SlideShare a Scribd company logo
A




             ครูสมพร เหล่าทองสาร
โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. เขต 26
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป เป็นเครื่องมือสาหรับตรวจสอบไฟฟ้าสถิต มี 2 ชนิด
   (1) อิเล็กโทรสโคปแบบลูกพิท (pith ball electroscope) ประกอบด้วย
   ลูกกลม ทาด้วยโฟมฉาบด้วยโลหะ ตัวลูกกลมแขวนด้วยเส้นด้ายเล็กๆ ดังรูป




                                       ครูสมพร เหล่าทองสาร
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
ขั้นตอนในการใช้อิเล็กโทรสโคปแบบลูกพิท เพื่อตรวจสอบวัตถุที่มีประจุไฟฟ้า
    หรือไม่ ถ้ามีประจุจะเป็นประจุชนิดใด ดังนี้
    (1) ทาให้ลูกพิทเป็นกลางทางไฟฟ้า
    (2) นาวัตถุที่ต้องการตรวจสอบมาวางใกล้ๆ ลูกพิทแล้วสังเกตการเบี่ยงเบน
    ของลูกพิท


                                                    A




                                         ครูสมพร เหล่าทองสาร
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
                            ผลการทดสอบ



                  A

1. ถ้าลูกพิทไม่เบี่ยงเบน                                        A
แสดงว่าวัตถุ A ไม่มีประจุ

                                         2. ถ้าลูกพิทเบนเข้าหาวัตถุ A
                                         แสดงว่าวัตถุ A มีประจุ


                                          ครูสมพร เหล่าทองสาร
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
                         ผลการทดสอบ




                                        A


  3. ถ้าลูกพิทเบนออกจากวัตถุ A แสดงว่าลูกพิทยังไม่เป็นกลางทางไฟฟ้า




                                        ครูสมพร เหล่าทองสาร
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
  (3) วิธีการตรวจสอบชนิดของประจุบนวัตถุ A โดยให้ประจุไฟฟ้าที่ทราบ
  ชนิดแล้วแก่ลกพิท แล้วนาวัตถุที่ต้องการตรวจสอบมาวางใกล้ๆ ลูกพิทอีก
               ู
  แล้วสังเกตการเบี่ยงเบนของลูกพิท



                      ++
                      ++
           1. สมมติให้ประจุบวกแก่ลูกพิท


                                       ครูสมพร เหล่าทองสาร
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
           2. ถ้าลูกพิทเบนเข้าหา แสดงว่าวัตถุ A มีประจุ
           ชนิดตรงกันข้ามกับลูกพิท (ประจุลบ)
     ++   –––    A
     ++   –––



            3. ถ้าลูกพิทเบนออก แสดงว่าวัตถุ A มีประจุชนิด
           เดียวกันกับลูกพิท (ประจุบวก)
++        +++ A
++        +++


                                    ครูสมพร เหล่าทองสาร
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
 (2) อิเล็กโทรสโคปแบบแผ่นโลหะ (leaf electroscope) ประกอบด้วย
 แกนโลหะด้านในเชื่อมติดกับจานโลหะชนิดเดียวกันกับปลายล่างแท่งโลหะ
 มีแผ่นโลหะบางๆ ติดไว้ ดังรูป

                                               จานโลหะ

                                            แกนโลหะ
 แผ่นโลหะบาง

                                            กล่องพลาสติก


                                      ครูสมพร เหล่าทองสาร
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
   เมื่อนาวัตถุที่มีประจุมาใกล้จานโลหะของอิเล็กโทรสโคป แผ่นโลหะบาง
 ของอิเล็กโทรสโคปจะกางออก ดังรูป




                                                             วัตถุ
 แผ่นโลหะบาง




                                       ครูสมพร เหล่าทองสาร
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
    ขั้นตอนในการใช้อิเล็กโทรสโคปแผ่นโลหะ เพื่อตรวจสอบวัตถุว่ามีประจุ
 ไฟฟ้าหรือไม่ ถ้ามีประจุจะเป็นประจุชนิดใด
   (1) ทาให้แผ่นโลหะเป็นกลางทางไฟฟ้า
   (2) นาวัตถุที่ต้องการตรวจสอบประจุมาว่างใกล้ๆ จานโลหะ แล้วสังเกต
 การกางของแผ่นโลหะ



                                                              วัตถุ
   แผ่นโลหะบาง



                                        ครูสมพร เหล่าทองสาร
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)

                                          จานโลหะ




         แผ่นโลหะหุบแสดงว่าเป็นกลาง


                                 ครูสมพร เหล่าทองสาร
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
                    A


                         ผลการทดสอบ                         A


แผ่นโลหะไม่กาง แสดงว่า
วัตถุ A ไม่มีประจุ


                                      แผ่นโลหะกางออก แสดงว่า
                                      วัตถุ A มีประจุ
                                      ครูสมพร เหล่าทองสาร
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
  (3) ให้ประจุที่ทราบชนิดแก่จานโลหะด้านบน แล้วนาวัตถุที่ต้องการ
  ตรวจสอบชนิดของประจุมาวางใกล้ๆ จานโลหะอีกครั้งหนึ่ง แล้วสังเกตการ
  การหรือหุบของแผ่นโลหะด้านล่าง

                    + + + +

                       + +
                       + +
                       +   +
           1. สมมติให้ประจุบวกแก่จานโลหะ
                                       ครูสมพร เหล่าทองสาร
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
                    ผลการทดสอบ
                                        + +
                            +   A
                    + + + + ++ + +
                           (–) (–)

                       + +
                       +   +
                             +
                       +       (+)
                      (+)
ถ้าวัตถุ A มีประจุบวก (ชนิดเดียวกัน) แผ่นโลหะจะกางออกมากขึ้น
                                       ครูสมพร เหล่าทองสาร
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
                     ผลการทดสอบ
                                                      –
                                        – –
                                      –    A
                                       – – – –
                    + + + +
                        (+) (+)
                      +
                      +++
                      + +
                       (–)    (–)


ถ้าวัตถุ A มีประจุลบ (ชนิดตรงกันข้าม) แผ่นโลหะจะหุบเข้า
                                        ครูสมพร เหล่าทองสาร
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
                             หนังสือสารอ้างอิง

นิรันดร์ สุวรัตน์. ฟิสิกส์ ม.6 เล่ม 1-2. สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา :
    กรุงเทพฯ, 2552.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนรายวิชา
    เพิ่มเติม ฟิสิกส์ เล่ม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. โรงพิมพ์คุรุสภา :
    กรุงเทพ, 2554.




                                              ครูสมพร เหล่าทองสาร

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2Tanchanok Pps
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
Ta Lattapol
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
Wijitta DevilTeacher
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
โรงเรียนเทพลีลา
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำthanakit553
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)สำเร็จ นางสีคุณ
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
Prachoom Rangkasikorn
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
Phanuwat Somvongs
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบwebsite22556
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์Jariya Jaiyot
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
ssuser2feafc1
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
Physics Lek
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
dnavaroj
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
dnavaroj
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีสWijitta DevilTeacher
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมีcrazygno
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2dnavaroj
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
เอกสารประกอบการเรียน เคมีอินทรีย์ 2
 
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศบทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
บทที่ 8 เทคโนโลยีอวกาศ
 
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
บทที่ 20 ฟิสิกส์นิวเคลียร์ แก้ไขครั้งที่ 1
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
บทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำบทที่1 บทนำ
บทที่1 บทนำ
 
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
ข้อสอบวิทยาศาสตร์ O net (โลก ดาราศาสตร์ และอวกาศ)
 
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
ใบความรู้+แผนการสอน และใบกิจกรรม ประถม 4-6 เรื่อง วงจรไฟฟ้า+ป.5+273+dltvscip5...
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
ธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบธาตุและสารประกอบ
ธาตุและสารประกอบ
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
แบบทดสอบ เรืื่องพอลิเมอร์
 
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdfแบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
แบบทดสอบตามตัวชี้วัด ม.1.doc.pdf
 
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
เฉลยข้อสอบ O-Net ดาราศาสตร์ ปีการศึกษา 2548
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้าแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน  หน่วย พลังงานไฟฟ้า
แบบทดสอบวัดผลสัมฤทธฺื๋ทางการเรียน หน่วย พลังงานไฟฟ้า
 
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
12แบบทดสอบการแบ่งเซลล์
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
เคมี
เคมีเคมี
เคมี
 
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
วิทยาศาสตร์พื้นฐาน ม1เทอม2
 

Viewers also liked

06 types of electroscopes
06 types of electroscopes06 types of electroscopes
06 types of electroscopesmrtangextrahelp
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
Ornkapat Bualom
 
Charging and Discharging Objects
Charging and Discharging ObjectsCharging and Discharging Objects
Charging and Discharging ObjectsOhMiss
 

Viewers also liked (14)

ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
 
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
 
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
 
06 types of electroscopes
06 types of electroscopes06 types of electroscopes
06 types of electroscopes
 
Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า) Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า)
 
สนามไฟฟ้า (Electric filed)
สนามไฟฟ้า (Electric filed)สนามไฟฟ้า (Electric filed)
สนามไฟฟ้า (Electric filed)
 
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
 
ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)
ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)
ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)
 
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพบทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
บทที่ 2 อุปสงค์ อุปทานและดุลยภาพ
 
การทำให้วัตถุตัวนำเกิดประจุไฟฟ้า
การทำให้วัตถุตัวนำเกิดประจุไฟฟ้าการทำให้วัตถุตัวนำเกิดประจุไฟฟ้า
การทำให้วัตถุตัวนำเกิดประจุไฟฟ้า
 
Charging and Discharging Objects
Charging and Discharging ObjectsCharging and Discharging Objects
Charging and Discharging Objects
 
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุพลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
พลังงานสะสมในตัวเก็บประจุ
 
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้าการต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
การต่อตัวเก็บประจุไฟฟ้า
 
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้าตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
 

Similar to อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)

ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
Wijitta DevilTeacher
 
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนพื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
Dr.Woravith Chansuvarn
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุkrupatcharee
 
การค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนการค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนkrupatcharee
 
โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก
 โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก
โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก
nn ning
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52krukrajeab
 

Similar to อิเล็กโทรสโคป (Electroscope) (9)

ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนพื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
การค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนการค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอน
 
โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก
 โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก
โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
 
Atomic structures m4
Atomic structures m4Atomic structures m4
Atomic structures m4
 

More from นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม

เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
รายงานสรุปการปฏิบัติงานรายงานสรุปการปฏิบัติงาน
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
ไข้เลือดออก (Dengue)
ไข้เลือดออก (Dengue)ไข้เลือดออก (Dengue)
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม
 
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม
 
Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm6t2p57Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm4t2p57
Courseoutlinephysicsm4t2p57Courseoutlinephysicsm4t2p57
Aimphysicsm6t2p57
Aimphysicsm6t2p57Aimphysicsm6t2p57
Aimphysicsm4t2p57
Aimphysicsm4t2p57Aimphysicsm4t2p57

More from นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม (20)

Test Blueprint ONET M3 2560
Test Blueprint ONET M3 2560Test Blueprint ONET M3 2560
Test Blueprint ONET M3 2560
 
Test Blueprint ONET M6 2559
Test Blueprint ONET M6 2559Test Blueprint ONET M6 2559
Test Blueprint ONET M6 2559
 
Test Blueprint ONET M3 2559
Test Blueprint ONET M3 2559 Test Blueprint ONET M3 2559
Test Blueprint ONET M3 2559
 
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
 
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
 
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
 
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
 
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
รายงานสรุปการปฏิบัติงานรายงานสรุปการปฏิบัติงาน
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
 
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
 
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
 
Pressure
PressurePressure
Pressure
 
ไข้เลือดออก (Dengue)
ไข้เลือดออก (Dengue)ไข้เลือดออก (Dengue)
ไข้เลือดออก (Dengue)
 
ความหนาแน่น (Density)
ความหนาแน่น (Density)ความหนาแน่น (Density)
ความหนาแน่น (Density)
 
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm6t2p57Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm6t2p57
 
Courseoutlinephysicsm4t2p57
Courseoutlinephysicsm4t2p57Courseoutlinephysicsm4t2p57
Courseoutlinephysicsm4t2p57
 
Aimphysicsm6t2p57
Aimphysicsm6t2p57Aimphysicsm6t2p57
Aimphysicsm6t2p57
 
Aimphysicsm4t2p57
Aimphysicsm4t2p57Aimphysicsm4t2p57
Aimphysicsm4t2p57
 
WHAT IS PISA 4
WHAT IS PISA 4WHAT IS PISA 4
WHAT IS PISA 4
 

อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)

  • 1. A ครูสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ สพม. เขต 26
  • 2. อิเล็กโทรสโคป (Electroscope) อิเล็กโทรสโคป เป็นเครื่องมือสาหรับตรวจสอบไฟฟ้าสถิต มี 2 ชนิด (1) อิเล็กโทรสโคปแบบลูกพิท (pith ball electroscope) ประกอบด้วย ลูกกลม ทาด้วยโฟมฉาบด้วยโลหะ ตัวลูกกลมแขวนด้วยเส้นด้ายเล็กๆ ดังรูป ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 3. อิเล็กโทรสโคป (Electroscope) ขั้นตอนในการใช้อิเล็กโทรสโคปแบบลูกพิท เพื่อตรวจสอบวัตถุที่มีประจุไฟฟ้า หรือไม่ ถ้ามีประจุจะเป็นประจุชนิดใด ดังนี้ (1) ทาให้ลูกพิทเป็นกลางทางไฟฟ้า (2) นาวัตถุที่ต้องการตรวจสอบมาวางใกล้ๆ ลูกพิทแล้วสังเกตการเบี่ยงเบน ของลูกพิท A ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 4. อิเล็กโทรสโคป (Electroscope) ผลการทดสอบ A 1. ถ้าลูกพิทไม่เบี่ยงเบน A แสดงว่าวัตถุ A ไม่มีประจุ 2. ถ้าลูกพิทเบนเข้าหาวัตถุ A แสดงว่าวัตถุ A มีประจุ ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 5. อิเล็กโทรสโคป (Electroscope) ผลการทดสอบ A 3. ถ้าลูกพิทเบนออกจากวัตถุ A แสดงว่าลูกพิทยังไม่เป็นกลางทางไฟฟ้า ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 6. อิเล็กโทรสโคป (Electroscope) (3) วิธีการตรวจสอบชนิดของประจุบนวัตถุ A โดยให้ประจุไฟฟ้าที่ทราบ ชนิดแล้วแก่ลกพิท แล้วนาวัตถุที่ต้องการตรวจสอบมาวางใกล้ๆ ลูกพิทอีก ู แล้วสังเกตการเบี่ยงเบนของลูกพิท ++ ++ 1. สมมติให้ประจุบวกแก่ลูกพิท ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 7. อิเล็กโทรสโคป (Electroscope) 2. ถ้าลูกพิทเบนเข้าหา แสดงว่าวัตถุ A มีประจุ ชนิดตรงกันข้ามกับลูกพิท (ประจุลบ) ++ ––– A ++ ––– 3. ถ้าลูกพิทเบนออก แสดงว่าวัตถุ A มีประจุชนิด เดียวกันกับลูกพิท (ประจุบวก) ++ +++ A ++ +++ ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 8. อิเล็กโทรสโคป (Electroscope) (2) อิเล็กโทรสโคปแบบแผ่นโลหะ (leaf electroscope) ประกอบด้วย แกนโลหะด้านในเชื่อมติดกับจานโลหะชนิดเดียวกันกับปลายล่างแท่งโลหะ มีแผ่นโลหะบางๆ ติดไว้ ดังรูป จานโลหะ แกนโลหะ แผ่นโลหะบาง กล่องพลาสติก ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 9. อิเล็กโทรสโคป (Electroscope) เมื่อนาวัตถุที่มีประจุมาใกล้จานโลหะของอิเล็กโทรสโคป แผ่นโลหะบาง ของอิเล็กโทรสโคปจะกางออก ดังรูป วัตถุ แผ่นโลหะบาง ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 10. อิเล็กโทรสโคป (Electroscope) ขั้นตอนในการใช้อิเล็กโทรสโคปแผ่นโลหะ เพื่อตรวจสอบวัตถุว่ามีประจุ ไฟฟ้าหรือไม่ ถ้ามีประจุจะเป็นประจุชนิดใด (1) ทาให้แผ่นโลหะเป็นกลางทางไฟฟ้า (2) นาวัตถุที่ต้องการตรวจสอบประจุมาว่างใกล้ๆ จานโลหะ แล้วสังเกต การกางของแผ่นโลหะ วัตถุ แผ่นโลหะบาง ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 11. อิเล็กโทรสโคป (Electroscope) จานโลหะ แผ่นโลหะหุบแสดงว่าเป็นกลาง ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 12. อิเล็กโทรสโคป (Electroscope) A ผลการทดสอบ A แผ่นโลหะไม่กาง แสดงว่า วัตถุ A ไม่มีประจุ แผ่นโลหะกางออก แสดงว่า วัตถุ A มีประจุ ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 13. อิเล็กโทรสโคป (Electroscope) (3) ให้ประจุที่ทราบชนิดแก่จานโลหะด้านบน แล้วนาวัตถุที่ต้องการ ตรวจสอบชนิดของประจุมาวางใกล้ๆ จานโลหะอีกครั้งหนึ่ง แล้วสังเกตการ การหรือหุบของแผ่นโลหะด้านล่าง + + + + + + + + + + 1. สมมติให้ประจุบวกแก่จานโลหะ ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 14. อิเล็กโทรสโคป (Electroscope) ผลการทดสอบ + + + A + + + + ++ + + (–) (–) + + + + + + (+) (+) ถ้าวัตถุ A มีประจุบวก (ชนิดเดียวกัน) แผ่นโลหะจะกางออกมากขึ้น ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 15. อิเล็กโทรสโคป (Electroscope) ผลการทดสอบ – – – – A – – – – + + + + (+) (+) + +++ + + (–) (–) ถ้าวัตถุ A มีประจุลบ (ชนิดตรงกันข้าม) แผ่นโลหะจะหุบเข้า ครูสมพร เหล่าทองสาร
  • 16. อิเล็กโทรสโคป (Electroscope) หนังสือสารอ้างอิง นิรันดร์ สุวรัตน์. ฟิสิกส์ ม.6 เล่ม 1-2. สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา : กรุงเทพฯ, 2552. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนรายวิชา เพิ่มเติม ฟิสิกส์ เล่ม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. โรงพิมพ์คุรุสภา : กรุงเทพ, 2554. ครูสมพร เหล่าทองสาร