SlideShare a Scribd company logo
1. กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนเป็นอย่างไรและสิ่งใด
เป็นพื้นฐานที่สาคัญในการเปลี่ยนกระบวน ทัศน์ดังกล่าว
กระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอน เป็นกระบวนการเปลี่ยนแปลง
จากหลักการเรียนรู้และการสอนมาสู่การวางแผนสาหรับการจัดการเรียนการสอน
และกิจกรรม การเรียน การพัฒนาและการจัดการเทคโนโลยีการเรียนรู้ที่
เหมาะสม
ด้วยเหตุนี้จึงเกิดการเปลี่ยนกระบวนทัศน์จากเดิมคือเน้นครูเป็น
ศูนย์กลาง กลายเป็นการเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางแทน เพื่อทาให้ผู้เรียนเกิดการ
เรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งกระบวนทัศน์ของการออกแบบการสอนจะอยู่
บนพื้นฐานทฤษฎีการเรียนรู้ โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ คือกระบวนการเรียนรู้นั้น
จะเกิดขึ้นจากตัวของผู้เรียนเองนั่นเอง
2. พื้นฐานทฤษฎีการเรียนรู้ที่สาคัญในการออกแบบการสอน
มีอะไรบ้างและมีสาระสาคัญอย่างไรและมีความแตกต่างกันอย่างไร
พื้นฐานทฤษฎีการเรียนรู้ที่สาคัญในการออกแบบ
 การสอนมี 3 ทฤษฎี ดังนี้
1. ) พื้นฐานทฤษฎีแนวพฤติกรรมนิยม มุ่งที่จะศึกษาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่าง
สิ่งเร้า (Stimulus) กับการตอบสนอง (Response)หรือพฤติกรรมที่แสดงออกมาซึ่ง
จะให้ความสนใจกับพฤติกรรมที่สามารถวัดและสังเกตจากภายนอกได้และเน้น
ความสาคัญของสิ่งแวดล้อมเพราะเชื่อว่าสิ่งแวดล้อมจะเป็นตัวที่กาหนดพฤติกรรม
ในแนวคิดของกลุ่มนี้จะเชื่อว่า การเรียนรู้จะเกิดจากการเชื่อมโยงระหว่าง
สิ่งเร้ากับการตอบสนองหรือการแสดงพฤติกรรมนิยมและถ้าหากได้รับการเสริมแรง
จะทาให้มีการแสดงพฤติกรรมนั้น ถี่มากขึ้น
            นอกจากนี้ ตามแนวคิดของกลุ่มพฤติกรรมนิยมการเรียนรู้ หมายถึง การ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมซึ่งเป็นผลเองมาจากประสบการณ์ที่คนเรามีปฏิสัมพันธ์กับ
สิ่งแวดล้อมหรือเกิดจากการฝึกหัด
2.) พื้นฐานทฤษฎีแนวพุทธิปัญญานิยม
    นักจิตวิทยากลุ่มพุทธิปัญญานิยม (Cognitivism) เชื่อว่าการเรียนรู้เป็นสิ่งที่
มากกว่าผลของการเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าการตอบสนอง โดยให้ความสนใจ
ในกระบวนการภายในที่เรียกว่า ความรู้ความเข้าใจ หรือการรู้คิดของมนุษย์
การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงความรู้ของ
ผู้เรียนทั้งทางด้านปริมาณและด้านคุณภาพ คือนอกจากผู้เรียนจะมีสิ่งที่เรียนรู้
เพิ่มขึ้นแล้ว ยังสามารถจัดรวบรวม เรียบเรียงสิ่งที่เรียนรู้เหล่านั้นให้เป็นระเบียบ
เพื่อให้สามารถเรียกกลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการ และสามารถถ่ายโยงความรู้และ
ทักษะเดิม หรือสิ่งที่เรียนรู้มาแล้ว ไปสู่บริบทและปัญหาใหม่
การเรียนรู้ตามแนวพุทธิปัญญา หมายถึง การเปลี่ยนแปลงความรู้ของ
ผู้เรียนทั้งทางด้านปริมาณและด้านคุณภาพ คือนอกจากผู้เรียนจะมีสิ่งที่เรียนรู้
เพิ่มขึ้นแล้ว ยังสามารถจัดรวบรวม เรียบเรียงสิ่งที่เรียนรู้เหล่านั้นให้เป็นระเบียบ
เพื่อให้สามารถเรียกกลับมาใช้ได้ตามที่ต้องการ และสามารถถ่ายโยงความรู้และ
ทักษะเดิม หรือสิ่งที่เรียนรู้มาแล้ว ไปสู่บริบทและปัญหาใหม่
3. )พื้นฐานทฤษฎีแนวคอนสตรัคติวิสต์
 ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์มีรากฐานความเชื่อมาจากการพัฒนาการทางด้านพุทธิ
ปัญญา (Cognitive Development) ที่ว่าความรู้เกิดจากประสบการณ์ และ
กระบวนการในการสร้างความรู้ หรือเกิดจากการกระทา โดยที่ผู้เรียนสร้างเสริม
ความรู้ผ่านกระบวนการทางจิตวิทยาด้วยตนเอง ครูผู้สอนไม่สามารถปรับเปลี่ยน
โครงสร้างทางปัญญาของผู้เรียนได้
ตารางเปรียบเทียบความแตกต่างของพื้นฐานทฤษฎีการเรียนรู้
                          พฤติกรรมนิยม พุทธิปัญญานิยม           คอนสตรัคติวิสต์
    ประเด็น ยนรูพฤติกรรมนินแปลง พุทธิ่ยปัญญานิยมี่ถูก การเปลี่ยนแปลงอย่างมี ติวิสต์
          การเรี ้คืออะไร การเปลี่ย
                                    ยม การเปลี นแปลงของความรู้ท    คอนสตรัค
การเรียนรู้คือ       การเปลี่ยพฤติกรรมที่เกิดขึ้น เก็บไว้ในแปลงของความรู้ ความหมายเกี่ย่ยวกับความรู้ที่ างมี
                                นแปลง การเปลี่ย นหน่วยความจา                      การเปลี นแปลงอย่
                                                                                สร้างขึ้น
อะไร                 พฤติกรรมที่                ที่ถูกเก็บไว้ในหน่วยความจา ความหมายเกี่ยวกับ
             กระบวนการเรียนรู้ Antecedent             การใส่ใจ การเข้ารหัส      การร่วมมือกันแก้ปัญหา
             คืออะไร เกิดขึ้น behavior                       การเรียกกลับของ      ความรู้ที่สร้างขึ้น
กระบวนการ            Antecedentconsequence การใส่ใจ   สารสนเทศในหน่วยความจา ส การร่วมมือกัน
                                                                     การเข้ารหั
เรียนรู้คืออะไร behaviorบริหารจัดการสิ่งเร้าที่ นาเสนอสารสนเทศ บของ แนะนาและให้รูปแบบ
             บทบาทของผู้สอน                               การเรียกกลั             แก้ปัญหา
             คืออะไร
                     consequenceผู้เรียน สารสนเทศในหน่วยความจา
                               จะให้

บทบาทของ             บริหารจัดการสิ่ง นาเสนอสารสนเทศ                              แนะนาและให้รูปแบบ
ผู้สอนคืออะไร เร้า้เที่จะให้ผ่งู้เรียทีนรูจัดให้ รอรับสารสนเทศ
             บทบาทของผู รียน รับสิ เร้า ่ค                                      สร้างความรู้อย่างตื่นตัว


บทบาทของ             รับสิ่งเร้าทีครูจัด
                                  ่          รอรับสารสนเทศ                      สร้างความรู้อย่างตื่นตัว
ผู้เรียน             ให้
3. ให้วิเคราะห์และวิพากษ์จุดเด่นและจุดด้อยของการ
ออกแบบการสอนที่มีพื้นฐานจากทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรม
นิยม พุทธิปัญญานิยม และคอนสตรัคติวิสต์
กลุ่มพฤติกรรมนิยม
           จุดเด่น                                      จุดด้อย
บทบาทของผู้เรียนเป็นผู้รับข้อมูล          ทฤษฎีพฤติกรรมนิยมมุ่งเน้นพฤติกรรม
สารสนเทศ ซึ่งถูกถ่ายทอดจากครู             ที่สังเกตได้เท่านั้น โดยไม่ได้สนใจ
โดยตรง ครูจะสร้างสิ่งแวดล้อมที่ผู้เรียน   กระบวนการคิดหรือปัญญาของมนุษย์
จะต้องเรียนรู้ การอออกแบการสอนและ         จึงทาให้ผู้เรียนไม่ได้ฝึกกระบวนการคิด
สื่อ                                      ที่จะทาให้เกิดการสร้างความรู้ที่เกิดขึ้น
                                          ด้วยตัวผู้เรียนเอง มีแต่การป้อนความรู้
                                          จากครูผู้สอน
กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
               จุดเด่น                                   จุดด้อย
การเรียนรู้เป็นการเปลี่ยนแปลงความรู้     ยังเป็นการเรียนรู้แบบท่องจาอยู่ และยัง
ของผู้เรียน ทั้งด้านปัญญาและคุณภาพ       รอรับสารสนเทศจากครูผู้สอน และการ
หรือสิ่งที่ได้เรียนรู้มาจัดระเบียบ จัด
                                         ใช้สื่อนั้นผู้เรียนไม่ได้เกิดการเรียนรู้จาก
หมวดหมู่ เพื่อที่จะสามารถนาความรู้ที่
ได้จัดเรียงนั้นกลับมาใช้ตามที่ต้องการ    สื่อนั้นๆด้วย
และสามารถเชื่อมโยงความรู้ได้
กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์
               จุดเด่น                                              จุดด้อย
ให้ความสาคัญกับผู้เรียน โดยผู้เรียนมี        ถ้าหากผู้สอนไม่ใส่ใจในการสร้าง
ส่วนร่วมกับสื่อการเรียนรู้ เน้นให้ผู้เรียน   สิ่งแวดล้อมการเรียนรู้ให้กับผู้เรียน โดยไม่
เกิดกระบวนการเรียนรู้ได้ด้วยตัวเอง เกิด      ชี้แจงให้ผู้เรียนเข้าใจได้ตรงกัน จะทาให้ไม่
ทักษะกระบวนการคิด วิเคราะห์แก้ไข             เป็นไปตามเป้าหมายที่ครูตั้งไว้และผู้เรียนก็
ปัญหาต่างๆได้ด้วยตนเอง โดยมีครูเป็นผู้       จะเกิดความเข้าใจที่แตกต่างกันด้วย
คอยชี้แนะแนวทาง
4. จากสิ่งที่กาหนดต่อไปนีให้ท่านจาแนกประเภทตามลักษณะการ
                         ้
ออกแบบโดยระบุเกณฑ์และเหตุผลทีใช้ในการจาแนกด้วย ชุดการสอน
                                  ่
ชุดสร้างความรู้ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน มัลติมีเดียทีพัฒนาตามแนว
                                                ่
คอนสตรัคติวสต์ บทเรียนโปรแกรม เว็บเพื่อการสอนสิ่งแวดล้อม
               ิ
ทางการเรียนรูบนเครือข่าย การเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้
                 ้
จาแนกตามทฤษฎีการเรียนรู้ คือ
1) กลุ่มพฤติกรรมนิยม
 ชุดการสอน คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เว็บเพื่อการสอน บทเรียนโปรแกรม ชุดสร้าง
ความรู้
 เหตุผลคือ ผู้สอนบริหารจัดการสิ่งเร้าที่จะให้ผู้เรียน และผู้เรียนรอรับสิ่งเล้าที่ครูจัดให้
2) กลุ่มพุทธิปัญญานิยม
ชุดสร้างความรู้
เหตุผลคือ ผู้สอนนาเสนอสารสนเทศ และผู้เรียนรอรับสารสนเทศจากครูผู้สอน โดย
เน้นการเปลี่ยนแปลงของความรู้ที่ถูกเก็บไว้ในหน่วยความจา
3) กลุ่มคอนสตรัคติวิสต์
ชุดสร้างความรู้ มัลติมีเดียที่พัฒนาตามแนว
 คอนสตรัคติวิสต์ สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย
การเรียนแบบร่วมมือกันเรียนรู้
เหตุผลคือ ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ด้วยตนเอง และมีครูเป็นผู้คอยชี้แนะแนวทาง
สมาชิกในกลุ่ม
      คณิตศาสตรศึกษา
นายเกษมสันต์ แสนศิลป์ 543050008-4
นายปรีดา     ชายทวีป 543050033-5
นายวีระยุทธ แสนพินิจ 543050063-6

More Related Content

What's hot

ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศsomdetpittayakom school
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
wanchalerm sotawong
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
Kru Tew Suetrong
 
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
Bhayubhong
 
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
Oui Nuchanart
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
Wichai Likitponrak
 
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษาจิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จารุวรรณ ชื่นใจชน
 
โครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนาโครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนา
Ao Krubz
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพ
ratchadaphun
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )พัน พัน
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
จตุรพล ชานันโท
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
Proud N. Boonrak
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
Anucha Somabut
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียงWareerut Hunter
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
Ploykarn Lamdual
 
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
NU
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์dnavaroj
 
งานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนSukanya Polratanamonkol
 

What's hot (20)

ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
ปกนวัตกรรมการปฏิบัติที่เป็นเลิศ
 
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
ตัวอย่างการสร้างข้อสอบ
 
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรงการศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
การศึกษารายกรณี ครูธัญญา ซื่อตรง
 
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐานการเรียนรู้
 
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5  เรื่อง ...
การยกระดับผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนรายวิชาชีววิทยา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรื่อง ...
 
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืชบทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
บทที่4ตอบสนองและฮอร์โมนพืช
 
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษาจิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
 
โครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนาโครงร่างสัมมนา
โครงร่างสัมมนา
 
โครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพโครงงานอาชีพ
โครงงานอาชีพ
 
ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)ระบบประสาท (Nervous System)
ระบบประสาท (Nervous System)
 
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
ฮอร์โมนพืช ( Plant hormones )
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครูใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
ใบงานการย่อยอาหาร Version คุณครู
 
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยมปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
ปรัชญาพิพัฒนาการนิยม
 
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
การออกแบบการจัดการเรียนการสอนและการเรียนรู้ ในศตวรรษที่ 21
 
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
1.ตัวอย่างแผนบูรณาการเศรษฐกิจพอเพียง
 
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถามIS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
IS1 - 1.2 การตั้งประเด็นปัญหาหรือคำถาม
 
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติการสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
การสร้างเครื่องมือวัดทักษะหรือการปฏิบัติ
 
รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์รูปร่างลักษณะของเซลล์
รูปร่างลักษณะของเซลล์
 
งานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียนงานธุรการโรงเรียน
งานธุรการโรงเรียน
 

Viewers also liked

นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9maxcrycry
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยมทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
Behavioral theories
Behavioral theoriesBehavioral theories
Behavioral theories
Isaiah Thuesayom
 
คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์Cholthicha JaNg
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่jDarika Roopdee
 
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์chanchirajap
 
Wolfgang kohler
Wolfgang kohlerWolfgang kohler
Wolfgang kohler
Wichapas Sungkapes
 
Ofna
OfnaOfna
News Flash April 2013 - abm & associates
News Flash April 2013 - abm & associatesNews Flash April 2013 - abm & associates
News Flash April 2013 - abm & associates
Guruprasad Shetty
 
2012 youth darts summer camp
2012 youth darts summer camp2012 youth darts summer camp
2012 youth darts summer campkelwhite
 
Mandatory hippa and information security
Mandatory hippa and information securityMandatory hippa and information security
Mandatory hippa and information securityHiggi123
 
Durgaprasad Career Management through Information Resources
Durgaprasad Career Management through Information  ResourcesDurgaprasad Career Management through Information  Resources
Durgaprasad Career Management through Information Resources
Durga Prasad
 
Arts 6
Arts 6Arts 6
Arts 6
Ric Dagdagan
 
Nota
NotaNota
惠南镇日间照料中心设计方案2
惠南镇日间照料中心设计方案2惠南镇日间照料中心设计方案2
惠南镇日间照料中心设计方案2yongnianlou
 
ทบทวนการประเมินรอบสอง
ทบทวนการประเมินรอบสองทบทวนการประเมินรอบสอง
ทบทวนการประเมินรอบสอง
Strisuksa Roi-Et
 
The active inclusion of young people
The active inclusion of young peopleThe active inclusion of young people
The active inclusion of young peoplepesec
 
Vera - Globalizing the CCSS
Vera - Globalizing the CCSSVera - Globalizing the CCSS
Vera - Globalizing the CCSS
KathyGShort
 
Dpa bims 2015_eng
Dpa bims 2015_engDpa bims 2015_eng
Dpa bims 2015_eng
madaravinberga
 
Learning : How to Learn
Learning : How to LearnLearning : How to Learn
Learning : How to Learn
Shruti Arya
 

Viewers also liked (20)

นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
นายธนศิษฎ์ ศรีเมือง 525050434-9
 
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยมทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
ทฤษฎีการเรียนรู้ของกลุ่มปัญญานิยม
 
Behavioral theories
Behavioral theoriesBehavioral theories
Behavioral theories
 
คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์คอนสตรัคติวิสต์
คอนสตรัคติวิสต์
 
Constructivismใหม่j
Constructivismใหม่jConstructivismใหม่j
Constructivismใหม่j
 
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์
การออกแบบการเรียนรู้ตามคอนสตรัคติวิสต์
 
Wolfgang kohler
Wolfgang kohlerWolfgang kohler
Wolfgang kohler
 
Ofna
OfnaOfna
Ofna
 
News Flash April 2013 - abm & associates
News Flash April 2013 - abm & associatesNews Flash April 2013 - abm & associates
News Flash April 2013 - abm & associates
 
2012 youth darts summer camp
2012 youth darts summer camp2012 youth darts summer camp
2012 youth darts summer camp
 
Mandatory hippa and information security
Mandatory hippa and information securityMandatory hippa and information security
Mandatory hippa and information security
 
Durgaprasad Career Management through Information Resources
Durgaprasad Career Management through Information  ResourcesDurgaprasad Career Management through Information  Resources
Durgaprasad Career Management through Information Resources
 
Arts 6
Arts 6Arts 6
Arts 6
 
Nota
NotaNota
Nota
 
惠南镇日间照料中心设计方案2
惠南镇日间照料中心设计方案2惠南镇日间照料中心设计方案2
惠南镇日间照料中心设计方案2
 
ทบทวนการประเมินรอบสอง
ทบทวนการประเมินรอบสองทบทวนการประเมินรอบสอง
ทบทวนการประเมินรอบสอง
 
The active inclusion of young people
The active inclusion of young peopleThe active inclusion of young people
The active inclusion of young people
 
Vera - Globalizing the CCSS
Vera - Globalizing the CCSSVera - Globalizing the CCSS
Vera - Globalizing the CCSS
 
Dpa bims 2015_eng
Dpa bims 2015_engDpa bims 2015_eng
Dpa bims 2015_eng
 
Learning : How to Learn
Learning : How to LearnLearning : How to Learn
Learning : How to Learn
 

Similar to ครูมือใหม่

ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่Vachii Ra
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1Kiw E D
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
Pitsiri Lumphaopun
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
Ailada_oa
 
งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่Moss Worapong
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่panggoo
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5tyehh
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5moohmed
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
Ailada_oa
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่Noppasorn Boonsena
 

Similar to ครูมือใหม่ (20)

ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่ภารกิจระดับครูมือใหม่
ภารกิจระดับครูมือใหม่
 
ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1ระดับครูมือใหม่1
ระดับครูมือใหม่1
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Innovation
InnovationInnovation
Innovation
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่ภารกิจครูมือใหม่
ภารกิจครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่งานครูมือใหม่
งานครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
Ch 2
Ch 2Ch 2
Ch 2
 
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
การออกแบบการสอนระดับครูมือใหม่ 1
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 
ครูมือใหม่
ครูมือใหม่ครูมือใหม่
ครูมือใหม่
 

ครูมือใหม่