนวทางการดำเนินการCKD Clinicในเขตบริการสุขภาพที่ ๔
 
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังโภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
โภชนบำบัดในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง
 
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559Ckd เขต 4 เมาายน 2559
Ckd เขต 4 เมาายน 2559
 
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
introduction : ไตของเรา เราต้องรู้
 
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
5.1นพ.สุรศักดิ์ กันตชูเวสศิริ
 
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช4.2อ.ธัญญลักษณ์  ธนโรจนวณิช
4.2อ.ธัญญลักษณ์ ธนโรจนวณิช
 
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
รวม Ckd introduction guideline and ckd clinic model of thailand with kpi thai...
 

PC01: Concept Palliative Care

  • 1. 4/25/16     1   รศ.พญ.ศรีเวียง ไพโรจน์กุล ศูนย์การุณรักษ์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น Heart disease Injuries Cancer AIDS Malaria Tuberculosis Diarrheal disease 2009 1997 2001 1977 1967 1987 Thai Health Profile 2010 •  การก้าวกระโดดของเทคโนโลยี •  แพทย์มีความเชี่ยวชาญมากขึ้น •  ผู้ป่วยสามารถรอดชีวิตได้มากขึ้น •  การดูผู้ป่วยเป็นส่วนๆตามความ เชี่ยวชาญของแพทย์เฉพาะทาง •  แพทย์ต้องทำทุกวิถีทางที่จะช่วย ชีวิตผู้ป่วย •  การเสียชีวิตคือความล้มเหลว ทางการแพทย์ •  ค่าใช้จ่ายที่เพิ่มขึ้นอย่างมหาศาล •  แพทย์ได้ทำการรักษาเต็มความสามารถเท่าที่ เทคโนโลยีที่มีอยู่ ไม่มีอะไรจะทำให้ได้อีก •  แพทย์หมดหน้าที่ในการให้การดูแลแล้ว •  ผู้ป่วยควรกลับไปดูแลตนเอง/เสียชีวิตที่บ้าน •  ไม่ควรสูญเสียทรัพยากรให้แก่ผู้หมดหนทางรักษา การแพทย์ในปัจจุบันที่สนใจแต่มิติทางกาย ดูแลโดยผู้เชี่ยวชาญเฉพาะโรคแบบแยกส่วน การขาดความตระหนักในการดูแลผู้ป่วยระยะสุดท้าย
  • 2. 4/25/16     2   • เราไม่เคยบอกผู้ป่วยว่า “เราไม่มีอะไรจะทำให้ได้อีก” • “เราจะทำทุกอย่างเพื่อช่วยให้คุณอยู่อย่างมี
 ความหมายที่สุดในเวลาที่เหลือ” • “เราจะอยู่กับคุณจนกว่าเวลานั้นจะมาถึง” WHO 2005 Life Prolonging Care Palliative/ Hospice Care D E A T H Disease Progression Death Life closure - preparedness Final hours of life care Bereavement care From Frank D. Ferris MD, San Diego; EPEC Course Palliative Care Bereavement careCurative Disease discovery •  ผู้ป่วยที่เป็นโรคที่รักษาไม่ได้ •  โรคดำเนินมาถึงระยะท้าย •  มีเวลาเหลือไม่นาน •  Advance cancers •  Advance diseases with poor prognosis:
 - End-stage heart failure
 - End-stage lung diseases
 - End-stage renal failure
 - End-stage neurological diseases •  Dementia •  HIV/AIDS • ควรพิจารณาโดยอาศัยการประเมินทางคลินิก โรค ร่วม สังคมและปัจจัยอื่นๆประกอบด้วย เพื่อให้เห็นใน ภาพรวม • ถ้าไม่ประหลาดใจ ควรเริ่มดำเนินการวางแผนการ ดูแล เพื่อให้ผู้ป่วยมีคุณภาพชีวิตที่ดี และเตรียมตัว สำหรับการเสื่อมถอยของโรค Thomas K, et al. Prognostic Indicator Guidance 4th Ed, Oct 2011. ผู้ป่วยที่มี advance disease หรือ progressive life limiting condition ท่านจะประหลาดใจหรือไม่ถ้าผู้ ป่วยจะเสียชีวิตในไม่กี่เดือน/สัปดาห์/วัน ข้างหน้า
  • 3. 4/25/16     3   Thomas K, et al. Prognostic Indicator Guidance 4th Ed, Oct 2011. Thomas K, et al. Prognostic Indicator Guidance 4th Ed, Oct 2011. Thomas K, et al. Prognostic Indicator Guidance 4th Ed, Oct 2011. Thomas K, et al. Prognostic Indicator Guidance 4th Ed, Oct 2011. Thomas K, et al. Prognostic Indicator Guidance 4th Ed, Oct 2011. Thomas K, et al. Prognostic Indicator Guidance 4th Ed, Oct 2011.
  • 4. 4/25/16     4   Thomas K, et al. Prognostic Indicator Guidance 4th Ed, Oct 2011. นาง ก. อายุ 54 ปี เป็น CA colon มีการกระจายของ มะเร็งไปที่ตับ มีตาเหลือง ตัวเหลือง แพทย์แนะนำให้ ใส่ stent เพื่อลดอาการตัว เหลือง ผู้ป่วยอ่อนเพลีย เบื่อ อาหารและน้ำหนักลด นาย ข. อายุ 76 ปี เป็น DM มี CHF จาก ischemic heart disease หอบเวลาเดิน ได้รับ การรักษาด้วยยาขับปัสสวะและ ยาขยายหลอดเลือดหลายขนาน เข้าโรงพยาบาลด้วยอาการ CHF 2 ครั้งในปีที่ผ่านมา นาง ค. อายุ 81 ปี มี CHF, osteoarthritis มีอาการหลงลืม มี fracture hip จากการหกล้ม เมื่อ 3 เดือนก่อน เดินไม่ได้ใช้รถ เข็น และต้องมีผู้ดูแลเกือบตลอด Cancer Organ failure Frialty/Dementia WHO 2005 •  ยอมรับว่าความตายเป็นมิติหนึ่งของชีวิต •  ไม่พยายามเร่งหรือยืดเยื้อความตาย •  ปลดเปลื้องอาการปวดและอาการไม่สุขสบายต่างๆ •  ให้การดูแลเพื่อช่วยให้ผู้ป่วยมีชีวิตอยู่อย่าง activeที่สุดเท่าที่จะเป็นไปได้ จนกว่าผู้ป่วยจะเสีย ชีวิต •  ประสานการดูแลด้านจิตสังคมและจิตวิญญาณ •  จัดหาระบบการช่วยเหลือแก่ครอบครัว •  ใช้การทำงานเป็นทีมเพื่อตอบสนองต่อความ ต้องการของผู้ป่วยและครอบครัว •  หลีกเลี่ยงการรักษาที่ไม่เกิดประโยชน์ 74%   70%   70%   67%   46%   47%   28%   25%   Pain Dyspnea Constipation Oral symp. Cough Insomnia Delirium N/V Pain   Dyspnea   Cons4pa4on   Oral  symp.   Cough   Insomnia   Delirium   N/V   ศูนย์การุณรักษ์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์ 2555
  • 5. 4/25/16     5   •  การประเมินอย่าง
 ถี่ถ้วนและถูกต้อง •  การประเมินอย่างต่อ เนื่อง •  การทบทวนแผน
 การรักษาเป็นระยะ Palliative surgery: •  Debulking surgery •  Immobilize fractures •  Bowel obstruction: resection, bypass, stents, ostomy •  Spinal decompression & stabilization Palliative RT: •  Control of bleeding •  Relief of obst: SVC, AW •  Pain control: bone mets •  Shrinkage of tumor mass: brain metastasis Treat reversible conditions Symptom management of incurable conditions Palliative CMT
 Manage anxiety, depression Emergency management การสูญเสียภาพ ลักษณ์ การสูญเสีย ด้านสุขภาพ ความวิตก กังวลเรื่อง เศรษฐกิจ กลัวความ ทุกข์ทรมาน กลัวไม่รู้ว่าจะ เผชิญกับอะไร การสูญเสีย ครอบครัวและ สมบัติทุกอย่างที่มี การสูญเสีย ความเป็นอิสระ การพึ่งพิงตนเอง Cicely  Saunders,  1967   การสูญเสีย บทบาทหน้าที่ จิตสังคม •  บุคลิก ลักษณะ •  ความสนใจ งานอดิเรก •  ศาสนา •  อาชีพ •  ครอบครัว •  ความเชื่อ •  ความสัมพันธ์ จิตวิญญาณ •  การค้นหาความหมาย ของชีวิต/ความตาย •  คุณค่า •  การให้อภัย •  ความรัก ความเข้าใจ •  ความเชื่อทางศาสนา
  • 6. 4/25/16     6   •  สอนทักษะในการให้การพยาบาลผู้ป่วย •  การดูแลประคับประคองด้านจิตใจ •  การจัดหาบริการทางการแพทย์/การส่งต่อเครือ ข่าย •  การช่วยเหลือด้านจิตสังคม •  การช่วยแก้ปัญหาข้อขัดแย้งต่างๆในครอบครัว •  Bereavement counseling •  หอบเจ็บแน่นหน้าอก •  ได้รับยา chemotherapy 2 ครั้ง ไม่ตอบสนอง มีภาวะ แทรกซ้อนติดเชื้อรุนแรง มี septic shock •  ยุติการให้เคมีบำบัด •  หายใจไม่ออก ไอมาก นอนไม่ ได้ ต้องนั่งหลับ •  ปรึกษา palliative care Symptom control: - MO 20 mg/d
 - Midazolam 
 1 mg/h at night
 0.5 mg/h day time - Non-pharm Rx of dyspnea Advance care planning Died peacefully 2 months later