SlideShare a Scribd company logo
C

.       V   .
    +
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
      ในการเก็บประจุเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ มีการใช้ตัวนาทา
 หน้าที่เก็บประจุเรียกว่า ตัวเก็บประจุ (Capacitor) ซึ่งได้รับการ
 ออกแบบให้มีรูปทรงต่างๆ ดังรูปที่ 1 แต่การกาหนดสัญลักษณ์
 แทนตัวเก็บประจุยังเป็นแบบเดียวกัน คือ เป็นรูปขีดยาวสองขีด
 ขนานกันดังรูปที่ 2




 รูปที่ 1 ตัวเก็บประจุรูปร่างต่างๆ   รูปที่ 2 สัญลักษณ์ของตัวเก็บประจุ
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
      ความสามารถในการเก็บประจุของตัวเก็บประจุ เมื่อ
 พิจารณาตัวนาทรงกลมที่มีรศมี a ถ้าประจุที่เก็บไว้เท่ากับ Q จะ
                              ั
 ได้ว่า ศักย์ไฟฟ้า V ที่ผิวและภายในตัวนี้มีค่าเป็น
                           kQ
                        V
                            a
    สมการนี้แสดงว่าสาหรับตัวนาทรงกลม ศักย์ไฟฟ้าที่ผิวและที่
 ภายในตัวนาแปรผันตรงกับประจุที่ตัวนาเก็บไว้และแปรผกผัน
 กับรัศมีของทรงกลมนั้น
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
     จะได้ความสัมพันธ์ ความสามารถในการเก็บประจุ เรียกว่า
 ความจุ (capacitance) ของตัวนานันนั่นเอง ความจุหาได้จาก
                                 ้
 อัตราส่วนของประจุต่อความต่างศักย์ เมือให้ C แทน ความจุ
                                      ่
                           Q
                        C          … (4)
                           V
 เมื่อ Q คือ ประจุซึ่งเก็บไว้ที่ตัวเก็บประจุ และ V คือ ความต่าง
 ศักย์ของตัวเก็บประจุ โดยความจุมีหน่วยเป็น คูลอมบ์ต่อโวล์
 (C/V) หรือ ฟาหรัด โดยทั่วไปจะพบในรูป มิลลิฟารัด (mF),
 ไมโครฟารัด (F), นาโนฟารัด (nF) และพิโคฟารัด (pF)
 เป็นต้น
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
       เมื่อต่อตัวเก็บประจุ เข้ากับความต่างศักย์ พบว่า ตัวเก็บ
 ประจุจะเก็บประจุไว้ ซึ่งสามารถคานวณหาประจุได้จาก
                        Q  CV




               .             V            .
                                                     ... (4)
                          + –
ตัวอย่าง 1 ตัวเก็บประจุที่มีความจุ 20 ไมโครฟารัด ต่อเข้ากับความต่างศักย์ 6
  โวลต์ จะมีประจุบนตัวเก็บประจุนี้เท่าใด
                          วิธีทา        เราสามารถคานวณหาสนามไฟฟ้า
                                      จากสมการ (4) ดังนี้
        C = 20 F
                                                 Q
                                             C 
                                                 V
                                           Q  CV
                                            Q  (20  10 -6 F)  (6 V)

         + –                                Q  (20  6 ) 10 -6 F  V
         V = 6 Volt
ตัวอย่าง 1 ตัวเก็บประจุที่มีความจุ 20 ไมโครฟารัด ต่อเข้ากับความต่างศักย์ 6
  โวลต์ จะมีประจุบนตัวเก็บประจุนี้เท่าใด
                        วิธีทา (ต่อ)       Q  (20  6 ) 10 -6 C  V
        C = 20 F                                      C
                                           Q  120 10   V
                                                          -6

                                                       V
                                           Q  120 10 -6 C


                                       ตอบ ประจุบนตัวเก็บประจุนี้มีขนาด
         + –                               120 ไมโครคูลอมบ์
         V = 6 Volt
ตัวอย่าง 2 ตัวเก็บประจุต่อเข้ากับความต่างศักย์ 15 โวลต์ เกิดประจุไฟฟ้าขนาด
          600 ไมโครคูลอมบ์ ตัวเก็บนี้มีความจุเท่าใด
                         วิธีทา        เราสามารถคานวณหาสนามไฟฟ้า
Q = 600 F
                                     จากสมการ (4) ดังนี้
                                              Q
                                         C 
                                              V
                                          600  10 -6 C
                              แทนค่า C 
  V = 15 Volt                                15 V
                                          600     6 C
                                      C      10
                                          15         V
ตัวอย่าง ตัวเก็บประจุต่อเข้ากับความต่างศักย์ 15 โวลต์ เกิดประจุไฟฟ้าขนาด
         600 ไมโครคูลอมบ์ ตัวเก็บนี้มีความจุเท่าใด
                         วิธีทา (ต่อ)     เราสามารถคานวณหาสนามไฟฟ้า
Q = 600 F
                                        จากสมการ (4) ดังนี้
                                              600      6 C
                                          C      10
                                               15         V
                                                     6 C
                                          C  40 10
  V = 15 Volt                                           V
                                          C  40 106 F
                                          C  40 μF
                ตอบ ตัวเก็บประจุมีความจุขนาด 40 ไมโครฟารัด
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า

                +
 คาถาม 1
     ตัวเก็บประจุที่มีความจุ 36 ไมโครฟารัด ต่อเข้ากับความต่างศักย์
 3 โวลต์ จะมีประจุบนตัวเก็บประจุนี้เท่าใด


             ลองหาคาตอบดูนะครับ                            -
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า

 คาตอบ ข้อ 1
      ประจุบนตัวเก็บประจุมีขนาด 108 ไมโครคูลอมบ์


        ตอบถูกใช่ไหมครับ เก่งมากเลย!



                                       ตอบผิด ลองดูคาเฉลยนะครับ
คาถาม 1 ตัวเก็บประจุที่มีความจุ 36 ไมโครฟารัด ต่อเข้ากับความต่างศักย์ 3
 โวลต์ จะมีประจุบนตัวเก็บประจุนี้เท่าใด
                        วิธีทา       เราสามารถคานวณหาสนามไฟฟ้า
                                   จากสมการ (4) ดังนี้
       C = 36 F
                                               Q
                                           C 
                                               V
                                         Q  CV
                                          Q  (36  10 -6 F)  (3 V)

        + –                               Q  (36  3 ) 10 -6 F  V
        V = 3 Volt
คาถาม 1 ตัวเก็บประจุที่มีความจุ 36 ไมโครฟารัด ต่อเข้ากับความต่างศักย์ 3
 โวลต์ จะมีประจุบนตัวเก็บประจุนี้เท่าใด
                        วิธีทา (ต่อ)
       C = 36 F                       Q  108 10 -6 F  V
                                                   C
                                       Q  108 10   V
                                                      -6

                                                   V
                                       Q  108 10 -6 C


        + –                        ตอบ ประจุบนตัวเก็บประจุนี้มีขนาด
        V = 3 Volt                     108 ไมโครคูลอมบ์
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า

                +
 คาถาม 2
      ตัวเก็บประจุต่อเข้ากับความต่างศักย์ 9 โวลต์ เกิดประจุไฟฟ้าขนาด
 450 ไมโครคูลอมบ์ ตัวเก็บนี้มีความจุเท่าใด


            ลองหาคาตอบดูนะครับ                            -
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า

 คาตอบ ข้อ 2
               ตัวเก็บประจุนี้มีขนาด 50 ไมโครฟารัด


        ตอบถูกใช่ไหมครับ เก่งมากเลย!



                                        ตอบผิด ลองดูคาเฉลยนะครับ
คาถาม 2 ตัวเก็บประจุต่อเข้ากับความต่างศักย์ 9 โวลต์ เกิดประจุไฟฟ้าขนาด 450
 ไมโครคูลอมบ์ ตัวเก็บนี้มีความจุเท่าใด

 Q = 450 F             วิธีทา       เราสามารถคานวณหาสนามไฟฟ้า
                                   จากสมการ (4) ดังนี้
                                             Q
                                        C 
                                             V
                                         450  10 -6 C
                             แทนค่า C 
 V = 9 Volt                                  9V
                                         450     6 C
                                     C      10
                                          9         V
คาถาม 2 ตัวเก็บประจุต่อเข้ากับความต่างศักย์ 9 โวลต์ เกิดประจุไฟฟ้าขนาด 450
 ไมโครคูลอมบ์ ตัวเก็บนี้มีความจุเท่าใด
                        วิธีทา (ต่อ)     เราสามารถคานวณหาสนามไฟฟ้า
Q = 450 F
                                       จากสมการ (4) ดังนี้
                                             450      6 C
                                         C      10
                                              9          V
                                                    6 C
                                         C  50 10
 V = 9 Volt                                            V
                                         C  50 106 F
                                         C  50 μF
              ตอบ ตัวเก็บประจุมีความจุขนาด 50 ไมโครฟารัด
ความจุของตัวนาทรงกลม ขึ้นอยู่กับรัศมี นั่นคือ ถ้ามีรัศมี
  มากขึ้นก็จะทาให้ความจุของทรงกลมมากขึ้นไปด้วย ดังสมการ


                                    a
               a               C         … (5)
                                    k



เมื่อ a คือ รัศมีของตัวนาทรงกลม, k = ค่าคงที่ = 9 x 109 Nm2/C2
ตัวอย่าง 3 ตัวนาทรงกลมมีรัศมี 25 เซนติเมตร จะมีค่าความจุไฟฟ้าเป็นเท่าใด


                        วิธีทา          เราสามารถคานวณหาสนามไฟฟ้า
                                      จากสมการ (5) ดังนี้
                                                a
           a                                C 
                                                k
                                                  25  10 -2 C
                             แทนค่า        C 
  a = 25 cm                                    9 10 9 Nm 2 /C2
                                               25 10 2
                                           C     9 F
                                                9 10
ตัวอย่าง 3 ตัวนาทรงกลมมีรัศมี 25 เซนติเมตร จะมีค่าความจุไฟฟ้าเป็นเท่าใด

                        วิธทา (ต่อ)
                           ี                25 10 2
                                        C      9 F
                                             9 10
                                        C  2.78  (10 29 ) F
           a                            C  2.781011 F
                                        C  (27.8 10 1 ) 10 11 F

  a = 25 cm                            C  27.8  (10 111 ) F
                                        C  27.81012 F
                                       C  27.8 pF
      ตอบ ทรงกลมตัวนามีความจุขนาด 27.8 พิโครฟารัด
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า

               +
 คาถาม 3
    ตัวนาทรงกลมมีรัศมี 15 เซนติเมตร จะมีค่าความจุไฟฟ้าเป็นเท่าใด



            ลองหาคาตอบดูนะครับ                          -
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า

 คาตอบ ข้อ 3
               ทรงกลมตัวนามีความจุขนาด 16.7 พิโคฟารัด


        ตอบถูกใช่ไหมครับ เก่งมากเลย!



                                       ตอบผิด ลองดูคาเฉลยนะครับ
คาถาม 3 ตัวนาทรงกลมมีรัศมี 15 เซนติเมตร จะมีค่าความจุไฟฟ้าเป็นเท่าใด


                        วิธีทา          เราสามารถคานวณหาสนามไฟฟ้า
                                      จากสมการ (5) ดังนี้
                                                a
           a                                C 
                                                k
                                                  15  10 -2 C
                             แทนค่า        C 
 a = 15 cm                                     9 10 9 Nm 2 /C2
                                               15 10 2
                                           C     9 F
                                                9 10
คาถาม 3 ตัวนาทรงกลมมีรัศมี 15 เซนติเมตร จะมีค่าความจุไฟฟ้าเป็นเท่าใด

                        วิธทา (ต่อ)
                           ี               15 10 2
                                       C     9 F
                                            9 10
                                       C  1.67  (10 29 ) F
           a                           C  1.671011 F
                                      C  (16.7 10 1 ) 10 11 F

 a = 15 cm                            C  16.7  (10 111 ) F
                                       C  16.71012 F
                                      C  16.7 pF
      ตอบ ทรงกลมตัวนามีความจุขนาด 16.7 พิโครฟารัด
ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า
                               หนังสือสารอ้างอิง

นิรันดร์ สุวรัตน์. ฟิสิกส์ ม.6 เล่ม 1-2. สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา :
    กรุงเทพฯ, 2552.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนรายวิชา
    เพิ่มเติม ฟิสิกส์ เล่ม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. โรงพิมพ์คุรุสภา : กรุงเทพ,
    2554.

More Related Content

What's hot

เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
Wijitta DevilTeacher
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
Phanuwat Somvongs
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
Sukanya Nak-on
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
Wijitta DevilTeacher
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
Weerachat Martluplao
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
Chanthawan Suwanhitathorn
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊สWijitta DevilTeacher
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
พัน พัน
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
Kobwit Piriyawat
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าTheerawat Duangsin
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
Preeyapat Lengrabam
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
Chanthawan Suwanhitathorn
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
Pinutchaya Nakchumroon
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์
Chakkrawut Mueangkhon
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
Sircom Smarnbua
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนkrupornpana55
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
พนภาค ผิวเกลี้ยง
 

What's hot (20)

เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชนเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง โมเมนตัมและการชน
 
ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3ไฟฟ้าม3
ไฟฟ้าม3
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
ใบงานที่ 2 การจัดเรียงอิเล็กตรอน
 
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงานเอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
เอกสารประกอบบทเรียน เรื่อง งานและพลังงาน
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
 
ไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPptไฟฟ้าสถิตPpt
ไฟฟ้าสถิตPpt
 
ไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิตไฟฟ้าสถิต
ไฟฟ้าสถิต
 
6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส6สมบัติของแก๊ส
6สมบัติของแก๊ส
 
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออนมวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
มวลอะตอม มวลโมเลกุล มวลไอออน
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
แม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้าแม่เหล็กไฟฟ้า
แม่เหล็กไฟฟ้า
 
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
3 กฎของชาร์ล กฎของเกย์ลูสแซก
 
ไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแสไฟฟ้ากระแส
ไฟฟ้ากระแส
 
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือดบทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
บทที่ 1 พันธุกรรมกับหมู่เลือด
 
แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์แสงเชิงฟิสิกส์
แสงเชิงฟิสิกส์
 
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
4 พลังงานกับการดำเนินไปของปฏิกิริยา
 
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อนAแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
Aแบบทดสอบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน เรื่อง การถ่ายโอนพลังงานความร้อน
 
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
ชุดฝึกทักษะเรื่องไฟฟ้าสถิต ชุดที่ 1
 

Viewers also liked

เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52krukrajeab
 
06 types of electroscopes
06 types of electroscopes06 types of electroscopes
06 types of electroscopesmrtangextrahelp
 
Charging and Discharging Objects
Charging and Discharging ObjectsCharging and Discharging Objects
Charging and Discharging ObjectsOhMiss
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
Chakkrawut Mueangkhon
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
Phanuwat Somvongs
 

Viewers also liked (19)

ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)
ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)
ศักย์ไฟฟ้า (Electric potential)
 
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of  charge)
กฎการอนุรักษ์ประจุไฟฟ้า (Conservation of charge)
 
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
แรงระหว่างประจุและกฎของคูลอมบ์
 
สนามไฟฟ้า (Electric filed)
สนามไฟฟ้า (Electric filed)สนามไฟฟ้า (Electric filed)
สนามไฟฟ้า (Electric filed)
 
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
ตัวนำและฉนวนไฟฟ้า (Conductor and insulator)
 
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
เส้นสนามไฟฟ้า (Electric line of force)
 
Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า) Charge (ประจุไฟฟ้า)
Charge (ประจุไฟฟ้า)
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
 
06 types of electroscopes
06 types of electroscopes06 types of electroscopes
06 types of electroscopes
 
Charging and Discharging Objects
Charging and Discharging ObjectsCharging and Discharging Objects
Charging and Discharging Objects
 
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
อิเล็กโทรสโคป (Electroscope)
 
Key2 2
Key2 2Key2 2
Key2 2
 
Key2 1
Key2 1Key2 1
Key2 1
 
Key2 5
Key2 5Key2 5
Key2 5
 
Key2 3
Key2 3Key2 3
Key2 3
 
Key2 4
Key2 4Key2 4
Key2 4
 
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิตหน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
หน่วยที่ 1 ไฟฟ้าฟ้าสถิต
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 

More from นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม

เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
รายงานสรุปการปฏิบัติงานรายงานสรุปการปฏิบัติงาน
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
ไข้เลือดออก (Dengue)
ไข้เลือดออก (Dengue)ไข้เลือดออก (Dengue)
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม
 
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม
 
Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm6t2p57Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm4t2p57
Courseoutlinephysicsm4t2p57Courseoutlinephysicsm4t2p57
Aimphysicsm6t2p57
Aimphysicsm6t2p57Aimphysicsm6t2p57
Aimphysicsm4t2p57
Aimphysicsm4t2p57Aimphysicsm4t2p57

More from นายสมพร เหล่าทองสาร โรงเรียนดงบังพิสัยนวการนุสรณ์ อำเภอนาดูน จังหวัดมหาสารคาม (20)

Test Blueprint ONET M3 2560
Test Blueprint ONET M3 2560Test Blueprint ONET M3 2560
Test Blueprint ONET M3 2560
 
Test Blueprint ONET M6 2559
Test Blueprint ONET M6 2559Test Blueprint ONET M6 2559
Test Blueprint ONET M6 2559
 
Test Blueprint ONET M3 2559
Test Blueprint ONET M3 2559 Test Blueprint ONET M3 2559
Test Blueprint ONET M3 2559
 
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
การใช้งานเวอร์เนียร์คาร์ลิปเปอร์
 
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
เลขนัยสำคัญ (Significant figures)
 
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
รายงานสรุปผลการปฏิบัติงาน 2/2558
 
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2558
 
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
รายงานสรุปการปฏิบัติงานรายงานสรุปการปฏิบัติงาน
รายงานสรุปการปฏิบัติงาน
 
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
การเข้าร่วมกิจกรรม E2 : Budapest 2016
 
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
การบันทึกผลการเรียนออนไลน์
 
Pressure
PressurePressure
Pressure
 
ไข้เลือดออก (Dengue)
ไข้เลือดออก (Dengue)ไข้เลือดออก (Dengue)
ไข้เลือดออก (Dengue)
 
ความหนาแน่น (Density)
ความหนาแน่น (Density)ความหนาแน่น (Density)
ความหนาแน่น (Density)
 
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
การนำเสนอผลการติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
สรุปแบบติดตามโครงการยกระดับคุณภาพและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
 
Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm6t2p57Courseoutlinephysicsm6t2p57
Courseoutlinephysicsm6t2p57
 
Courseoutlinephysicsm4t2p57
Courseoutlinephysicsm4t2p57Courseoutlinephysicsm4t2p57
Courseoutlinephysicsm4t2p57
 
Aimphysicsm6t2p57
Aimphysicsm6t2p57Aimphysicsm6t2p57
Aimphysicsm6t2p57
 
Aimphysicsm4t2p57
Aimphysicsm4t2p57Aimphysicsm4t2p57
Aimphysicsm4t2p57
 
WHAT IS PISA 4
WHAT IS PISA 4WHAT IS PISA 4
WHAT IS PISA 4
 

ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า

  • 1. C . V . +
  • 2. ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า ในการเก็บประจุเพื่อนาไปใช้ประโยชน์ มีการใช้ตัวนาทา หน้าที่เก็บประจุเรียกว่า ตัวเก็บประจุ (Capacitor) ซึ่งได้รับการ ออกแบบให้มีรูปทรงต่างๆ ดังรูปที่ 1 แต่การกาหนดสัญลักษณ์ แทนตัวเก็บประจุยังเป็นแบบเดียวกัน คือ เป็นรูปขีดยาวสองขีด ขนานกันดังรูปที่ 2 รูปที่ 1 ตัวเก็บประจุรูปร่างต่างๆ รูปที่ 2 สัญลักษณ์ของตัวเก็บประจุ
  • 3. ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า ความสามารถในการเก็บประจุของตัวเก็บประจุ เมื่อ พิจารณาตัวนาทรงกลมที่มีรศมี a ถ้าประจุที่เก็บไว้เท่ากับ Q จะ ั ได้ว่า ศักย์ไฟฟ้า V ที่ผิวและภายในตัวนี้มีค่าเป็น kQ V a สมการนี้แสดงว่าสาหรับตัวนาทรงกลม ศักย์ไฟฟ้าที่ผิวและที่ ภายในตัวนาแปรผันตรงกับประจุที่ตัวนาเก็บไว้และแปรผกผัน กับรัศมีของทรงกลมนั้น
  • 4. ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า จะได้ความสัมพันธ์ ความสามารถในการเก็บประจุ เรียกว่า ความจุ (capacitance) ของตัวนานันนั่นเอง ความจุหาได้จาก ้ อัตราส่วนของประจุต่อความต่างศักย์ เมือให้ C แทน ความจุ ่ Q C … (4) V เมื่อ Q คือ ประจุซึ่งเก็บไว้ที่ตัวเก็บประจุ และ V คือ ความต่าง ศักย์ของตัวเก็บประจุ โดยความจุมีหน่วยเป็น คูลอมบ์ต่อโวล์ (C/V) หรือ ฟาหรัด โดยทั่วไปจะพบในรูป มิลลิฟารัด (mF), ไมโครฟารัด (F), นาโนฟารัด (nF) และพิโคฟารัด (pF) เป็นต้น
  • 5. ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า เมื่อต่อตัวเก็บประจุ เข้ากับความต่างศักย์ พบว่า ตัวเก็บ ประจุจะเก็บประจุไว้ ซึ่งสามารถคานวณหาประจุได้จาก Q  CV . V . ... (4) + –
  • 6. ตัวอย่าง 1 ตัวเก็บประจุที่มีความจุ 20 ไมโครฟารัด ต่อเข้ากับความต่างศักย์ 6 โวลต์ จะมีประจุบนตัวเก็บประจุนี้เท่าใด วิธีทา เราสามารถคานวณหาสนามไฟฟ้า จากสมการ (4) ดังนี้ C = 20 F Q C  V  Q  CV Q  (20  10 -6 F)  (6 V) + – Q  (20  6 ) 10 -6 F  V V = 6 Volt
  • 7. ตัวอย่าง 1 ตัวเก็บประจุที่มีความจุ 20 ไมโครฟารัด ต่อเข้ากับความต่างศักย์ 6 โวลต์ จะมีประจุบนตัวเก็บประจุนี้เท่าใด วิธีทา (ต่อ) Q  (20  6 ) 10 -6 C  V C = 20 F C Q  120 10 V -6 V Q  120 10 -6 C ตอบ ประจุบนตัวเก็บประจุนี้มีขนาด + – 120 ไมโครคูลอมบ์ V = 6 Volt
  • 8. ตัวอย่าง 2 ตัวเก็บประจุต่อเข้ากับความต่างศักย์ 15 โวลต์ เกิดประจุไฟฟ้าขนาด 600 ไมโครคูลอมบ์ ตัวเก็บนี้มีความจุเท่าใด วิธีทา เราสามารถคานวณหาสนามไฟฟ้า Q = 600 F จากสมการ (4) ดังนี้ Q C  V 600  10 -6 C แทนค่า C  V = 15 Volt 15 V 600 6 C C  10 15 V
  • 9. ตัวอย่าง ตัวเก็บประจุต่อเข้ากับความต่างศักย์ 15 โวลต์ เกิดประจุไฟฟ้าขนาด 600 ไมโครคูลอมบ์ ตัวเก็บนี้มีความจุเท่าใด วิธีทา (ต่อ) เราสามารถคานวณหาสนามไฟฟ้า Q = 600 F จากสมการ (4) ดังนี้ 600 6 C C  10 15 V 6 C C  40 10 V = 15 Volt V C  40 106 F C  40 μF ตอบ ตัวเก็บประจุมีความจุขนาด 40 ไมโครฟารัด
  • 10. ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า + คาถาม 1 ตัวเก็บประจุที่มีความจุ 36 ไมโครฟารัด ต่อเข้ากับความต่างศักย์ 3 โวลต์ จะมีประจุบนตัวเก็บประจุนี้เท่าใด ลองหาคาตอบดูนะครับ -
  • 11. ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า คาตอบ ข้อ 1 ประจุบนตัวเก็บประจุมีขนาด 108 ไมโครคูลอมบ์ ตอบถูกใช่ไหมครับ เก่งมากเลย! ตอบผิด ลองดูคาเฉลยนะครับ
  • 12. คาถาม 1 ตัวเก็บประจุที่มีความจุ 36 ไมโครฟารัด ต่อเข้ากับความต่างศักย์ 3 โวลต์ จะมีประจุบนตัวเก็บประจุนี้เท่าใด วิธีทา เราสามารถคานวณหาสนามไฟฟ้า จากสมการ (4) ดังนี้ C = 36 F Q C  V  Q  CV Q  (36  10 -6 F)  (3 V) + – Q  (36  3 ) 10 -6 F  V V = 3 Volt
  • 13. คาถาม 1 ตัวเก็บประจุที่มีความจุ 36 ไมโครฟารัด ต่อเข้ากับความต่างศักย์ 3 โวลต์ จะมีประจุบนตัวเก็บประจุนี้เท่าใด วิธีทา (ต่อ) C = 36 F Q  108 10 -6 F  V C Q  108 10 V -6 V Q  108 10 -6 C + – ตอบ ประจุบนตัวเก็บประจุนี้มีขนาด V = 3 Volt 108 ไมโครคูลอมบ์
  • 14. ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า + คาถาม 2 ตัวเก็บประจุต่อเข้ากับความต่างศักย์ 9 โวลต์ เกิดประจุไฟฟ้าขนาด 450 ไมโครคูลอมบ์ ตัวเก็บนี้มีความจุเท่าใด ลองหาคาตอบดูนะครับ -
  • 15. ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า คาตอบ ข้อ 2 ตัวเก็บประจุนี้มีขนาด 50 ไมโครฟารัด ตอบถูกใช่ไหมครับ เก่งมากเลย! ตอบผิด ลองดูคาเฉลยนะครับ
  • 16. คาถาม 2 ตัวเก็บประจุต่อเข้ากับความต่างศักย์ 9 โวลต์ เกิดประจุไฟฟ้าขนาด 450 ไมโครคูลอมบ์ ตัวเก็บนี้มีความจุเท่าใด Q = 450 F วิธีทา เราสามารถคานวณหาสนามไฟฟ้า จากสมการ (4) ดังนี้ Q C  V 450  10 -6 C แทนค่า C  V = 9 Volt 9V 450 6 C C  10 9 V
  • 17. คาถาม 2 ตัวเก็บประจุต่อเข้ากับความต่างศักย์ 9 โวลต์ เกิดประจุไฟฟ้าขนาด 450 ไมโครคูลอมบ์ ตัวเก็บนี้มีความจุเท่าใด วิธีทา (ต่อ) เราสามารถคานวณหาสนามไฟฟ้า Q = 450 F จากสมการ (4) ดังนี้ 450 6 C C  10 9 V 6 C C  50 10 V = 9 Volt V C  50 106 F C  50 μF ตอบ ตัวเก็บประจุมีความจุขนาด 50 ไมโครฟารัด
  • 18. ความจุของตัวนาทรงกลม ขึ้นอยู่กับรัศมี นั่นคือ ถ้ามีรัศมี มากขึ้นก็จะทาให้ความจุของทรงกลมมากขึ้นไปด้วย ดังสมการ a a C … (5) k เมื่อ a คือ รัศมีของตัวนาทรงกลม, k = ค่าคงที่ = 9 x 109 Nm2/C2
  • 19. ตัวอย่าง 3 ตัวนาทรงกลมมีรัศมี 25 เซนติเมตร จะมีค่าความจุไฟฟ้าเป็นเท่าใด วิธีทา เราสามารถคานวณหาสนามไฟฟ้า จากสมการ (5) ดังนี้ a a C  k 25  10 -2 C แทนค่า C  a = 25 cm 9 10 9 Nm 2 /C2 25 10 2 C   9 F 9 10
  • 20. ตัวอย่าง 3 ตัวนาทรงกลมมีรัศมี 25 เซนติเมตร จะมีค่าความจุไฟฟ้าเป็นเท่าใด วิธทา (ต่อ) ี 25 10 2 C   9 F 9 10 C  2.78  (10 29 ) F a C  2.781011 F C  (27.8 10 1 ) 10 11 F a = 25 cm C  27.8  (10 111 ) F C  27.81012 F C  27.8 pF ตอบ ทรงกลมตัวนามีความจุขนาด 27.8 พิโครฟารัด
  • 21. ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า + คาถาม 3 ตัวนาทรงกลมมีรัศมี 15 เซนติเมตร จะมีค่าความจุไฟฟ้าเป็นเท่าใด ลองหาคาตอบดูนะครับ -
  • 22. ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า คาตอบ ข้อ 3 ทรงกลมตัวนามีความจุขนาด 16.7 พิโคฟารัด ตอบถูกใช่ไหมครับ เก่งมากเลย! ตอบผิด ลองดูคาเฉลยนะครับ
  • 23. คาถาม 3 ตัวนาทรงกลมมีรัศมี 15 เซนติเมตร จะมีค่าความจุไฟฟ้าเป็นเท่าใด วิธีทา เราสามารถคานวณหาสนามไฟฟ้า จากสมการ (5) ดังนี้ a a C  k 15  10 -2 C แทนค่า C  a = 15 cm 9 10 9 Nm 2 /C2 15 10 2 C   9 F 9 10
  • 24. คาถาม 3 ตัวนาทรงกลมมีรัศมี 15 เซนติเมตร จะมีค่าความจุไฟฟ้าเป็นเท่าใด วิธทา (ต่อ) ี 15 10 2 C   9 F 9 10 C  1.67  (10 29 ) F a C  1.671011 F C  (16.7 10 1 ) 10 11 F a = 15 cm C  16.7  (10 111 ) F C  16.71012 F C  16.7 pF ตอบ ทรงกลมตัวนามีความจุขนาด 16.7 พิโครฟารัด
  • 25. ตัวเก็บประจุและความจุไฟฟ้า หนังสือสารอ้างอิง นิรันดร์ สุวรัตน์. ฟิสิกส์ ม.6 เล่ม 1-2. สานักพิมพ์ พ.ศ. พัฒนา : กรุงเทพฯ, 2552. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. หนังสือเรียนรายวิชา เพิ่มเติม ฟิสิกส์ เล่ม 4 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6. โรงพิมพ์คุรุสภา : กรุงเทพ, 2554.