SlideShare a Scribd company logo
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วรวิทย์ จันทร์สุวรรณ
สมบัติแก๊ส
http://web.rmutp.ac.th/woravith
woravith
woravith.c@rmutp.ac.th
Chemographics
แผนการสอนและประเมินผลการเรียนรู้
▪ สมบัติแก๊ส
▪ กฎของแก๊ส
▪ ปริมาณสัมพันธ์ของแก๊ส
▪ ทฤษฎีจลน์โมเลกุลของแก๊ส
▪ พฤติกรรมของแก๊สจริง
สมบัติแก๊ส
แก๊ส (Gas)
Indefinite shape
Motion particles
Expansion
Compressibility
Mixing
Low density
Low attractive force
▪ เป็นแก๊สที่สมมติขึ้นมาใช้เพื่อ
อธิบายพฤติกรรมของแก๊ส
▪ ไม่มีอยู่จริงในธรรมชาติ
แก๊สอุดมคติ
(Ideal gas)
▪ เป็นแก๊สที่มีอยู่ในธรรมชาติ
▪ มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างโมเลกุล
▪ ส่วนใหญ่มีพฤติกรรมที่ไม่
เป็นไปตามกฎของแก๊ส
แก๊สจริง
(Real gas)
สถานะของสสารที่มีแรงดึงดูดระหว่างอนุภาคน้อยมาก
▪ โมเลกุลของแก๊สอยู่ห่างกันมากกว่าของเหลวและของแข็ง
จึงเป็นผลให้มีแรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลน้อยมาก หรือไม่มี
แรงดึงดูด
▪ แก๊สมีความหนาแน่นน้อยกว่าของเหลวและของแข็ง
▪ โมเลกุลแก๊สมีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลาในทุกทิศทาง อย่าง
ไม่เป็นระเบียบและเคลื่อนที่เป็นเส้นตรง
▪ แก๊สไม่มีรูปร่างและปริมาตรที่แน่นอนแต่จะมีรูปร่าง และ
ปริมาตรตามภาชนะที่บรรจุ
▪ โมเลกุลของแก๊สในภาชนะเมื่อเกิดการชนกันแล้ว โมเมนตัม
โดยรวมจะไม่เท่ากับศูนย์
สมบัติทั่วไป
ของแก๊ส
ความดันบรรยากาศ
ความดันของบรรยากาศโลก
หรือ
ความดันของอากาศในชั้นบรรยากาศ
ต่าสุดที่กระทาต่อพื้นผิวโลก
ความดัน 1 atm
ระดับปรอทสูงเท่ากับ 760 mm
ระดับผิวน้าทะเล ความดันบรรยากาศจะมีค่าโดยเฉลี่ย
เท่ากับ 101,325 Pa
บารอมิเตอร์แบบทอร์รีเชลลี
Atmospheric Pressure: atm
1 บรรยากาศ (atm) = 1.01325 บาร์
= 101,325 ปาสคาล (Pa)
= 760 ทอร์ (Torr)
≈ 760 มิลลิเมตรปรอท (mmHg) ที่ 0°C
Evangelista Torricelli
Italian Physicist (ค.ศ.1643)
ความดันบรรยากาศ ความดันแก๊ส
อุปกรณ์ที่ใช้วัดความดันของแก๊ส เรียกว่า แมนอมิเตอร์ (manometer)
P
ปลายปิด ปลายเปิด
Patm Patm
Pgas= Ph1
Pgas+ Ph2
= Patm Pgas= Patm+ Ph3
ความดันบรรยากาศ ความดันแก๊ส อุณหภูมิ
▪ องศาเซลเซียส (C)
▪ อุณหภูมิเคลวิน (Kelvin, K)
K = C + 273
C = K - 273
อุณหภูมิสัมบูรณ์ (absolute temperature)
T
ปริมาตร
ความดันบรรยากาศ ความดันแก๊ส อุณหภูมิ
ปริมาตรของแก๊ส (V) จะขึ้นกับภาชนะที่บรรจุ
ปริมาตรของแก๊ส หมายถึง ปริมาตรของ
ภาชนะของแก๊สที่บรรจุแก๊สนั้น ๆ
1 m
1 m
1 m
1) หน่วยเอสไอ คือ ลูกบาศก์เมตร (m3)
1 m3 = 1.0x106 cm3
2) หน่วยระบบเมตริก คือ ลิตร (L) หรือ มิลลิลิตร (mL)
โดย 1 L = 1000.027 cm3 = 1 dm3 (โดยประมาณ)
1 mL = 1.000027 cm3 = 1 cm3 (โดยประมาณ)
ดังนั้น 1 dm3 = 103 cm3 = 1 L = 103 mL
V
เนื่องจากปริมาตรของแก๊ส
เปลี่ยนแปลงไปตามอุณหภูมิและความ
ดันที่เปลี่ยนไป เพื่อให้การเปรียบเทียบ
ปริมาตรของแก๊สถูกต้องตรงกัน จึงมี
การกาหนดอุณหภูมิมาตรฐานและ
ความดันมาตรฐาน
อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน
standard temperature and pressure ; STP
สภาวะที่อุณหภูมิ 273 เคลวิน
และ
ความดัน 1 บรรยากาศ
“
กฎของบอยล์
(Boyle’s
law,
1662)
เมื่ออุณหภูมิคงที่
ปริมาตรแก๊ส
แปรผกผันกับ
ความดัน
Robert William Boyle
(1627-1691)
Iris Chemist
ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่าง
ความดัน และปริมาตรของแก๊ส
ที่อุณหภูมิคงที่ โดยใช้
หลอดแก้วตัวเจ (J-shape) ที่
ปลายด้านหนึ่งปิด
V 
1
P
PV = k
V =
k
P
P1V1 = P2V2
“
กราฟไฮเปอร์โบลา (hyperbola) เมื่อเขียนกราฟ
ระหว่าง P กับ V โดยพบว่าปริมาตรจะลดลงครึ่งหนึ่ง
เมื่อมีความดันเพิ่มขึ้น 2 เท่า
กราฟระหว่าง V กับ 1/P หรือ P กับ 1/V จะได้กราฟ
เส้นตรงที่มีความชันเท่ากับค่าคงที่ (k) และมีจุดตัดแกนที่
จุด 0
กฎของบอยล์
กฎของชารลส์
Jacques Charles
(1746-1823)
French Physics
(Charles’
law,
1787)
เมื่อความดันคงที่
ปริมาตรแก๊ส
แปรผันกับ
อุณหภูมิสัมบูรณ์
V  T
V = kT
= k
V
T
=
V1
T1
V2
T2
Hydrogen
balloon
(1783)
ศึกษาถึงความสัมพันธ์
ระหว่างปริมาตรกับ
อุณหภูมิของแก๊ส
“
เขียนกราฟระหว่าง V กับ T แล้วลากเส้นตรงมาตัดกับ
แกนอุณหภูมิ พบว่าแก๊สทุกชนิดจะตัดตรงจุดเดียวกันที่
อุณหภูมิ -273C แสดงว่าที่อุณหภูมินี้แก๊สทุกชนิดจะมี
ปริมาตรเท่ากับศูนย์
Averill. Principles of General Chemistry. 2012.
V = kT
กฎของบอยล์
กฎของชารลส์
กฎของเก
ลู
ส
แซก
(Gay
Lusac’s
law,
1808) Joseph-Louis Gay-Lussac
(1808)
French Chemist
P  T
P = kT
= k
P
T
=
P1
T1
P2
T2
เมื่อจานวนโมลแก๊สและปริมาตรคงที่
ความดันแก๊ส
แปรผันกับ
อุณหภูมิสัมบูรณ์
ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างความดันกับอุณหภูมิ
“
กราฟระหว่าง P กับ T (หน่วย K) หรือ P กับ T (หน่วย C) จะมีความชันเท่ากับ k
P = kT
กฎของบอยล์
กฎของชารลส์
กฎของเก
ลู
ส
แซก
กฎของอาโวกาโดร
(Avogadro’s
law,
1811)
Amedeo Avogadro
(1776-1856)
Italian Scientist
V  n
V = kn
= k
V
n
=
V1
n1
V2
n2
เมื่ออุณหภูมิและความดันคงที่
ปริมาตรแก๊ส
แปรผันกับ
จานวนโมลของแก๊ส
ศึกษาถึงความสัมพันธ์ระหว่างปริมาตรกับจานวนโมลของแก๊ส
พบว่าแก๊สที่มีปริมาตรเท่ากันจะมีจานวนอนุภาคเท่ากัน
แก๊สใด ๆ จานวน 1 โมล จะมีจานวน
อนุภาคเท่ากับ 6.02x1023 อนุภาค จะมี
ปริมาตรเท่ากับ 22.4 L ที่ STP
“
“
“
0
0
กฎของบอยล์
กฎของชารลส์
กฎรวมแก๊ส (Combined gas law)
1 1 2 2
1 2
PV P V
=
T T
กฎของบอยล์
กฎของชารลส์-เก ลูสแซก
สมการของแก๊สสมบูรณ์แบบ
กฎของอาโวกาโดร
อธิบายความสัมพันธ์
ระหว่าง P, V, n, T ของ
แก๊สอุดมคติ
R = 0.082 Latm/Kmol
R = 8.314 J/Kmol
อุณหภูมิและความดันมาตรฐาน (STP) หมายถึง “สภาวะที่อุณหภูมิ 273 K และความดัน 1 atm”
PV = nRT
กฎของเก ลูสแซก
สมการสถานะของแก๊สอุดมคติ
สมการแก๊สอุดมคติ (ideal gas)
เมื่อพิจารณาจาก
แก๊สใด ๆ จานวน 1 โมล ซึ่งมีปริมาตร
22.4 ลิตรที่ STP
และสภาวะ STP คือ ความดัน 1 atm
อุณหภูมิ 0 C
หมายเหตุ
ค่า R ยังมีอีกหลายค่าขึ้นอยู่กับหน่วยของ
P, V, T เช่น
R = 8.314 J/Kmol
R = 1.987 cal/Kmol
R = 62.36 Ltorr/Kmol
จากสมการแก๊สสมบูรณ์แบบ
0
ค่าคงที่ของแก๊ส (gas constant)
PV = nRT
R =
PV
nT
n = 1 mol
V= 22.4 L
P = 1 atm
T = 273 K
R =
(1 atm)(22.4 L)
(1 mol)(273 K)
= 0.082 Latm/Kmol
แก๊สออกซิเจนมีปริมาตร 2.00 L ภายใต้
ความดัน 700 mmHg จงหาปริมาตรของ
แก๊สจานวนนี้ที่ความดันบรรยากาศ เมื่อ
อุณหภูมิคงที่
P1 = 700 mmHg P2 = 760 mmHg
V1 = 2.00 L V2 = ?
ดังนั้น ปริมาตรแก๊สจะลดลงเหลือ 1.84 ลิตร
P1V1 = P2V2
กฎของบอยล์
กฎของชารลส์
V2 =
(700 mmHg)(2.00 L)
760 mmHg
= 1.84 L
แก๊ส H2 3.00 L บรรจุในลูกบอลลูนที่ 25C
จงคานวณปริมาตรบอลลูนเมื่ออุณหภูมิลดลง
ที่เป็น -58C
V1 = 3.00 L
V2 = ?
T1 = 273+25C=298 K
T2 = 273+(-58C)=215 K
ดังนั้น ปริมาตรแก๊สจะลดลงเหลือ 2.16 ลิตร
=
V1
T1
V2
T2
= 2.16 L
V2 =
(3.00 L)(215 K)
298 K
กฎรวมแก๊
ส
แก๊สฮีเลียม (He) บรรจุในถังขนาด 2.5 L
ที่ 27C วัดความดันได้ 0.80 atm ถ้า
เปลี่ยนถังบรรจุเป็น 1.5 L และลดอุณหภูมิ
ลงเหลือ 10C ความดันแก๊สจะเป็นกี่ atm
P1 = 0.80 atm P2 = ?
T1 = 300 K T2 = 283 K
V1 = 2.5 L V2 = 1.5 L
ดังนั้น ความดันแก๊สเท่ากับ 1.26 atm
=
P1V1
T1
P2V2
T2
= 1.26 atm
P2 =
(0.80 atm)(2.5 L)(283 K)
(300 K)(1.5 L)
สมการแก๊
ส
อุ
ด
มคติ
จงคานวณโมลของแก๊ส H2 ที่ปริมาตร 8.56 L
ณ สภาวะที่อุณหภูมิ 0C และความดัน 1.5 atm
P = 1.5 atm
V = 8.56 L
T = 0°C+273 = 273 K
R = 0.082 Latm/Kmol
PV = nRT
n = PV
RT
n = (1.5 atm)(8.56 L)
(0.082 Latm/Kmol)(273 K)
= 0.57 mol
แก๊ส O2 ที่ STP บรรจุในภาชนะปิดที่มีปริมาตร
1.00 L เมื่อให้ความร้อนจนอุณหภูมิเป็น 100C
ความดันของแก๊สจะเป็นเท่าไร
จงหาปริมาตรของแก๊ส O2 น้าหนัก 100 g ที่
อุณหภูมิ 45C และความดัน 800 mmHg
การประยุกต์สมการของแก๊สสมบูรณ์แบบ
หาความหนาแน่น และ
น้าหนักโมเลกุลของแก๊ส
PV = nRT
PV = RT
g
M
M =
g
V
M =
RT
P
dRT
P
หรือ d =
MP
RT
g = น้าหนักของแก๊ส (g)
M = น้าหนักโมเลกุลของแก๊ส (g/mol)
d = ความหนาแน่นของแก๊ส (g/mL)
การหาปริมาณสัมพันธ์ของ
แก๊สในปฏิกิริยา
รายละเอียดในเรื่องการคานวณ
ปริมาณสัมพันธ์
#ตัวอย่าง
แก๊สชนิดหนึ่งมีความหนาแน่น 1.95 g/L ที่ความดัน 1.50 atm อุณหภูมิ 27C
จงคานวณน้าหนักโมเลกุลของแก๊ส
จากสมการ
d = 1.95 g/L
T = 27C + 273 = 300 K
P = 1.50 atm
ดังนั้น แก๊สชนิดนี้มีน้าหนักโมเลกุลเท่ากับ 32.0 g/mol
M =
dRT
P
M =
(1.95 g/L)(0.082 Latm/Kmol)(300 K)
1.50 atm
M = 32.0 g/mol
ทฤษฎีจลน์โมเลกุลของแก๊ส
ทฤษฎีเพื่อใช้อธิบายพฤติกรรมของแก๊สโดยการใช้แบบจาลอง หรือ
ทฤษฎีในระดับจุลภาค กล่าวคือ เป็นการศึกษาโมเลกุลของแก๊ส
เพียงหนึ่งหรือสองโมเลกุลเพื่อเป็นตัวแทนของโมเลกุลล้าน ๆ
โมเลกุลในระดับมหภาค
แนวคิดที่สาคัญคือ
“อนุภาคของแก๊สมีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา
เมื่อแก๊สมีการเคลื่อนที่ย่อมมีพลังงานจลน์ในโมเลกุลด้วย"
1) แก๊สประกอบด้วยอนุภาคจานวนมากที่มีขนาดเล็กมากเมื่อเทียบกับขนาด
ภาชนะที่บรรจุ จนถือได้ว่าอนุภาคของแก๊สไม่มีปริมาตร
2) โมเลกุลของแก๊สอยู่ห่างกันมาก ทาให้แรงดึงดูดและแรงผลักระหว่างโมเลกุล
น้อยมาก จนถือได้ว่าไม่มีแรงกระทาต่อกัน
3) โมเลกุลของแก๊สเคลื่อนที่อย่างรวดเร็วในแนวเส้นตรง เป็นอิสระด้วยอัตราเร็ว
คงที่ และไม่เป็นระเบียบ
4) โมเลกุลของแก๊สที่ชนกันเอง หรือชนกับผนังภาชนะจะเกิดการถ่ายโอน
พลังงานให้แก่กันได้ แต่พลังงานรวมของระบบคงที่
5) แก๊สแต่ละโมเลกุลมีพลังงานจลน์ต่างกัน แต่พลังงานจลน์เฉลี่ยของโมเลกุล
ทั้งหมดเป็นสัดส่วนโดยตรงกับอุณหภูมิสัมบูรณ์ของแก๊ส (KET) และ
พลังงานจลน์เฉลี่ยของแก๊สใด ๆ จะเท่ากันที่อุณหภูมิเดียวกัน
A B B
B A A
v m M
= =
v m M
แก๊สผสมและความดันย่อย
(Gas Mixtures and Partial Pressures)
ถ้านาแก๊สสองชนิดหรือมากกว่าสองชนิดขึ้นไปมา
ผสมกัน โดยแก๊สเหล่านั้นต้องไม่ทาปฏิกิริยากัน
กฎความดันย่อยของดาลตัน
(Dalton’s law of partial pressure)
ดาลตัน (ค.ศ.1801) พบว่า “ความดันรวมของ
แก๊สผสมจะเท่ากับผลรวมของความดันย่อยของ
แก๊สแต่ละชนิดที่ผสมกัน”
“
Pt = PA + PB + PC + …
Pt = ความดันรวม
PA, PB และ PC = ความดันย่อยของแก๊ส A, B และ C ในแก๊สผสม
การแพร่ของแก๊ส (diffusion of gas) เป็นการเคลื่อนที่ของ
โมเลกุลของแก๊สชนิดหนึ่งเคลื่อนที่กระจายออกไปจากบริเวณที่
มีความหนาแน่นมากไปหาบริเวณที่มีความหนาแน่นน้อยกว่า
กฎการแพร่ของเกรแฮม
(Graham’s law of diffusion)
เกรแฮม (ค.ศ.1846) พบว่า
อัตราการแพร่ของแก๊สที่เบากว่า (แก๊สที่มี
ความหนาแน่นของโมเลกุลน้อยกว่า) จะ
แพร่ได้เร็วกว่าแก๊สที่หนักกว่า (แก๊สที่มี
ความหนาแน่นของโมเลกุลมากกว่า)
“
“
ภายใต้ความดันและอุณหภูมิเดียวกัน
อัตราการแพร่ของแก๊ส
แปรผกผันกับ
รากที่สองของความหนาแน่นของโมเลกุลแก๊ส
Thomas Graham (1805-1869)
นักเคมีชาวสก๊อต
1
R
d

k
R
d
=
k k
R
d M
= =
ความหนาแน่นของแก๊ส (d) เป็นสัดส่วนโดยตรงกับ
น้าหนักโมเลกุลแก๊ส (M)
R = อัตราการแพร่ของแก๊ส
d = ความหนาแน่นของแก๊ส
M = น้าหนักโมเลกุลแก๊ส
คานวณอัตราส่วนของอัตราการแพร่ของแก๊ส H2
และ UF6 ซึ่งเป็นแก๊สที่ใช้ในกระบวนการผลิตแท่ง
เชื้อเพลิงสาหรับเครื่องปฏิกรณ์นิวเคลียร์
6
6 2
UF
H
UF H
M
R
=
R M
2
MH2
= น้าหนักโมเลกุลของ H2 (2.01 g/mol)
UF6 = น้าหนักโมเลกุลของ UF6 (352.0 g/mol)
อัตราการแพร่ของ H2 จะมีอัตราการแพร่ได้เร็ว
กว่า UF6 ประมาณ 13 เท่า
2
6
H
UF
R 352.0
= = 13.2
R 2.02
จากกฎการแพร่ของเกรแฮม
เมื่อเปรียบเทียบการแพร่ของแก๊ส A และ B
ภายใต้สภาวะเดียวกัน
B B
A
B A A
d M
R
= =
R d M
RA และ RB = อัตราการแพร่ของแก๊ส A และ B ตามลาดับ
dA และ dB = ความหนาแน่นของโมเลกุลแก๊ส A และ B ตามลาดับ
MA และ MB = น้าหนักโมเลกุลของแก๊ส A และ B ตามลาดับ
พฤติกรรมของแก๊สจริง
จากสมการแก๊สสมบูรณ์แบบ PV= nRT
สาหรับแก๊สสมบูรณ์แบบ 1 โมล (n=1) ดังนั้น
= 1
แต่จากการศึกษาพฤติกรรมของแก๊สจริงที่
ความดันและอุณหภูมิต่าง ๆ พบว่าอัตราส่วนนี้
ไม่เท่ากับ 1
PV
RT
แก๊สจริงมีพฤติกรรมเป็น
แก๊สสมบูรณ์แบบ
เมื่อความดันต่ามากและอุณหภูมิสูง
“
ค่าอัตราส่วน PV/RT เรียกว่า ค่าแฟกเตอร์การ
อัดของแก๊ส (compressibility factor)
แก๊สจริง 4 ชนิดคือ N2, H2, CH4 และ CO2 ที่อุณหภูมิ 0C ถ้าแก๊ส
เหล่านี้ประพฤติตนเช่นเดียวกับแก๊สอุดมคติ เส้นกราฟจะเป็นเส้นตรง
เหมือนเส้นประ แต่จากการทดลองพบว่าแก๊สทุกชนิดไม่เป็นเช่นนั้น
ในช่วงความดันน้อย ๆ (<1 atm) แก๊สเหล่านี้มีค่า PV/RT ใกล้เคียงกับ 1
นั่นคือ ผลคูณของ PV ไม่เปลี่ยนแปลงมากนัก แต่เมื่อความดันสูงขึ้น จะ
เกิดการเบี่ยงเบนไปเรื่อย ๆ แรงดึงดูดระหว่างโมเลกุลสามารถเกิดขึ้นได้
เมื่อโมเลกุลอยู่ใกล้กันมากขึ้น ที่ความดันสูงๆ แก๊สจะมีความหนาแน่น
สูงขึ้นและโมเลกุลอยู่ใกล้ชิดกันมากขึ้น
กราฟหาค่าของ PV/RT กับ P ของแก๊ส N2 ที่อุณหภูมิ
ใด ๆ จะพบว่ายิ่งอุณหภูมิสูงขึ้น ค่าของ PV/RT ของ
N2 จะมีค่าเข้าใกล้แก๊สอุดมคติมากขึ้น ดังนั้นจึงสามารถ
สรุปได้ว่า เมื่อความดันยิ่งต่าและอุณหภูมิยิ่งสูง แก๊ส
จริงจะมีพฤติกรรมใกล้เคียงกับแก๊สอุดมคติ
แก๊ส a (atm L2/mol2) b (L/mol)
He 0.034 0.02370
Ne 0.211 0.0171
Ar 1.35 0.0322
Kr 2.32 0.0398
Xe 4.19 0.0511
H2 0.244 0.0266
N2 1.39 0.0391
O2 1.36 0.0318
Cl2 6.49 0.0562
CO2 3.59 0.0427
CH4 2.25 0.0428
NH3 4.17 0.0371
H2O 5.46 0.0305
ค่าคงที่แวนเดอร์วาลส์ของแก๊สจริง
P = ความดันแก๊ส (atm)
V = ปริมาตรแก๊ส (L)
T = อุณหภูมิสัมบูรณ์ (K)
n = จานวนโมลของแก๊ส (mol)
a และ b = ค่าคงที่แวนเดอร์วาลส์
สมการแวนเดอร์วาลส์
P = - a
nRT
(V-nb)
n
V
2
P+a (V-nb) = nRT
n
V
2
หรือ
สมการสาหรับใช้อธิบายพฤติกรรม
ของแก๊สจริง
Johannes Diderik van der Waals
(1837-1923)
Dutch Physicist
Noble Prize in Physics, 1910
แก๊สมีเทน (CH4) 5,000 โมล ในภาชนะ 1,000 L ที่ 25C ทาให้ร้อนถึง 1,000C ความดันแก๊ส CH4 นี้
เป็นเท่าใด ถ้าสมมติให้แก๊ส CH4 มีพฤติกรรมเป็นแบบ ก) แก๊สจริง และ ข) แก๊สอุดมคติ
T = 1,000°C+273 =1,273 K
V = 1,000 L
n = 5,000 mol
R = 0.082 Latm/Kmol
จากตาราง a = 2.25 atm L2/mol2
b = 0.0428 L/mol
ก) ความดันของแก๊สจริง หาได้จากสมการแวนเดอร์วาลส์
2
2 2
(5,000 mol)(0.082 L atm/K mol)(1,273 K) 5,000 mol
P = - 2.25 L atm/mol
(1,000 L - (5,000 mol)(0.0428 L/mol)) 1,000 L
= 608.1 atm
   
 
 
ข) ถ้าแก๊ส CH4 นี้มีพฤติกรรมแบบแก๊สอุดมคติ ความดันของแก๊สหาได้จาก P =nRT/V
(5,000 mol)(0.082 L atm/K mol)(1,273 K)
P =
1,000 L
= 522.3 atm
 
#กิจกรรม work@class
แบ่งกลุ่มทากิจกรรม 1.1
มอบหมายโจทย์ให้แต่ละกลุ่ม
ระดมสมองแก้ไขโดยวิธีการ
ร่วมแสดงความคิดเห็น
ให้แต่ละกลุ่มนาเสนอ วิธีการแก้ไขโจทย์ปัญหา
1) หลักการสาคัญหรือหลักพื้นฐานที่ถูกต้อง
2) วิธีการคานวณค่าที่ถูกต้อง
3) วิธีอธิบายเชิงพฤติกรรม (วิธีปฏิบัติ) ที่ถูกต้อง
โดยให้กลุ่มอื่น ๆ รับฟัง และซักถามในข้อที่สงสัย

More Related Content

What's hot

พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
Saipanya school
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
Wuttipong Tubkrathok
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมีcrazygno
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
Preeyapat Lengrabam
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)Manchai
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4พัน พัน
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
Supaluk Juntap
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ืkanya pinyo
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
Manchai
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
แก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติแก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติ
Chanthawan Suwanhitathorn
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีJariya Jaiyot
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซNawamin Wongchai
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt10846
 

What's hot (20)

พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57 พันธะไอออนิก57
พันธะไอออนิก57
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
ใบงาน 7
ใบงาน 7ใบงาน 7
ใบงาน 7
 
5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส5 ความดันย่อยของแก๊ส
5 ความดันย่อยของแก๊ส
 
ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)ค่าคงที่สมดุล (K)
ค่าคงที่สมดุล (K)
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
เทคนิคปฏิบัติการทางเคมี M4
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
การกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่ายการกลั่นอย่างง่าย
การกลั่นอย่างง่าย
 
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีแบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
แบบฝึกหัดอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุลปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะสมดุล
 
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
แก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติแก๊สอุดมคติ
แก๊สอุดมคติ
 
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมีบทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
บทที่ 2 ปฏิกิริยาเคมี
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
ทฤษฎีจลน์ของก๊าซ
 
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 pptไฟฟ้าเคมี1 ppt
ไฟฟ้าเคมี1 ppt
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 

Similar to แก๊ส (Gases)

Chemographics : Gases
Chemographics : GasesChemographics : Gases
Chemographics : Gases
Dr.Woravith Chansuvarn
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์Nanmoer Tunteng
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
oraneehussem
 
Chemographics : Stoichiometry
Chemographics : StoichiometryChemographics : Stoichiometry
Chemographics : Stoichiometry
Dr.Woravith Chansuvarn
 
Know6
Know6Know6
1 atomic weight
1 atomic weight1 atomic weight
1 atomic weight
Saipanya school
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
Piyanart Suebsanoh
 
3210000000000000000
32100000000000000003210000000000000000
3210000000000000000Awirut619
 
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solutionแก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
Dr.Woravith Chansuvarn
 
3 the mole 2018
3 the  mole 20183 the  mole 2018
3 the mole 2018
Saipanya school
 
กฏของแก๊ส ม.5
กฏของแก๊ส ม.5กฏของแก๊ส ม.5
กฏของแก๊ส ม.5
Piyanuch Plaon
 
Solid Liquid And Gas
Solid   Liquid  And   GasSolid   Liquid  And   Gas
Solid Liquid And Gas
Panida Pecharawej
 
สื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumสื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumพัน พัน
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีchemnpk
 
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยาใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยาyaowaluk
 

Similar to แก๊ส (Gases) (20)

Chemographics : Gases
Chemographics : GasesChemographics : Gases
Chemographics : Gases
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส
 
ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์ปริมาณสารสัมพันธ์
ปริมาณสารสัมพันธ์
 
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
บทที่ 4 ปริมาณสัมพันธ์
 
Chemographics : Stoichiometry
Chemographics : StoichiometryChemographics : Stoichiometry
Chemographics : Stoichiometry
 
Know6
Know6Know6
Know6
 
1 atomic weight
1 atomic weight1 atomic weight
1 atomic weight
 
แก๊ส
แก๊ส แก๊ส
แก๊ส
 
3210000000000000000
32100000000000000003210000000000000000
3210000000000000000
 
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solutionแก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
แก๊ส ของแข็ง ของเหลวและสารละลาย - Gas Solid Liquid and Solution
 
3 the mole 2018
3 the  mole 20183 the  mole 2018
3 the mole 2018
 
กฏของแก๊ส ม.5
กฏของแก๊ส ม.5กฏของแก๊ส ม.5
กฏของแก๊ส ม.5
 
heat
heatheat
heat
 
ของไหล
ของไหลของไหล
ของไหล
 
Solid Liquid And Gas
Solid   Liquid  And   GasSolid   Liquid  And   Gas
Solid Liquid And Gas
 
สื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibriumสื่อการสอน Chemical equilibrium
สื่อการสอน Chemical equilibrium
 
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
อัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
Punmanee study 3
Punmanee study 3Punmanee study 3
Punmanee study 3
 
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยาใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
ใบความแนวคิดการเกิดปฏิกิริยา
 
ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์
ใบงานที่ 1 ปริมาณสารสัมพันธ์
 

More from Dr.Woravith Chansuvarn

กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
Dr.Woravith Chansuvarn
 
แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)
แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)
แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)
Dr.Woravith Chansuvarn
 
แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)
แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)
แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)
Dr.Woravith Chansuvarn
 
สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)
สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)
สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)
Dr.Woravith Chansuvarn
 
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
Dr.Woravith Chansuvarn
 
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groupsสารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
Dr.Woravith Chansuvarn
 
เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)
เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)
เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)
Dr.Woravith Chansuvarn
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
Dr.Woravith Chansuvarn
 
Periodic Table
Periodic TablePeriodic Table
Periodic Table
Dr.Woravith Chansuvarn
 
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
Dr.Woravith Chansuvarn
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
Dr.Woravith Chansuvarn
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
Dr.Woravith Chansuvarn
 
เทอร์โมเคมี (ThermoChemistry)
เทอร์โมเคมี  (ThermoChemistry)เทอร์โมเคมี  (ThermoChemistry)
เทอร์โมเคมี (ThermoChemistry)
Dr.Woravith Chansuvarn
 
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
Dr.Woravith Chansuvarn
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
Dr.Woravith Chansuvarn
 
ของเหลว (Liquid)
ของเหลว (Liquid)ของเหลว (Liquid)
ของเหลว (Liquid)
Dr.Woravith Chansuvarn
 
ของแข็ง (Solid)
ของแข็ง (Solid)ของแข็ง (Solid)
ของแข็ง (Solid)
Dr.Woravith Chansuvarn
 
AnalChem: UV-Vis
AnalChem: UV-VisAnalChem: UV-Vis
AnalChem: UV-Vis
Dr.Woravith Chansuvarn
 
AnalChem: Complexometric titration
AnalChem: Complexometric titrationAnalChem: Complexometric titration
AnalChem: Complexometric titration
Dr.Woravith Chansuvarn
 
AnalChem : Basic of Spectroscopy
AnalChem : Basic of SpectroscopyAnalChem : Basic of Spectroscopy
AnalChem : Basic of Spectroscopy
Dr.Woravith Chansuvarn
 

More from Dr.Woravith Chansuvarn (20)

กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
กรดคาร์บอกซิลิกและอนุพันธ์ (Carboxylic acid & Derivatives)
 
แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)
แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)
แอลดีไฮด์และตีโตน (Aldehydes & Ketones)
 
แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)
แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)
แอลกอฮอล์และฟีนอล (Alcohols and Phenols)
 
สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)
สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)
สารละลายและความเข้มข้น (Solution & Concentration)
 
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
ปฏิกิริยาเคมีอินทรีย์ (Organic Reactions)
 
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groupsสารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
สารอินทรีย์ และหมู่ฟังก์ชัน : Organic Compounds and Functional Groups
 
เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)
เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)
เคมีสิ่งแวดล้อม (Environmental Chemistry)
 
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
ตารางธาตุ Periodic Table (ฉบับภาษาไทย)
 
Periodic Table
Periodic TablePeriodic Table
Periodic Table
 
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
เคมีนิวเคลียร์ (Nuclear Chemistry)
 
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
เคมีไฟฟ้า (Electrochemistry)
 
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
กฎทางอุณหพลศาสตร์ (Thermodynamic Laws)
 
เทอร์โมเคมี (ThermoChemistry)
เทอร์โมเคมี  (ThermoChemistry)เทอร์โมเคมี  (ThermoChemistry)
เทอร์โมเคมี (ThermoChemistry)
 
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
จลนศาสตร์เคมี (Kinetics Chemistry)
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
ของเหลว (Liquid)
ของเหลว (Liquid)ของเหลว (Liquid)
ของเหลว (Liquid)
 
ของแข็ง (Solid)
ของแข็ง (Solid)ของแข็ง (Solid)
ของแข็ง (Solid)
 
AnalChem: UV-Vis
AnalChem: UV-VisAnalChem: UV-Vis
AnalChem: UV-Vis
 
AnalChem: Complexometric titration
AnalChem: Complexometric titrationAnalChem: Complexometric titration
AnalChem: Complexometric titration
 
AnalChem : Basic of Spectroscopy
AnalChem : Basic of SpectroscopyAnalChem : Basic of Spectroscopy
AnalChem : Basic of Spectroscopy
 

Recently uploaded

งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการฝึกสมาธิในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 

แก๊ส (Gases)