SlideShare a Scribd company logo
1 of 142
Download to read offline
โครงสร้ างอะตอม
     และ
   ตารางธาตุ
โครงสร้ างอะตอม
อะตอม (atom)
• อะตอมมีมาก่ อนคริสศักราชประมาณ 500 ปี
• นักปราชญ์ ชาวกรีก ชื่อว่ า “ดีโมคริตุส
  (Democritus)”
 เชื่อว่ า “ถ้ าแบ่ งสารให้ เล็กลงเรื่อยๆ ในทีสุดจะได้
                                              ่
 หน่ วยย่ อยซึ่งไม่ สามารถแบ่ งให้ เล็กลงไปได้ อก”ี
 ซึ่งเรียกหน่ วยย่ อยนีว่า
                       ้     “อะตอม”
แบบจาลองอะตอมของดอลตัน
• ปี พ.ศ. 2346 มีนักวิทยาศาสตร์ ชาวอังกฤษ
  ชื่อว่ า นายจอห์ น ดอลตัน ได้ ต้งทฤษฎีเกียวกับ
                                  ั        ่
  อะตอมขึนมามีอยู่ 3 ข้ อง่ ายๆ ดังนี้
             ้
     1. ธาตุต้องประกอบไปด้ วยอนุภาคเล็กๆ
  เรียกว่ า “อะตอม” อะตอมนั้นแบ่ งแยกไม่ ได้
  หรือทาให้ สู ญหายไม่ ได้
2. อะตอมของธาตุเดียวกันจะต้ องมีสมบัติ
เหมือนกัน เช่ น มีมวลเท่ ากัน และจะมีสมบัติ
แตกต่ างจากธาตุอน ่ื
   3. สารประกอบเกิดจากอะตอมรวมกันทาง
เคมีด้วยอัตราส่ วนจานวนอะตอมเป็ นเลขลงตัว
น้ อยๆ
  นักวิทยาศาสตร์ ได้ มีการนาทฤษฎีต่างๆ มา
พิสูจน์
* ทฤษฎีข้อที่ 3 ของดอลตันยังสามารถใช้ ได้
แบบจาลองอะตอมของทอม
                     สั น
• JJ ทอมสั น ได้ ทาการทดลองเกียวกับ
                              ่
“หลอดรังสี แคโทด (Cathode-ray tube)”
 หลอดรังสี แคโทด เป็ นเครื่องมือสาหรับทดลอง
 เกียวกับการนาไฟฟาของก๊ าซ ประกอบด้ วย
    ่               ้
 หลอดแก้ วซึ่งบรรจุก๊าซทีมความดันตา ทีปลาย
                         ่ ี        ่ ่
 ทั้งสองด้ านของหลอดมีโลหะ 2 แผ่ น เรียกว่ า
 อิเล็กโทรด (electrode)
ต่ อกับ เครื่องกาเนิดไฟฟ้ าศักย์ สูง
(High Voltage) ประมาณ 10,000 โวลต์ แผ่ น
โลหะที่ต่อจากปลายด้ านไฟฟ้ าลบ เรียกว่ า ขั้ว
แคโทด (Cathode) ส่ วนแผ่ นโลหะที่ต่อจาก
ปลายด้ านไฟฟ้ าบวก เรียกว่ า ขั้วแอโนด
(Anode)
หลอดรังสี แคโทดที่ดดแปลงแล้ ว
                   ั
             หลอดรังสี แคโทดที่มีข้วไฟฟาในหลอดเพิมขึนอีกสองขั้ว
                                   ั ้           ่ ้
สมบัติของรังสี แคโทด
1. รังสี แคโทดสามารถทาให้ ฉากเรืองแสงเกิดการ
   เรืองแสงได้
2. เมื่อให้ รังสี แคโทดอยู่ระหว่ างขั้วไฟฟ้ า รังสี
   แคโทดจะเบนเข้ าหาขั้วบวก แสดงว่ า รังสี แคโทด
   ประกอบด้ วยอนุภาคทีมประจุไฟฟ้ าลบ ซึ่ง
                            ่ ี
   ต่ อมาเรียกอนุภาคนีว่า “อิเล็กตรอน”
                         ้
3. เมื่อรังสี แคโทดอยู่ในสนามแม่ เหล็กจะเกิดการ
   เบี่ยงเบนจากแนวเส้ นตรง
4. รังสี แคโทดเดินทางเป็ นเส้ นตรงจากแคโทดไป
   ยังแอโนด ถ้ ามีวตถุทบแสงมากั้นทางเดินของ
                     ั ึ
   รังสี กจะทาให้ เกิดเงา (shadow)
          ็
5. รังสี แคโทดสามารถทาให้ กงหันทีทาด้ วยวัตถุท่ี
                               ั   ่
   มีขนาดเล็กมาก ซึ่งขวางทางเดินของรังสี
   เคลือนทีหรือหมุนได้ แสดงว่ า “รังสี แคโทด
       ่ ่
   ประกอบด้ วยอนุภาคทีมีมวล”่
   สรุปสมบัตของรังสี แคโทด :
              ิ
ประกอบด้ วยอนุภาคทีมี ประจุไฟฟ้ าเป็ นลบและมี
                       ่
   มวล
ผลการทดลองของทอมสั น
• อนุภาคทีเ่ กิดจากขั้วแคโทดมีประจุไฟฟ้ าเป็ นลบ
  (-)
  เรียกอนุภาคนีว่า อิเล็กตรอน (e
                 ้               -)

• โดยมีการคานวณการทดลอง หา
    ประจุ/มวลของ e- มีค่า = 1.76 X 108 คูลอมบ์ /กรัม
•    อะตอมของทุกธาตุต้องประกอบด้ วย e -
การค้ นพบโปรตอน
• ออยเกน โกลด์ สไตน์ (Eugen goldstein)
  นักฟิ สิ กส์ ชาวเยอรมัน ได้ ดดแปลงหลอด
                               ั
  รังสี แคโทดที่ทอมสั นทาการทดลอง โดย
  เพิมฉากไว้ อกด้ านหนึ่งของหลอด
     ่           ี
ผลการทดลองของออยเกน
ได้ ข้อสรุปว่ า
1. รังสี ที่ผ่านขั้ว Cathode มีประจุไฟฟ้ าบวก จึง
     เรียกอนุภาคนีว่า “โปรตอน (prothon)”
                     ้
2. แต่ จากการหาประจุ/มวลของโปรตอนของธาตุที่
   ต่ างกันจะมีค่าไม่ เท่ ากัน แสดงว่ า
      “มวลของโปรตอนของแต่ ละธาตุมค่าต่ างกัน”
                                        ี
3. จากการทดลองของทอมสั นและออยเกน ทาให้
   ทราบว่ า “ธาตุทุกชนิดจะต้ องประกอบด้ วย
   อนุภาคโปรตอนและอิเล็กตรอน”
4. ดังนั้น แบบจาลองอะตอมของทอมสั นจึง
   เสนอขึนมา มีลกษณะทรงกลม มีอนุภาคของ
           ้      ั
   e-และ p อยู่กระจัดกระจาย
                 + - + -
                  - + - +
                 +
                   - +-
การหาประจุของอิเล็กตรอน
• มิลลิแกน สามารถคานวณประจุของอิเล็กตรอน
  ออกมาได้ โดยวิธี “ หยดน้ามัน” ซึ่งมีวธีการ ิ
  ดังนี้
• พ่นน้ามันเป็ นละอองเม็ดเล็กๆ ให้ ตกลงมา
  ระหว่ างแผ่ นโลหะ 2 แผ่ น แล้ วใช้ รังสี เอกซ์
  ไปน็อคอิเล็กตรอนให้ หลุดจากอะตอมของแก๊ส
  ในอากาศ
แล้ วให้ อเิ ล็กตรอนไปเกาะติดบนหยดน้ามัน หยด
  น้ามันบางหยดมีอเิ ล็กตรอนเกาะเพียงตัวเดียว
  บางหยดเกาะมากกว่ า 1 ตัว หยดน้ามันจะตกลง
  มาตามแรงโน้ มถ่ วงของโลก จากนั้นผ่ าน
  กระแสไฟฟ้ าเข้ าไปจนหยดนามันหยุดนิ่งซึ่ง
                               ้
  แสดงว่ า แรงโน้ มถ่ วงของโลกเท่ ากับแรงไฟฟา
                                            ้
  แล้ วคานวณหาค่ าประจุออกมา
ประจุของอิเล็กตรอน (e) =   1.602X10 -19   คูลอมบ์
การหามวลของ
• มิลลิแกน หาค่ า e
                    อิเ=ล็1.602 x10 คูลอมบ์
                           กตรอน
• ทอมสั น หาค่ า e/m = 1.76x 10 คูลอมบ์ / กรัม
                                8
                                 -19

            m = 1.602x10-19
                        1.76x108
                =    0.911x10-27 กรัม
                =      9.11x 10-28 กรัม
มวลของอิเล็กตรอน 1 อิเล็กตรอน = 9.11x10-28 กรัม
แบบจาลองอะตอมของ
  หลังจากที่นักวิทยาศาสตร์ ชาวฝรั่งเศส ชื่อ
            รับสารกัมมันฟอร์ และเรินต์เกน ได้
เบเคเรล ได้ พ
              ทเทอร์ ตรังสี ด
ค้ นพบรังสี เอ็กซ์ รัทเทอร์ ฟอร์ ดก็ได้ ทาการศึกษา
ธรรมชาติของรังสี ที่เกิดจากสารกัมมันตภาพรังสี
พบว่ า รังสี ที่เกิดจากการสลายตัวของสาร
กัมมันตรังสี มีอยู่ 3 ชนิด คือ
        1. รังสี แอลฟา
        2. รังสี บีตา
        3. รังสี แกมมา
รังสี ต่างๆ มีสมบัติดงนี้
                              ั
• รังสี แอลฟาหรืออนุภาคแอลฟา ประกอบด้ วย
  อนุภาคทีมีประจุไฟฟ้ าเป็ นบวก (+2) เป็ น
           ่
  นิวเคลียสของอะตอมของธาตุฮีเลียม คือ
  ประกอบด้ วยโปรตอน 2 ตัว และนิวตรอน 2
  ตัว มีอานาจผ่ านทะลุวตถุได้ น้อยมาก ถูกกั้น
                        ั
  โดยกระดาษเพียงแผ่ นเดียวหรือสองแผ่ น
• รังสี บีตาหรืออนุภาคบีตา ประกอบด้ วย
  อิเล็กตรอนทีมีพลังงานสู ง มีอานาจการผ่ านทะลุ
                  ่
  สู งกว่ ารังสี แอลฟา ถูกกั้นโดยใช้ แผ่ นโลหะบางๆ
• รังสี แกมมา แสดงสมบัติเป็ นคลืนแม่ เหล็กไฟฟา
                                     ่            ้
  ที่มีความยาวคลืนสั้ นมากคล้ายรังสี เอ็กซ์ รังสี
                    ่
  แกมมาไม่ มีมวล ไม่ มีประจุ มีอานาจผ่ านทะลุ
  สู งมาก ถูกกั้นได้ โดยแผ่ นตะกัวหนา
                                  ่
การทดลองของรัทเทอร์ ฟอร์ ด
 ปี ค.ศ. 1911 ลอร์ ด เออร์ เนสต์ รัทเทอร์ ฟอร์ ด ,
 ฮันส์ ไกเกอร์ และ เออร์ เนสต์ มาร์ เดน ได้ ทาการ
ทดลองร่ วมกันที่ประเทศอังกฤษ โดยทาการทดลอง
                       ดังนี้
 ใช้ อนุภาคแอลฟายิงไปยังแผ่ นโลหะทองคาบางๆ
    และใช้ ฉากเรืองแสงซึ่งฉาบด้ วยซิงค์ ซัลไฟด์ เป็ น
    ฉากรับอนุภาคแอลฟา เพือตรวจสอบว่ าอนุภาค
                              ่
    แอลฟาวิงไปทิศทางใดบ้ าง
            ่
จากการทดลองพบว่ า
       “อนุภาคแอลฟาส่ วนใหญ่ วงผ่ านแผ่ นทองคา
                              ิ่
  เป็ นแนวเส้ นตรงออกไปและยังมีอนุภาคบางส่ วน
  สะท้ อนกลับ”
  ซึ่งผลการทดลองดังกล่ าวทาให้ รัทเทอร์ ฟอร์ ด
  ประหลาดใจและสงสั ยมาก เนื่องจากแบบจาลอง
  อะตอมของทอมสั นไม่ สอดคล้ องกับผลการทดลอง
ฉากเรืองแสง ZnS
 แผ่ นทองคาบาง ๆ
                                (ข)
                (ค)
          รังสี a
   4
     He                   >
                          >     (ก)
   2                      >
แหล่ งกาเนิ
                                (ข)
ด
รังสี (Ra)
ผลการทดลองของรัทเทอร์ ฟอร์ ด
• การทีอนุภาคแอลฟาส่ วนใหญ่ ทวงผ่ านอะตอมของ
        ่                      ี่ ิ่
  แผ่ นทองคาเป็ นแนวเส้ นตรง แสดงว่ า อะตอมไม่ ใช่
  ของแข็งทึบตัน แต่ ภายในอะตอมมีทว่างอยู่มาก
                                     ี่
  เพราะถ้ าเป็ นของแข็งทึบตัน อนุภาคแอลฟาซึ่งมี
  ประจุไฟฟ้ าบวก มีมวลมาก ควรเฉออกจากทาง
  เดิม
• อนุภาคแอลฟาบางอนุภาคทีหักเหออกจากทางเดิม
                             ่
  เพราะภายในอะตอมมีอนุภาคทีมมวลมากและมี
                                ่ ี
  ประจุไฟฟ้ าบวกสู งมีขนาดเล็ก ดังนั้นเมื่ออนุภาค
  แอลฟาเข้ าใกล้ อนุภาคนีจะถูกผลักให้ เบนออกจาก
                         ้
  เดิม หรือเมื่ออนุภาคแอลฟาเข้ ามากระทบอย่ างจัง
  ก็จะสะท้ อนกลับ
สรุปแบบจาลองอะตอมของ
          รัทเทอร์ ฟอร์ ด
 “อะตอมประกอบด้ วยโปรตอนซึ่งรวมกันเป็ น
นิวเคลียสอยู่ตรงกลาง นิวเคลียสมีขนาดเล็กมาก
แต่ มีมวลมากและมีประจุบวก ส่ วนอิเล็กตรอนซึ่ง
     มีประจุลบและมีมวลน้ อยมากวิงอยู่รอบๆ
                                   ่
           นิวเคลียสเป็ นบริเวณกว้ าง”
การค้ นพบนิวตรอน
• ปี ค.ศ. 1930 โบเท และเบคเกอร์ นักเคมีชาวเยอรมัน ได้
  ทดลองใช้ อนุภาคแอลฟายิงแผ่ นโลหะเบริลเลียม (Be)
  ปรากฏว่ าเกิดรังสี ชนิดหนึ่งทีมอานาจผ่ านทะลุได้ ดและ
                                ่ ี                 ี
  รังสี นีเ้ มือชนกับโมเลกุลของพาราฟิ นจะได้ โปรตอน
               ่
  ออกมา
• ปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักวิทยาศาสตร์ ชาวอังกฤษ
  ได้ เสนอว่า “รังสี ทไปชนพาราฟิ นจนได้ โปรตอนนั้น
                       ี่
  จะต้ องประกอบด้ วยอนุภาคและให้ ชื่อว่ านิวตรอน
  (neutron) แชดวิก ยังสามารถพิสูจน์ ได้ ว่า
  อนุภาคนิวตรอนไม่ มประจุ และมีมวลใกล้ เคียงกับมวล
                          ี
จากการค้นพบนิวตรอนโดย แชดวิก ทาให้ เราทราบ
 ว่ า อะตอมประกอบด้ วย อนุภาค 3 ชนิด คือ
 โปรตอน อิเล็กตรอน และนิวตรอน และอนุภาค
 ทั้งสามเราถือว่าเป็ นอนุภาคมูลฐานของอะตอม จาก
 การค้นพบนิวตรอนของแชดวิก ทาให้ แบบจาลอง
 อะตอมเปลียนไป ดังนี้
               ่
“อะตอมมีลกษณะเป็ นทรงกลมประกอบด้ วยโปรตอน
             ั
 และนิวตรอน รวมตัวกันเป็ นนิวเคลียสอยู่ตรงกลาง
                                              pn
 และมีอเิ ล็กตรอนซึ่งมีจานวนเท่ ากับโปรตอนวิงอยู่ e
                                            ่
 รอบๆ นิวเคลียส”
สมบัตของอนุภาคมูลฐาน
                  ิ
       สั ญลักษ ชนิดของ ประจุไฟฟา ้          มวล
อนุภาค
           ณ์    ประจุ   (คูลอมบ์ )          (g)
อิเล็กตรอน     e    -1    1.602 x 10-19   9.109 x 10-28

 โปรตอน        p    +1    1.602 x 10-19   1.673 x 10-24

นิวตรอน        n    0          0          1.675 x 10-24
เลขอะตอม
• เลขอะตอม (Atomic number) หมายถึง
  จานวนโปรตอนทีอยู่ภายในนิวเคลียส แต่
                    ่
  เนื่องจากในอะตอมที่เป็ นกลางจานวนโปรตอน
  เท่ ากับจานวนอิเล็กตรอน ดังนั้น เลขอะตอม
  อาจหมายถึงจานวนอิเล็กตรอนก็ได้ ใช้
  สั ญลักษณ์ Z แทน เลขอะตอมมีค่าเป็ นเลข
  จานวนเต็มเสมอ
• กรณีที่อะตอมไม่ เป็ นกลางจานวนโปรตอนจะไม่
  เท่ ากับจานวนอิเล็กตรอน อะตอมที่ไม่ เป็ นกลาง
  ได้ แก่ ไอออนบวก ไอออนลบ
เลขมวล
• เลขมวล (Mass number) หมายถึง
 ผลบวกของจานวนโปรตอนกับนิวตรอนภายใน
 นิวเคลียส ใช้ สัญลักษณ์ A แทน เลขมวลไม่ ใช่ เลข
 อะตอม แต่ มีค่าใกล้ เคียงกัน
การเขียนสั ญลักษณ์ นิวเคลียร์ ของธาตุ
 สั ญลักษณ์ นิวเคลียร์ เป็ นสั ญลักษณ์ ที่บอกรายละเอียด
    เกียวกับจานวนอนุภาคมูลฐานของอะตอม ซึ่งมี
       ่
    หลักการเขียนดังนี้
ให้ X คือ สั ญลักษณ์ ของธาตุ
         A คือ เลขมวล = โปรตอน+นิวตรอนในนิวเคลียส
         Z คือ เลขอะตอม = จานวนโปรตอนในนิวเคลียส
                                        A
                                        Z
               สั ญลักษณ์ นิวเคลียร์ คือ X
ตัวอย่ างสั ญลักษณ์ นิวเคลียร์ ของธาตุ

12                       235
6
 C            Cl
             35
             17
                       U 92

14           39           72
 N
 7            K
             19           32   Ge
ไอโซโทป (Isotope)
• ไอโซโทป (Isotope) คือ ธาตุทมเี ลขอะตอม
                             ี่
  เหมือนกันแต่ เลขมวลต่ างกัน หรือธาตุทมจานวน
                                         ี่ ี
  โปรตอนเหมือนกันแต่ นิวตรอนต่ างกัน เช่ น
     •ธาตุไฮโดรเจน มี 3 ไอโซโทป คือ
           1
           1H      เรียกว่า          โปรเทียม
           2
           1
             H เรียกว่า              ดิวเทอเรียม
           3
           1
             H เรียกว่า              ทริเทียม
ประโยชน์ ของไอโซโทป
• 14C ใช้ คานวณหาอายุของวัตถุโบราณ หรือซาก ดึกดาบรรพ์
  และ
      ศึกษากลไกการเกิดปฏิกริยา ิ
• 24Na ใช้ ตรวจอัตราการไหลเวียนของโลหิต
• 60Co ให้ รังสี แกมมาซึ่งใช้ ในการถนอมอาหารและรักษา
  โรคมะเร็ง
• 131I ใช้ ตรวจสอบความผิดปกติของต่ อมไทรอยด์
• 32P ใช้ ศึกษาความต้ องการปุ๋ ยของพืช
• 238U ใช้ คานวณอายุแร่
ไอโซโทน (Isotone)
• ไอโซโทน คือ ธาตุทมีนิวตรอนเหมือนกัน แต่
                      ี่
  โปรตอนต่ างกัน เช่ น
         39              40
         19 K            20 Ca


               เป็ นไอโซโทนกัน
    เพราะต่ างก็มีจานวนนิวตรอนเท่ ากับ 20
ไอโซบาร์ (Isobar)
• ไอโซบาร์ คือ ธาตุทมีเลขมวลเหมือนกันแต่ เลข
                      ี่
  อะตอมต่ างกัน เช่ น
         14                          14
          6   C                  N    7

                  เป็ นไอโซบาร์ กน
                                 ั
แบบฝึ กหัด อนุภาคมูลฐานของ
                            อะตอม จงหาอนุภาคมูลฐาน
1. จากสั ญลักษณ์ นิวเคลียร์ ทกาหนดให้
                             ี่
   ของอะตอม
   23
   11
                   27
                   13
                                    210
                                    85
      Na p =          Al3+ p    =       At- p =
          n =              n    =           n=
   80              31               226
   35
          e- =     15
                           e-   =   88
                                            e- =
      Br p =          P3- p     =       Ra+ p =
          n =              n    =           n=
          e- =             e-   =           e- =
2. จงหาเลขมวลของธาตุต่อไปนี้
1) X3+ มีอเิ ล็กตรอน 28 อิเล็กตรอน มีนิวตรอน 29 นิวตรอน ....
2) X มีเลขมวลเป็ น 2 เท่ าของ Na ...........................
                                   23
                                   11
                                          16
3) 11X + มีจานวนนิวตรอนเท่ ากับนิวตรอนของ O ...................
                                           8

4) 19X- มีจานวนนิวตรอนน้ อยกว่ าอิเล็กตรอน 3 ตัว............
3. จงหาเลขอะตอมของธาตุต่อไปนี้
 1) X2+ มีจานวนอิเล็กตรอนเท่ ากับ 36 .....................
 2) X อยู่หมู่2มีจานวนอิเล็กตรอนอยู่ในระดับพลังงาน
  สู งสุ ด
          เท่ ากับ 4.....................
 3) X- มีจานวนอิเล็กตรอนเท่ ากับ 18 .....................
 4) X อยู่หมู่ 3 คาบที่ 4 ................................
4.    ถ้ าโมเลกุลของน้าประกอบด้ วยไฮโดรเจน 2
 อะตอม
 และออกซิเจน 1 อะตอม เขียนสู ตรแสดงได้ เป็ น
 H2 O
  เมื่อไฮโดรเจนคือโปรเทียม จงเขียนสู ตรของนา
                                           ้
 โดยแทน
 อะตอมของไฮโดรเจนด้ วยดิวเทอเรียม และทริ
 เทียม
5. จงเขียนสั ญลักษณ์ นิวเคลียร์ ของไอโซโทปต่ างๆ
   ของธาตุ X ซึ่งมี 9 อิเล็กตรอน และมีนิวตรอน 9
   10 และ 11 ตามลาดับ
6. ไอโซโทปของธาตุชนิดหนึ่งมีประจุในนิวเคลียสเป็ น
   3 เท่ าของประจุในนิวเคลียสของไฮโดรเจนและมีเลข
   มวลเป็ น 7 เท่ าของเลขมวลไฮโดรเจน ไอโซโทปนี้
   จะมีอนุภาคมูลฐาน อย่ างละเท่ าใด
แบบจาลองอะตอมของโบร์
 จากการทดลองของรัทเทอร์ ฟอร์ ด และการ
  ค้ นพบนิวตรอนของแชดวิก ทาให้ ทราบว่ า
  โปรตอนและนิวตรอนอยู่รวมกันในนิวเคลียส
  ของอะตอม แต่ ยงไม่ ทราบว่ า การจัดอิเล็กตรอน
                      ั
  ในอะตอมเป็ นอย่ างไร..
 ดังนั้น การศึกษาเกียวกับสเปกตรัมจึงเป็ นข้ อมูล
                    ่
                        สาคัญ
  ทีนาไปสู่ การนาเสนอแบบจาลองอะตอมของโบร์
     ่
คลืนและสมบัติของคลืน
            ่               ่
1. ความยาวคลืน (wavelenth) สั ญลักษณ์ แลมบ์
               ่
   ดา) คือ ระยะระหว่ างยอดคลืนหรือระยะทางที่
                                ่
   เคลือนที่ครบ 1 รอบพอดี ความยาวคลืนมีหน่ วย
        ่                              ่
   เป็ นเมตร (m) หรือหน่ วยย่ อยของเมตร เช่ น
   เซนติเมตร(cm) นาโนเมตร (nm)(1 nm = 10      -9m)




                                คลื่นและความยาวคลื่น
2. แอมปลิจูด (Amplitude) คือ ความสูงของ
   คลืน
      ่
3. ความถี่ของคลืน (Frequency) สั ญลักษณ์ 
                  ่
   (นิว) หมายถึง จานวนคลืนทีผ่านจุดจุดหนึ่ง
                                ่ ่
   ในเวลา 1 วินาที ดังนั้น ความถี่ของคลืนจึง   ่
   มีหน่ วยเป็ นรอบต่ อวินาที (s-1) หรือ Cycle/s
   หรือเรียกอีกอย่ างหนึ่งว่ า เฮิรตซ์ สั ญลักษณ์
   Hz
• คลืนแม่ เหล็กไฟฟาประกอบด้ วยคลืนหลายชนิด
      ่            ้              ่
  ที่มีความยาวคลืน และความถี่ต่างๆ กันเป็ น
                 ่
  ช่ วงกว้ าง
• คลืนที่ประสาทตาของเราสามารถรับได้ มีความ
        ่
  ยาวคลืนตั้งแต่ 400 nm ถึง 700 nm เท่ านั้น
          ่
  คลืนแม่ เหล็กไฟฟาในช่ วงนีเ้ รียกว่ า แสงขาว
     ่            ้
สเปกตรัม (spectrum)
• สเปกตรัม หมายถึง แถบสี หรือเส้ นสี ที่ได้ จากการ
  ผ่ านพลังงานแสงเข้ าไปในสเปกโตรสโคป แล้ วทา
  ให้ พลังงานแสงแยกออกเป็ นแถบสี ที่เรียงกันตาม
  ความยาวคลืน หรือได้ เส้ นสี ที่มีค่าความยาวคลืนค่ า
                ่                               ่
  ใดค่ าหนึ่ง
• สเปกโตรสโคป คือ เครื่องมือที่ใช้ แยกสี ของแสง
  ตามความถี่หรือตามความยาวคลืน หรือเป็ น
                                    ่
  เครื่องมือที่ใช้ ศึกษาเกียวกับสเปกตรัม
                           ่
สเปกตรัมแบ่ งออกได้ เป็ น 2
1.
                   ประเภท ง สเปกตรัมที่
     สเปกตรัมต่ อเนื่อง หมายถึ
   ประกอบด้ วยแถบของสี ที่มีค่าความถี่หรือความ
   ยาวคลืนต่ อเนื่องกัน เช่ น สเปกตรัมที่เกิดจาก
            ่
   แสงอาทิตย์
2. สเปกตรัมไม่ ต่อเนื่อง หมายถึง สเปกตรัมที่มี
   ลักษณะเป็ นเส้ นสี หรือแถบสี เล็กๆ ที่ไม่
   ต่ อเนื่องกัน มีช่องว่ างระหว่ างเส้ น เส้ นสี ที่
   เกิดขึนเรียกว่ าเส้ นสเปกตรัม เช่ น สเปกตรัมที่
         ้
   เกิดจากแสงซึ่งเกิดจากหลอดไฟฟ้ าทีบรรจุธาตุ
                                           ่
รูปสเปกตรัมคลืน ่
  แม่ เหล็กไฟฟา
              ้
การหักเหของแสงขาวผ่ านปริซึม
            • ถ้ าให้ แสงอาทิตย์ ซึ่งเป็ น
              แสงขาวส่ องผ่ านปริซึม
              แสงขาวจากดวงอาทิตย์
              จะแยกออกเป็ นแสงสี ร้ ุง
              ต่ อเนื่องกัน เรียกว่ า แถบ
              สเปกตรัมของแสงขาว
ความยาวคลืนของสเปกตรัมต่ างๆ
          ่
 สี ของสเปกตรัม   ความยาวคลืน (nm)
                            ่
      ม่ วง           400 – 420
  คราม – นาเงิน
            ้         420 – 490
      เขียว           490 – 580
     เหลือง           580 – 590
    แสด (ส้ ม)        590 – 650
       แดง            650 - 700
• มักซ์ พลังค์ นักวิทยาศาสตร์ ชาวเยอรมัน ได้ ศึกษา
  พลังงานของคลืนแม่ เหล็กไฟฟ้ า และสรุปว่ า
                    ่
  “พลังงานของคลืนแม่ เหล็กไฟฟ้ าจะเป็ นสั ดส่ วน
                        ่
  โดยตรงกับความถี่ของคลื=นั้น”
                          E น h
                              ่
• เมือ E คือ พลังงานของคลืนแม่ เหล็กไฟฟ้ า (J)
     ่                      ่
       h คือ ค่ าคงทีของพลังค์ มค่า 6.625x10-34J.s
                      ่         ี
       คือ ความถี่ของคลืนแม่ เหล็กไฟฟ้ า มีหน่ วยเป็ น
                          ่
            รอบต่ อวินาที(s-1) หรือเฮิรตซ์ (Hz)
• แต่ เนื่องจากความยาวคลืนกับความถี่สัมพันธ์
                           ่
  กัน ดังนี้
                    c = 
      เมื่อ c คือ ความเร็วของแสงในสุ ญญากาศมี
  ค่ าเท่ ากับ 3.0x108 m/s hc
                  E =        
• ถ้ าผ่ านแสงขาวไปยังแท่ งปริซึมสามเหลียมจะถูก่
  แยกเป็ นสี ต่างๆ กัน ซึ่งแสงสี ที่ต่างกันนีจะมี
                                             ้
  พลังงานไม่ เท่ ากัน โดยเฉพาะสี แดงจะมีความ
  ยาวคลืนมากสุ ด มีความถีตาสุ ด
           ่                 ่ ่
• แสงทีเ่ ป็ นคลืนสั้ นจะมีความถีสูงกว่ าแสงทีเ่ ป็ น
                 ่                ่
  คลืนยาว
      ่
• แสงทีเ่ ป็ นคลืนสั้ นจะมีพลังงานสู งกว่ าแสงทีเ่ ป็ น
                   ่
  คลืนยาว
        ่
ตัวอย่ างการคานวณ
• ตัวอย่ างที่ 1
      คลืนแสงของธาตุ x มีความยาวคลืน 2x10-5 m
         ่                             ่
      และมีความถี่ 3x104 s-1 จงหาพลังงาน
วิธีทา สู ตร E = h
                    = 6.625 x10-34J.s x 3 x104s-1
                  = 19.87 x 10-30J
                    = 1.987 x 10-29J
        ดังนั้น พลังงานมีค่า 1.987x10-29จูล Ans
แบบฝึ กหัด
1. จงเรียงลาดับแสงสี ต่างๆ ในแสงขาวตามความถี่และ
   พลังงานจากน้ อยไปมาก
2. เส้ นสเปกตรัมสี แดงของโพแทสเซียมมีความถี่ 3.9 x1014
   Hz จะมีความยาวคลืนเป็ นเท่ าใด
                        ่
3. เส้ นสเปกตรัมเส้ นหนึ่งของธาตุซีเซียมมีความยาวคลืน
                                                    ่
   456 nm ความถี่ของสเปกตรัมเส้ นนีมค่าเท่ าใด และ
                                       ้ ี
   ปรากฏเป็ นสี ใด
4. คลืนแม่ เหล็กไฟฟาทีมความถี่ 8.5 x104 Hz จะมี
       ่             ้ ่ ี
   พลังงานและความยาวคลืนเท่ าใด
                            ่
การศึกษาสี ของเปลวไฟจาก
                สารประกอบ
   และเส้เปกโทรสโคปส่มของธาตุบย์จะเห็นด
• เมื่อใช้ ส
             นสเปกตรั องดูแสงอาทิต างชนิ แถบ
 สี ต่างๆ 7 สี ต่อเนื่องกัน เมื่อใช้ สเปกโทรสโคปส่ อง
 เปลวไฟทีได้ จากการเผาธาตุและสารประกอบต่ างๆ
             ่
 จะเห็นเป็ นเส้ นสี ต่างๆ เส้ นสี ทเ่ี ห็นชัดเจนทีสุดจะ
                                                  ่
 เป็ นสี เดียวกับแสงที่สังเกตเห็นได้ ด้วยตาเปล่า
 สเปกตรัมที่ได้ จากการเผาสารประกอบต่ างๆ
 แสดงในตารางดังนี้
สารประกอบ            สี ของสเปกตรัม
    ลิเทียมคลอไรด์          แดง
    ลิเทียมไนเตรต           แดง
 โพแทสเซียมคลอไรด์          ม่ วง
 โพแทสเซียมไนเตรต           ม่ วง
 สตรอนเชียมคลอไรด์          แดง
สตรอนเชียมคาร์ บอเนต        แดง
   โซเดียมคลอไรด์          เหลือง
    โซเดียมซัลเฟต          เหลือง
• จากข้ อมูลในตาราง พบว่ า สารประกอบของ
  โลหะชนิดเดียวกันจะให้ สีของสเปกตรัม
  เหมือนกัน ดังนั้น จึงสรุปได้ ว่าสี ของเส้ น
  สเปกตรัมเกิดจากส่ วนที่เป็ นโลหะของ
  สารประกอบ ไม่ ได้ เกิดจากส่ วนที่เป็ นอโลหะ
  นอกจากนียงพบว่ า ธาตุและสารประกอบของ
            ้ั
  ธาตุชนิดนั้นจะให้ สีของสเปกตรัมเหมือนกัน
• อิเล็กตรอนแต่ ละตัวเคลือนทีอยู่ในชั้นทีมระดับ
                          ่ ่             ่ ี
  พลังงานเท่ ากับพลังงานที่มีในตัวของอิเล็กตรอนนั้น
  สภาวะดังกล่ าวอิเล็กตรอนจะอยู่ในสถานะพืน      ้
  (ground state) ซึ่งเป็ นสภาวะที่อเิ ล็กตรอนมี
  พลังงานตาสุ ด อิเล็กตรอนทีอยู่ในสถานะพืนจึงมี
               ่                  ่           ้
  ความเสถียร เมื่อได้ รับพลังงานจากการเผาไฟจะทา
  ให้ อเิ ล็กตรอนมีพลังงานสู งขึน จึงเคลือนทีไปยัง
                                ้        ่ ่
  ระดับพลังงานทีสูงขึน อิเล็กตรอนตัวนั้นจึงอยู่ใน
                   ่ ้
  สถานะกระตุ้น (excite state)
• ในสถานะกระตุ้นอิเล็กตรอนมีพลังงานสู งทาให้
  อิเล็กตรอนนั้นไม่ เสถียร จึงต้ องปรับตัวลด
  พลังงานลงโดยการคายพลังงานออกมาเท่ ากับ
  ผลต่ างระหว่ างพลังงานในสถานะกระตุ้นและ
  พลังงานในสถานะพืน แล้ วอิเล็กตรอนจึง
                       ้
  เคลือนที่กลับมาสถานะพืน อิเล็กตรอนจะคาย
       ่                    ้
  พลังงานออกมาในรูปคลืนแม่ เหล็กไฟฟ้ า จึง
                          ่
  เกิดเป็ นเส้ นสเปกตรัม
เส้ นสเปกตรัมของธาตุบางธาตุ
การแปลความหมายของเส้ นสเปกตรัม
                                       • เส้ นสเปกตรัม มาจาก
                                           ธาตุทมการเปลียนระดับ
                                                ี่ ี    ่
                  K ,n = 1                 พลังงานของอิเล็กตรอน
         L, n = 2

       M, n = 3                        • แถบสเปกตรัม มาจาก
    Ground state             Excited state ธรรมชาติ
ขั้นพืนฐานจะเสถียร
      ้                       ขั้นกระตุ้น
                    ในแต่ ละระดับพลังงานจะห่ างไม่ เท่ ากัน
            มีการคายพลังงานออก เรียกว่ า คลืนแสงหรือเส้ นสเปกตรัม
                                            ่
• การเปลียนแปลงพลังงานของ
          ่
  อิเล็กตรอนระหว่างสถานะพืน
                          ้
  กับสถานะกระตุ้น อาจเปรียบ
  ได้ กบ การขึนบันได
       ั      ้
• ผลต่ างของพลังงานศักย์
  ระหว่างขั้นบันไดจะมีค่า
  เฉพาะตัวและขึนอยู่กบความ
                ้    ั
  แตกต่ างของความสู งของ
  ขั้นบันได
ข้ อแตกต่ างของแบบจาลองอะตอม
     ของ Niels Bohr ทีต่างจาก
                           ่
                Rutherford
1. e ที่วงรอบๆ นิวเคลียส จะมีพลังงานที่ไม่ เท่ ากัน ให้
      -    ิ่
   พลังงานของ e- คือ Ep + Ek
2. e- ที่มี Ep + Ek ที่ตาจะอยู่ใกล้ นิวเคลียสและที่มพลังงาน
                         ่                               ี
   สู งขึนจะอยู่ห่างไกลนิวเคลียสออกมา
         ้
3. โดยที่ e- ที่มในอะตอมมีการจัดเป็ นระดับพลังงาน (shell)
                 ี
   โดยที่ให้ e- ที่อยู่ใกล้ นิวเคลียสที่สุดชื่อว่ า shell K , L , M
   , N , O , P, Q หรือ n =1,n = 2,n = 3, n =4
       ,n = 5 , n = 6 , n = 7
4.   ในแต่ ละระดับพลังงานจะมี e- ได้ ไม่ เกิน 2n2 อนุภาค โดย n
      คือลาดับทีของระดับพลังงาน เช่ น
                  ่
           n = 1              2(1)2 =              2 e-
           n = 2              2(2)2 =              8 e-
           n = 3              2(3)2 =              18 e-
           n = 4              2(4)2 =              32 e-
           n = 5              2(5)2 =              50 e-
           n = 6              2(6)2 =              72 e-
           n = 7              2(7)2 =              98 e-
            แต่ มีข้อแม้ ว่า e- ทีอยู่รอบนอกสุ ดต้ องไม่ เกิน 8
                                  ่
5. ฉะนั้นแบบจาลองอะตอมของโบว์ จึงต่ างไปจากของ
  รัทเทอร์ ฟอร์ ด คือ ลักษณะคล้ ายระบบสุ ริยะ โดยมี
  นิวเคลียสตรงกลางและ e-จะวิงรอบๆ นิวเคลียส เป็ น
                             ่
  ระดับพลังงาน
                       n1หรือ K


                        n2หรือ L
แบบจาลองอะตอมแบบกล่ ม
                        ุ
            หมอก
• นักวิทยาศาสตร์ ปัจจุบันนีเ้ ข้ าใจว่ า
  อิเล็กตรอนที่วงรอบนิวเคลียสตามที่โบร์
                ิ่
  เสนอมานั้นไม่ ถูกต้ อง จากการศึกษา
  พลังงานของอิเล็กตรอน แล้วให้ ข้อเสนอ
  ดังนี้
1. e- ไม่ ได้ วงรอบนิวเคลียสในรัศมีทคงที่ บางครั้งจะ
               ิ่                   ี่
    ใกล้ นิวเคลียส บางครั้งจะออกห่ างนิวเคลียส บอก
    ตาแหน่ งและความเร็วของ e- ในขณะเดียวกัน
    ไม่ ได้ บอกได้ เพียงแต่ โอกาสจะพบ e- ณ
    ตาแหน่ งต่ างๆ ภายในอะตอม ลักษณะเช่ นนี้
    เรียกว่ ากลุ่มหมอกของ e   -

2. กลุ่มหมอกของ e- ในระดับพลังงานต่ างๆ จะมี
    รูปทรงต่ างๆ กัน แล้ วแต่ จานวน e- และระดับ
    พลังงานของ e- นั้น
3. กลุ่มหมอกของ e- ทีมีระดับพลังงานตา จะอยู่
                        ่                  ่
   ใกล้ นิวเคลียสและกลุ่มหมอกของ e- ที่มี
   พลังงานสู งจะอยู่ไกลนิวเคลียส
4. e- แต่ ละอนุภาคไม่ ได้ อยู่ในระดับพลังงานใด
   พลังงานหนึ่งอย่ างคงที่ ที่มีการเปลียนระดับ
                                        ่
   ตลอดเวลา
5. ผลรวมของกลุ่มหมอกของ e         - ทุกระดับ

   พลังงานจะเป็ นทรงกลม
การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม
n=1   มี e- = 2     = 2x1             = 2x12
n=2   มี e- = 8     = 2x4             = 2x22
n=3   มี e- =       18         = 2x9              = 2x32
n=4   มี e- =       32         = 2x16             = 2x42
                                                              2n 2
n=5   มี e- =       50         = 2x25 = 2x52
n=6   มี e- =       72         = 2x36             = 2x62 n=ระดับพลังงาน
n=7   มี e- =       98         = 2x49             = 2x72
          ข้ อแม้    e- ทีอยู่วงนอกสุ ดมีได้ ไม่ เกิน 8
                          ่
                    e-ทีอยู่ถัดจากวงนอกสุ ดมีได้ ไม่ เกิน18
                        ่
I , II ,VIII
                      ตัวอย่ างการจัดเรียงอิเล็กตรอน
      A

               3Li          =   2,1
   +8                                                     Valence e-
               11Na         =   2, 8 , 1
   +8                                                   บอกให้ รู้ว่าอยู่หมู่
               19K          =   2, 8 , 8 , 1                   ใด
  +18
               37Rb         =   2 , 8 , 18 , 8 , 1
  +18
               55Cs         = 2 , 8 , 18, , 18 , 8 ,1
  +32
               87Fr = 2 , 8 , 18 , 32 , 18 ,8 , 1

                            ดังนั้น ธาตุดงกล่ าวจึงอยู่หมู่ IA
                                         ั
การจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน
                 ย่ อย
         Sub-shell , Orbital
• จากการเสนอแบบจาลองอะตอมในปัจจุบันนีว่า มี     ้
  ลักษณะเป็ นกลุ่มหมอก และจากการคานวณพลังงาน
  ของ e- ในระดับสู งต่ อไป พบว่ า e- ไม่ ได้ จัดเป็ น Shell
  อย่ างทีโบร์ เสนอไว้
           ่
• กล่ าวคือ e  - ในแต่ ละ Shell หรือ Orbital โดยมีข้อ

  แม้ ว่า e- ในแต่ ละ Orbital จะมีได้ ไม่ เกิน 2e- และมี
  รู ปร่ างแตกต่ างไปตามความหนาแน่ นของ e- ดังนี้
Orbital
• ระดับวงย่ อย s  เริ่มตั้งแต่ n=1,จึงมี 1 วงย่ อยและมี e -=2 e-

• ระดับวงย่ อย p เริ่มตั้งแต่ n=2,จึงมี 3 วงย่ อยและมี e-=6e-
• ระดับวงย่ อย d เริ่มตั้งแต่ n=3,จึงมี 5 วงย่ อยและมี e-
  =10e-
• ระดับวงย่ อย f เริ่มตั้งแต่ n=4,จึงมี 7 วงย่ อยและมี e-
  =14e-
• เพือความสะดวกในการจัด e- ในระดับพลังงานย่ อยให้ จัดตามผัง
     ่
  ดังต่ อไปนี้
       1s     -      -      -      ระดับพลังงานทีต่า
                                                 ่
       2s     2p     -      -
       3s     3p     3d     -
       4s     4p     4d     4f
       5s     5p     5d     5f
       6s     6p     6d     6f
       7s     7p     7d     7f     ระดับพลังงานทีสูง
                                                 ่
n=4   14 e
               10 e
                      4f
                      4d
                6e    4p

Energy         10 e   3p
                2e    4s
         n=3   6e     3p
               2e     3s
               6e     2p
         n=2
               2e     2s
         n=1   2e     1s
รูปร่ างออร์ บิทล s p และ d
                ั
ตัวอย่ างการจัดเรียง
                  อิเล็กตรอน 2
• 26Fe   1s 2s 2p 3s 3p 4s 3d6
             2  2    6   2  6



             2   8    14 2
• 24Cr   1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d4
                                 4s1 3d5
         2       8   13   1
แบบฝึ กหับด งงานย่อย
1. จงเขียนผังการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดั พลั
2. จงแสดงการจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุต่อไปนี้
       38Sr            46Pd             53I          78Pt
3. ถ้ าธาตุ A B และ C มีการจัดอิเล็กตรอนดังนี้
       ธาตุ    A 1s2 2s2 2p6 3s2 3p2
               B 1s2 2s2 2p6 3s2
               C 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6
               ก. ธาตุ A B และ C มีเลขอะตอมเท่ าใด
               ข. ธาตุแต่ ละชนิดมีอเิ ล็กตรอนอยู่ในระดับพลังงานใดบ้ าง
                 และมีจานวนเท่ าใด
การบรรจุ e -ในแต่ ละ Orbital
มีหลักการดังนี้
1. หลักการกีดกันของเพาลี (Pauli esilusion
   principle)
  –   e -คู่หนึ่งคู่ใดในออบิทลเดียวกันจะต้ องมี
                             ั
      สมบัติไม่ เหมือนกันอย่างน้ อย e- คู่น้ัน
      จะต้ องมีทศทางการหมุนรอบตัวเองไม่
                    ิ
      เหมือนกัน ตัวหนึ่งหมุนตามเข็มนาฬิ กา อีก
      ตัวหนึ่งหมุนทวนเข็มนาฬิ กา จึงกาหนดไว้ ว่า
1) ใช้ แทน Orbital
2) ในแต่ ละ จะบรรจุ e- ได้ สูงสุ ด 2 e-
3) กาหนดให้ e- แทนลูกศร =
   แต่ ไม่ เขียน   หรือ
2.อาฟบาว (Aufbau)
  ให้ บรรจุ e -ลงใน Orbital       ที่มีพลังงาน
  ตาสุ ดและว่ างก่ อนเสมอ เริ่มตั้งแต่
   ่
      1s 2   2s 2   2p 6   3s 2   3p 6   4s 2   3d 10
3. กฎของฮุน (Hund’s rule)
        1. ในกรณีทมีธาตุมี หลาย ในแต่ ละ จะมีพลังงาน
                   ี่
  เท่ ากัน เช่ น 2p มี 3 ให้ บรรจุ e- เดียวมากทีสุดเท่ าทีมากได้
                                             ่         ่  ่
  เมื่อมี e- เหลือให้ บรรจุ e- เป็ นคู่เติม นั้น เช่ น
   มี 2e-
            3e-
            4e-
        2. อะตอมของธาตุทมี e- บรรจุเต็มในทุกๆ มีพลังงาน
                             ี่
       เท่ ากัน เรียกว่ า การบรรจุเต็ม แต่ ถ้ามี e- อยู่เพียงครึ่ง เดียว
  เรียกว่ าบรรจุครึ่ง มีผลทาให้ เกิดการเสถียร
ตารางธาตุ
(Periodic table)
ตารางธาตุ
• ตารางธาตุ (Periodic table) หมายถึง ตารางที่
  นักวิทยาศาสตร์ ได้ รวบรวมธาตุต่างๆ เข้ าเป็ น
  หมวดหมู่จดตามลักษณะหรือสมบัตทคล้ ายคลึงกัน
             ั                        ิ ี่
• ปัจจุบนนักวิทยาศาสตร์ ได้ ค้นพบธาตุมากกว่ า 110
        ั
  ธาตุ จากการทีได้ ค้นพบธาตุจานวนมากจึงยากทีจะ
                 ่                               ่
  ศึกษาและจดจาสมบัตของธาตุต่างๆ ได้ ท้งหมด เพือ
                         ิ                     ั   ่
  ความสะดวกในการศึกษาและจดจาสมบัติต่างๆ ของ
  ธาตุนักวิทยาศาสตร์ จึงจัดธาตุต่างๆ ทีมสมบัติ
                                           ่ ี
      คล้ ายคลึงกันให้ อยู่ในหมวดหมู่เดียวกัน
วิวฒนาการของตาราง
           ั
               ธาตุ
พ.ศ. 2360 โยฮันน์ โวล์ ฟกัง เดอเบอไรเนอร์
 (Johann Wolfgang Dobereiner) ชาวเยอรมัน
 เป็ นคนแรกทีได้ จัดธาตุเป็ นกลุ่มๆ ละ 3 ธาตุ หรือ
                 ่
 ที่เรียกว่ า ชุดสามหรือไตรแอด(Triad) พบว่ า มวล
 อะตอมตัวกลางเกิดจากผลบวกของธาตุตวแรกกับ  ั
 ตัวที่สามหาร 2 ซึ่งธาตุท้งสามชนิดจะมีสมบัติ
                          ั
 คล้ ายคลึงกัน
ตัวอย่ างการจัดกลุ่มธาตุของเดอเบอไร
              มวล เนอร์
                   มวลอะตอมเฉลียของ
                               ่
กลุ่มที่   ธาตุ   อะตอม ธาตุทมีมวลน้ อยกว่ าและ
                             ี่                      สรุป
                   เฉลีย
                       ่        มากกว่ า
  1        Li      6.9         6.9 + 39.1          Li Na K
           Na     23.0                              มีสมบัติ
                                    2
                                                  คล้ายคลึงกัน
           K      39.1           = 23
  2        S      32.1        32.1 + 127.6         S Se Te
           Se     79.0              2               มีสมบัติ
                                                  คล้ายคลึงกัน
           Te     127.6         = 79.85
• หลักของธาตุชุดสามไม่ สามารถนาไปใช้ กบธาตุ
                                         ั
  กลุ่มอืนทีมีสมบัตคล้ ายกันได้ เช่ น Cu Ag Au
         ่ ่       ิ
  ดังนั้นหลักชุดสามของเดอเบอไรเนอร์ จึงไม่ เป็ นที่
  ยอมรับในเวลาต่ อมา
พ.ศ. 2407 จอห์ น นิวแลนส์
  (John Alexander Reina Newland) ชาวอังกฤษ
  ได้ นาธาตุมาเรียงตามมวลอะตอม พบว่ า ธาตุท่ี 8
  จะมีสมบัตคล้ ายธาตุที่ 1 (ไม่ รวม H กับแก๊ ส
              ิ
  เฉื่อย) ดังนี้
Li Be B C N O F
Na Mg Al Si P S Cl
K Ca
การจัดเรียงตามความคิดของนิวแลนด์
ใช้ ได้ ถงธาตุ Ca เท่ านั้น
         ึ
พ.ศ. 2412 – 2413 ดิมิทรี อิวาโนวิช เมนเดเลเอฟ ชาว
 รัสเซีย และ ยูลอุส โลทาร์ ไมเออร์ ชาวเยอรมัน จาก
                    ิ
 การศึกษาของทั้งสองคนพบว่ า ถ้ าเรียงธาตุตามลาดับมวล
 อะตอมจากน้ อยไปมาก จะพบว่ าธาตุมีสมบัตคล้ ายคลึง  ิ
 กันเป็ นช่ วงๆเมนเดเลเอฟ จึงตั้งเป็ นกฎเรียกว่ า “กฎพิรีออ
 ดิก”
  ในช่ วงนั้นได้ มีการศึกษาธาตุทยงไม่ พบ ได้ แก่
                                 ี่ ั
       เอคาโบรอน             เป็ น สแคนเดียม (Sc)
       เอคาอะลูมิเนียม                เป็ น แกลเลียม (Ga)
       เอคาซิลคอน
               ิ             เป็ น เจอร์ เมเนียม(Ge)
• การจัดเรียงธาตุของเมนเดเลเอฟ
  มีข้อบกพร่ องหลายประการ เช่ น ธาตุบางชนิด
  มีมวลอะตอมมากกว่ า แต่ อยู่หน้ าธาตุทมีมวล
                                          ี่
  อะตอมน้ อย เมื่อค้ นพบก๊ าซเฉื่อยก็ไม่ ทราบว่ า
  จะจัดเรียงไว้ ตรงไหน แต่ กนับได้ ว่าตารางธาตุ
                             ็
  ในปัจจุบันมีรากฐานมาจากตารางธาตุของเมน
  เดเลเอฟ
• พ.ศ. 2455 เฮนรี กวิน เจฟฟรีส์ โมสลีย์ นัก
  เคมีชาวอังกฤษ ได้ ค้นพบค่ าของเลขอะตอม และ
  พบว่ า เลขอะตอมมีความสั มพันธ์ กบสมบัติของ
                                  ั
  ธาตุมากกว่ ามวลอะตอม จึงได้ จัดเรียงธาตุตาม
  เลขอะตอมที่เพิมขึ้น ซึ่งสามารถแก้ ปัญหาของ
                ่
  เมนเดเลเอฟได้
ตารางธาตุปัจจุบัน
ตารางธาตุในปัจจุบัน
• ตารางธาตุในปัจจุบัน เรียงตาม เลขอะตอม โดย
  แบ่ งเป็ นหมู่หลัก (Main group) หรือหมู่ A กับ
  หมู่ B หรือ Transition โดยหมู่ A จะมี 8 หมู่
  และ B มี 8 หมู่ ส่ วนคาบ (Period) จะแบ่ งเป็ น 7
  คาบ
• เลขอะตอมเกิน 83 จัดว่ าเป็ นธาตุกมมันตรังสี
                                   ั
หมู่ I A (Alkaline Metals)
• หมู่ I A มี Valence e- = 1
  ได้ แก่
       Li Na K Rb Cs Fr

• เป็ นโลหะทีว่องไวทีสุด ต้ องเก็บไว้ ในนามันแร่ เช่ น
             ่       ่                   ้
  นามันก๊าด เพือปองกันการเกิดปฏิกริยากับอากาศ
    ้           ่ ้                    ิ
  ความชื้น
หมู่ II A (Alkaline earth)
• หมู่ II A มี Valence e- = 2
  ได้ แก่
       Be    Mg Ca Sr           Ba Ra

                        เก็บในนามัน
                               ้
• เป็ นส่ วนประกอบของเปลือกโลกมีความว่องไวน้ อย
  กว่ าหมู่ I A
หมู่ VII A (Halogen)
• หมู่ VII A มี Valence e- = 7 ได้ แก่
       F Cl Br I At

         gas    liquid       solid
      ในรู ปอิสระจะเป็ นพิษ อาจทาให้ ตายได้
      หากอยู่ในรู ปไอออนจะมีประโยชน์
• Halogen = ทาให้ เกิดเกลือ (มีโลหะไปแทนทีจะได้ เกลือ)
                                          ่
หมู่ VIII A (Inertgas ,Noble gas)
• หมู่ VIII A มี Valence e- = 8
  ได้ แก่ He Ne Ar Kr Xe Rn
• He ใช้ บรรจุในบอลลูน บรรจุในถังแก๊ สของนักประดานา
                                                  ้
  โดยผสมกับ O
• Ne ใช้ ในหลอดไฟ
• Ar ผลิตรังสี เลเซอร์ ใช้ รักษาโรคมะเร็ง
• ธาตุในหมู่ A เดียวกัน จะมีสมบัตทคล้ ายคลึงกัน หมู่ IA
                                     ิ ี่
  ,IIA ,IIIA จะมีความเป็ นโลหะพอหมู่ IVA – VIIIA จะมี
  ความเป็ นอโลหะเพิมขึน ขณะเดียวกันในหมู่เดียวกันจะมี
                      ่ ้
  Valence e-เท่ ากัน และเท่ ากับลาดับทีของหมู่ ยกเว้ น He =
                                          ่
  2 แต่ อยู่หมู่ 8
• ความเป็ นโลหะในหมู่เดียวกันจะเพิมขึน เมือ เลขอะตอม
                                  ่ ้ ่
  เพิมขึน แต่ ความเป็ นอโลหะจะลดลง เมื่อเลขอะตอมเพิม
     ่ ้                                               ่
      •ความเป็ นโลหะ : การให้ e- ได้ ดี (ค่า IE1น้ อย)
      •ความเป็ นอโลหะ : การรับ e- ได้ ดี (ค่า EN สู ง)
คาบของตารางธาตุ (Period )
• คาบในตารางธาตุ มี 7 คาบ
  – คาบที่ 1 มี 2 ธาตุ H , He
  – คาบที่ 2 มี 8 ธาตุ Li, Be , B, C , N, O, F, Ne
  – คาบที่ 3 มี 8 ธาตุ Na, Mg ,Al, Si, P, S, Cl, Ar
  – คาบที่ 4 มี 18 ธาตุ
  – คาบที่ 5 มี 18 ธาตุ
  – คาบที่ 6 มี 32 ธาตุ
  – คาบที่ 7
• ธาตุทอยู่ในคาบเดียวกันจะมีระดับพลังงาน
          ี่
  เท่ ากันและเท่ ากับเลขคาบกับจานวนระดับ
  พลังงาน           ( 2 ระดับ = คาบที่ 2 )
• ในคาบเดียวกันจะมีสมบัตที่แตกต่ างกัน หรือ
                        ิ
  แปรเปลียนไปตามหมู่ของธาตุ
         ่
• สาหรับธาตุ 2 แถวล่ างมีเลขอะตอม ตั้งแต่
  58 – 71 คือ Ce  Lu เรียกกลุ่มธาตุ แลน
  ทาไนด์ และตั้งแต่ 90 – 103 คือ Th 
  Lr เรียกว่ า กลุ่มธาตุแอคทีไนด์ ธาตุท้ง 2
                                          ั
  กลุ่มนีแยกจากหมู่ 3B ในคาบที่ 6 และ 7
         ้
  ตามลาดับ เรียกรวมๆ ว่ า กลุ่มธาตุ Inner
 Transition element
• ธาตุกลุ่ม s ได้ แก่ ธาตุในหมู่ IA และ IIA
• ธาตุกลุ่ม p ได้ แก่ ธาตุในหมู่ IIIA จนถึง VIIA
  และแก๊ สเฉื่อย
• ธาตุกลุ่ม d ได้ แก่ ช่ วงของธาตุในหมู่ IIIBจนถึง
  IIB
• ธาตุกลุ่ม f ได้ แก่ กลุ่มธาตุแลนทาไนด์ และแอคที
  ไนด์
การจัดกลุ่มธาตุ s p d f ในตารางธาตุ
                H


  s                        p
            d
                     f
• นักวิทยาศาสตร์ ได้ ศึกษาทดลองค้ นพบธาตุ
  เพิมขึนเป็ นจานวนมาก บางครั้งธาตุชนิด
      ่ ้
  เดียวกันถูกค้ นพบโดยนักวิทยาศาสตร์ หลายคน
  จึงมีชื่อเรียกที่แตกต่ างกัน
• องค์ การนานาชาติทางเคมี (International Union of Pure
  and Applide Chemistry IUPAC) ได้ ตกลงกันให้ เรี ยกชื่ อที่
  มีเลขอะตอมตั้งแต่ 100 ขึนไป ตามเลขเป็ นภาษา
                                ้
  ละติน และลงท้ ายเสี ยงของธาตุเป็ น ium และ
  ให้ เขียนสั ญลักษณ์ ตามตัวอักษรตัวแรกของ
  จานวนนับแต่ ละตัวมารวมกัน
• จานวนนับภาษาละติน คือ
   0        1           2                          3              4
 nil      un        bi    tri                          quad
นิล        อูน      ไบ              ไตร                ควอด
  5       6            7                   8              9
pent      hex        sept            oct               enn
เพนต์     เฮกซ์             เซปต์              ออกต์          เอนน์
  กลุ่มธาตุทมีเลขอะตอมตั้งแต่ 92 ขึนไป เรียกว่ า Transuranium
            ี่                     ้
  กลุ่มธาตุทมีเลขอะตอมตั้งแต่ 100 ขึนไป เรียกธาตุกลุ่มนีว่า Transfermium
            ี่                       ้                     ้
ตัวอย่ างการเรียกชื่อธาตุตามระบบ
                       IUPAC
• ธาตุที่ 101 ใช้ ชื่อว่า Unnilunium ใช้ สัญลักษณ์ Unu
• ธาตุที่ 102 ใช้ ชื่อว่า Unnilbium ใช้ สัญลักษณ์ Unb
• ธาตุที่ 105 ใช้ ชื่อว่า Unnilpentium ใช้ สัญลักษณ์ Unp
• ธาตุที่ 107 ใช้ ชื่อว่า Unnilseptium ใช้ สัญลักษณ์ Uns
• จงเรียกชื่อธาตุที่ 104 108 112 114 ตามระบบ IUPAC
ในตารางธาตุปัจจุบันจะมีสมบัตทเี่ ปลียนแปลง
                             ิ ่
    ตามหมู่และคาบ ดังหัวข้ อดังต่ อไปนี้
   1.   ขนาดอะตอม
   2.   รัศมีไอออน
   3.   พลังงานไอออไนเซชัน
   4.   ค่ าอิเล็กโทรเนกาติวตี
                            ิ
   5.   ค่ าสั มพรรคภาพอิเล็กตรอน
   6.   จุดหลอมเหลวและจุดเดือด
   7.   เลขออกซิเดชัน
ขนาดอะตอม
• ขนาดอะตอม (รัศมีอะตอม) สามารถวัดขนาดอะตอม
  ของธาตุได้ ดงนี้
              ั
• รัศมีโคเวเลนต์ คือ ระยะครึ่งหนึ่งของความยาวพันธะ
  โคเวเลนต์ ระหว่ างอะตอมชนิดเดียวกัน เช่ น ความยาว
  พันธะของ Cl – Cl = 198 pm รัศมีอะตอมของ Cl =
                                  198
                                   2
  = 99 pm
• รัศมีแวนเดอร์ วาลส์ คือ ระยะครึ่งหนึ่งของ
  ระยะระหว่ างนิวเคลียสของอะตอมทีอยู่ใกล้ทสุด
                                        ่     ี่
  เช่ น รัศมีแวนเดอร์ วาลส์ (r) ซึ่งหาได้ จาก
  อะตอมของแก๊ สเฉื่อย หรือหาได้ จากโมเลกุลโคเว
  เลนต์ 2 โมเลกุลทีสัมผัสกัน
                   ่
• รัศมีโลหะ คือ ครึ่งหนึ่งของระยะระหว่าง
  นิวเคลียสของอะตอมโลหะทีอยู่ใกล้ กนมากทีสุด
                             ่       ั      ่
  เช่ น ธาตุโซเดียมมีระยะระหว่ างนิวเคลียสของ
                                              372
  อะตอม 2 อะตอม ทีอยู่ใกล้ กนทีสุดเท่ ากับ 372 2
                       ่       ั ่
  pm รัศมีโลหะโซเดียมเท่ ากับ = 186 pm
        Na                   Na
                 186
รัศมีอะตอม (พิโกเมตร) ของธาตุใน
          ตารางธาตุ




หมายเหตุ ธาตุทเี่ ป็ นโลหะ แสดงด้ วย รัศมีโลหะ
      ธาตุทเี่ ป็ นอโลหะ แสดงด้ วย รัศมีโคเวเลนต์
• ธาตุในหมู่เดียวกัน จะมีขนาดอะตอมใหญ่ ขน ึ้
  จากบนลงล่ างตามเลขอะตอมที่เพิมขึน (มีการ
                                ่ ้
  เพิมของระดับพลังงาน)
     ่
• ธาตุในคาบเดียวกัน จะมีขนาดอะตอมเล็กลง
  จากซ้ ายไปขวา ในขณะที่เลขอะตอมเพิมขึน
                                      ่ ้
  จนถึงหมู่ VIIA แต่ พอหมู่ VIIIA ขนาด
  อะตอมจะโตขึน (หมู่ VIIIA มีการจัดเรียง e-
                ้
  ครบแปด (Octate’s rule))
รัศมีไอออน
• รัศมีไอออน จะพิจารณาจากระยะระหว่ างนิวเคลียส
  ของไอออนคู่หนึ่งๆ ทีมีแรงยึดเหนี่ยวซึ่งกันและกัน
                      ่
  ในโครงผลึก
• ตัวอย่ างรัศมีไอออนของ Mg  +2 และ O-2 ใน

  สารประกอบ MgO
• เมื่อโลหะทาปฏิกริยากับอโลหะ
                  ิ
• อะตอมของโลหะ จะเสี ยเวเลนซ์ อเิ ล็กตรอน
  กลายเป็ นไอออนบวก จานวนอิเล็กตรอนใน
  อะตอมจึงเล็กลง ทาให้ แรงผลักระหว่ างอะตอม
  ลดลงด้ วย
• อะตอมของอโลหะ จะรับอิเล็กตรอนเพิมเข้ ามา
                                         ่
  และเกิดเป็ นไอออนลบ อะตอมมีการเพิมขึนของ
                                        ่ ้
  อิเล็กตรอน จึงทาให้ แรงผลักระหว่ างอิเล็กตรอนที่
  เคลือนที่รอบนิวเคลียสมี ค่ าสู งขึน
       ่                            ้
• ขอบเขตของกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนจะขยายไป
  จากเดิม ไอออนลบจึงมีขนาดใหญ่ กว่ าอะตอม
  เดิม
• ตัวอย่ างขนาดอะตอมกับขนาดไอออนของธาตุ
พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy (IE))
 • พลังงานไอออไนเซชัน คือ พลังงานทีอะตอมดูด
                                        ่
   เข้ าไป แล้วขจัด e - ออกมาในสภาวะทีเป็ นแก๊ ส
                                      ่
   หรือพลังงานทีให้ อะตอมแล้วทาให้ อะตอมขจัด e-
                  ่
   ออกมาในสภาวะแก๊ส เช่ น Li(g)             Li+(g)
   + e   -    IE1
       Li+(g)    Li2+(g) + e-          IE2
       Li2+(g)    Li3+(g) + e-         IE3
               IE1 << IE2 < IE3
หลักการพิจารณา            IE   มี 2 หลักเกณฑ์
1. ขนาดอะตอมจะแปรผกผันกับค่ า          IE

    (ขนาดยิงใหญ่ ค่ ายิงน้ อย)
             ่             ่
2. ประจุ + ในนิวเคลียสจะแปรผันตาม             IE
    (ประจุ + มาก IE มาก)
      ข้ อ 1 มีผลต่ อค่ า IE มากกว่ าข้ อ 2
• ตามหมู่ ค่ า IE จะตาลง ถ้ าเลขอะตอมเพิมขึน
                      ่                 ่ ้
  (บนลงล่ าง) ทั้งนีการเพิมของขนาดมีผลมากกว่ า
                    ้     ่
  การเพิมของประจุ +
         ่
• ตามคาบ ค่ า IE จะสู งขึน ถ้ าเลขอะตอม
                            ้
  เพิมขึน (ซ้ ายไปขวา)
     ่ ้
Ionization energy
ค่ าพลังงานไอออไนเซชัน
ค่ าอิเล็กโทรเนกาติวตี
                               ิ
           (Electronegativity (EN))

• ค่ าอิเล็กโทรเนกาติวตี เป็ นแรงหรืออานาจที่
                       ิ
  อะตอมส่ งไปถึง e- ของตนเองหรืออะตอมอืนให้   ่
  มาเกิดโมเลกุลขึนหรือสารประกอบ
                    ้
• Linus Pauling  พิจารณาข้ อมูลในตารางธาตุ
  เกียวกับค่ าอิเล็กโทรเนกาติวตี ดังนี้
      ่                        ิ
• ธาตุในหมู่เดียวกัน ค่ าอิเล็กโทรเนกาติวตี ลดลง
                                         ิ
เมื่อเลขอะตอมเพิมขึน
                ่ ้
• ธาตุในคาบเดียวกัน ค่ าอิเล็กโทรเนกาติวตี เพิมขึน
                                           ิ ่ ้
เมื่อเลขอะตอมเพิมขึน
                 ่ ้
 หลักการพิจารณา ใช้ หลักการเช่ นเดียวกับค่า IE
และในหมู่ธาตุและคาบของธาตุในตารางจะมีลกษณะ   ั
การเปลียนแปลงเช่ นเดียวกับ IE
        ่
เรียงลาดับ ค่ า EN
  5 6 7
   N   O   F

   P   S   Cl

           Br
Electronegativity
สั มพรรคภาพอิเล็กตรอน
           (Electro affinity) ย่ อ EA
• สั มพรรคภาพอิเล็กตรอน เป็ นความสามารถ
  ของธาตุในสภาวะก๊ าซทีจะรับ e
                       ่       - โดยค่ า (ติด

  ลบ)
     x(g) + e-         x-(g)
Electron affinity
จุดหลอมเหลวและจุดเดือด
• จุดหลอมเหลวและจุดเดือดเป็ นสมบัตเิ ฉพาะของ
  ธาตุขนอยู่กบแรงยึดเหนี่ยวระหว่ างโมเลกุลเป็ น
       ึ้     ั
  พันธะชนิดใด เช่ น พันธะโลหะ พันธะไอออนิก
  พันธะโคเวเลนต์ พันธะโครงผลึกร่ างตาข่ าย ซึ่ง
  พอสรุปจุดหลอมเหลวตามชนิดพันธะจากสู งไป
  หาต่าดังนี้
โครงผลึกร่ างตาข่ าย
      พันธะโลหะ

    พันธะไอออนิก

   พันธะโคเวเลนต์

   พันธะไฮโดรเจน

 พันธะโคเวเลนต์ มีข้ัว

พันธะโคเวเลนต์ ไม่ มีข้ัว
• ธาตุในหมู่ 1A ,2A และ 3A เป็ นโลหะจุด
  หลอมเหลวและจุดเดือดมีแนวโน้ มสู งขึนจากซ้ าย
                                        ้
  ไปขวาในคาบเดียวกัน เพราะมีพนธะโลหะแข็งแรง
                                 ั
  ขึน เนื่องจากขนาดอะตอมเล็กลง และมีจานวนเว
     ้
  เลนต์ อเิ ล็กตรอนมากขึน
                        ้
• ธาตุหมู่ 4A บางธาตุมีโครงสร้ างเป็ นโครงผลึกร่ าง
  ตาข่ าย จึงทาให้ จุดหลอมเหลวและจุดเดือดมีค่า
  สู งขึน
        ้
• ธาตุในหมู่ 5A ,6A , 7A และ 8A ในคาบเดียวกันพบว่า
  แนวโน้ มของจุดหลอมเหลวและจุดเดือดตาลง เพราะ
                                          ่
  ธาตุพวกนีมแรงยึดเหนี่ยวระหว่ างโมเลกุลเป็ นแรง
             ้ ี
  แวนเดอร์ วาลส์ เนื่องจากมวลโมเลกุลใกล้ เคียงกัน แต่
  ขนาดโมเลกุลเล็กลง เช่ น N2 O2 F2 มวลโมเลกุลเป็ น
  28,32,38 ซึ่งใกล้เคียงกันและเนื่องจากแรงแวนเดอร์
  วาลส์ ลดลงนี่เอง จึงทาให้ จุดหลอมเหลวและจุดเดือด
  ลดลง จากซ้ ายไปขวาในคาบเดียวกัน
• ธาตุแทรนซิชัน เป็ นโลหะทีมขนาดค่ อนข้ างเล็ก จึง
                              ่ ี
  สร้ างพันธะโลหะได้ แข็งแรง จุดหลอมเหลวและจุด
  เดือดมาก
Boiling Point
Melting Point
สรุปแนวโน้ มสมบัตพริออดิก
                                 ิ ิ
                        ของธาตุ
                       Atomic Radius




                                                                                  Electron affinity
                                          Ionization energy
                                                              Electronegativity
Atomic Radius




                      Ionization energy

                      Electronegativity

                      Electron affinity
เลขออกซิเดชัน          (Oxidation
                Number)
• เลขออกซิเดชัน (Oxidation Number) คือ
  ตัวเลขแสดงค่ าประจุไฟฟ้ า หรือประจุไฟฟ้ า
  สมมติของไอออนหรืออะตอมของธาตุพจารณา ิ
  จากสาร 2 ประเด็น
    1. สารประกอบธาตุคู่
    2. สารประกอบมากกว่ า 2 ธาตุ
1. สารประกอบธาตุคู่
   – สารไอออนิกจะมีประจุไฟฟ้ าบวกของ
     โลหะและอโลหะมีประจุไฟฟ้ าลบเท่ ากับ
     อิเล็กตรอนที่ให้ และทีรับ
                            ่
   – สารโคเวเลนต์ กาหนดให้ อโลหะที่มค่าอิเล็ก
                                          ี
     โทรเนกาติวตสูงเป็ นลบ ส่ วนอโลหะทีมี
                   ิ ี                      ่
     ค่ าอิเล็กโตรเนกาติวตีต่ามีค่าเป็ นบวก ส่ วน
                          ิ
     ค่ าตัวเลขจะเท่ ากับจานวนอิเล็กตรอนที่ใช้
     ร่ วมกัน
2. สารประกอบมากกว่ า 2 ธาตุ
      มีหลักเกณฑ์ การพิจารณาต่ างๆ ดังนี้
 1) ธาตุอสระทุกธาตุไม่ ว่าเป็ นอะตอมหรือโมเลกุล
          ิ
 จะมี เลขออกซิเดชันเป็ นศูนย์ เช่ น Na ,C ,Mg
 ,Pb ,Cl , O2 , S8 , O3
 2) ธาตุหมู่ 1A (Li , Na , K , Rb , Cs) ใน
 สารประกอบใดๆ มีค่าเลขออกซิเดชันเป็ นบวก
 หนึ่ง (+1)
3) ธาตุหมู่ 2A (Mg , Ca , Sr , Ba) ใน
 สารประกอบใดๆมีค่าเลขออกซิเดชันเป็ นบวก
 สอง(+2)
4) ธาตุออกซิเจน (O) โดยทั่วไปในสารประกอบ
 จะมี เลขออกซิเดชันเป็ น -2 ยกเว้ น ใน
                          1
                          2
 สารประกอบเปอร์ ออกไซด์ มีค่า -1 เช่ น2 H2O2 ,
                                       1

 Na2O2 ,BaO2 และในซุปเปอร์ ออกไซด์ จะมีค่า
 - (KO2) และมีค่าเป็ น +2 เมื่อเกิดกับธาตุ F
 เท่ านั้น เช่ น OF2
5) ธาตุไฮโดรเจน (H) โดยทัวไปในสารประกอบจะ
                           ่
มี เลขออกซิเดชันเป็ น +1 ยกเว้ น ในสารประกอบไฮ
ไดรด์ ของโลหะจะมีค่าเป็ น -1 เช่ น NaH , KH ,
CaH2
6) ไอออนของธาตุหรือสารประกอบจะมีเลข
ออกซิเดชันเท่ ากับประจุไฟฟ้ าทีกาหนดไว้ เช่ น
                               ่
     NH4+ = +1           PH4+ = +1
     OH- = -1            CN- = -1
     SO42- = -2 HCO3-= -1
ผลรวมของประจุไฟฟ้ าบวกและลบจะมีค่าเป็ นศูนย์
7) ในกรณีสารประกอบเชิงซ้ อนที่มีผลึกของ
H2O, NH3 , CO เป็ นองค์ ประกอบให้ ถือว่ ามี
เลขออกซิเดชันเป็ นศูนย์ เช่ น CuSO4 . 5H2O
8) ในสารประกอบใดๆ ผลรวมของประจุไฟฟ้ า
บวกและลบจะมีค่าเป็ นศูนย์ เสมอ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ

More Related Content

What's hot

ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202พัน พัน
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์Phattarawan Wai
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศKhwankamon Changwiriya
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนThepsatri Rajabhat University
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมkruannchem
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์jirat266
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะPinutchaya Nakchumroon
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนkkrunuch
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556dnavaroj
 
ใบความรู้ สสาร
ใบความรู้ สสารใบความรู้ สสาร
ใบความรู้ สสารSumalee Panpeng
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่นKruNistha Akkho
 
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊สPreeyapat Lengrabam
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 

What's hot (20)

ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
ใบความรู้ เรื่อง สารละลาย วิชาเสริมทักษะวิทยาศาสตร์ 2 ว 21202
 
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
เฉลยแบบทดสอบย่อยครั้งที่ 1 เรื่องกล้องและเซลล์
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เรียนรู้ชั้นบรรยากาศ
 
Chem equation
Chem equation  Chem equation
Chem equation
 
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุนบทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
บทที่ 7 การเคลื่อนที่แบบหมุน
 
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอมCh 01 โครงสร้างอะตอม
Ch 01 โครงสร้างอะตอม
 
ปิโตรเลียม
ปิโตรเลียมปิโตรเลียม
ปิโตรเลียม
 
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมีการเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การเปลี่ยนแปลงพลังงานและการเกิดปฏิกิริยาเคมี
 
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
คาร์บอกซิลิก เอสเทอร์
 
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะบทที่ 7 ระบบสุริยะ
บทที่ 7 ระบบสุริยะ
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)สารละลาย (Solution)
สารละลาย (Solution)
 
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออนขนาดอะตอมและขนาดไอออน
ขนาดอะตอมและขนาดไอออน
 
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2  ปีการศึกษา 2556
แผนการจัดหน่วยการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2556
 
ใบความรู้ สสาร
ใบความรู้ สสารใบความรู้ สสาร
ใบความรู้ สสาร
 
ดิน
ดินดิน
ดิน
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
7 การประยุกต์ใช้ความรู้เกี่ยวกับแก๊สและสมบัติของแก๊ส
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
Punmanee study 4
Punmanee study 4Punmanee study 4
Punmanee study 4
 

Viewers also liked

โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุchemnpk
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3supphawan
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)Ajchariya Sitthikaew
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบJariya Jaiyot
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบoraneehussem
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)Coco Tan
 

Viewers also liked (6)

โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุโครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ
 
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
โครงสร้างสาระวิทย์ม.3
 
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (โครงงานคอมพิวเตอร์)
 
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบบทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
บทที่ 1 ธาตุและสารประกอบ
 
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบบทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
บทที่ 3 สมบัติของธาตุและสารประกอบ
 
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
เอกสารประกอบการเรียน วิชาเคมี (พื้นฐาน)
 

Similar to โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ

การค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนการค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนkrupatcharee
 
แบบจำลองอะตอมรัทเทอร์ฟอร์ด
แบบจำลองอะตอมรัทเทอร์ฟอร์ดแบบจำลองอะตอมรัทเทอร์ฟอร์ด
แบบจำลองอะตอมรัทเทอร์ฟอร์ดkrupatcharee
 
การค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนการค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนkrupatcharee
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]numpueng
 
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุบทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุoraneehussem
 
โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก
 โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก
โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิกnn ning
 
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมApinya Phuadsing
 
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนพื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนDr.Woravith Chansuvarn
 
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอมbigger10
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1Wijitta DevilTeacher
 

Similar to โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ (20)

การค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอนการค้นพบโปรตอน
การค้นพบโปรตอน
 
1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม1.โครงสร้างอะตอม
1.โครงสร้างอะตอม
 
แบบจำลองอะตอมรัทเทอร์ฟอร์ด
แบบจำลองอะตอมรัทเทอร์ฟอร์ดแบบจำลองอะตอมรัทเทอร์ฟอร์ด
แบบจำลองอะตอมรัทเทอร์ฟอร์ด
 
การค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอนการค้นพบอิเล็กตรอน
การค้นพบอิเล็กตรอน
 
Physics atom part 1
Physics atom part 1Physics atom part 1
Physics atom part 1
 
Atomic structures m4
Atomic structures m4Atomic structures m4
Atomic structures m4
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
Ch13 mp2 atom&nucleus[2]
 
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
แบบเรียน เรื่อง ฟิสิกส์นิวเคลียร์
 
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุบทที่1อะตอมและตารางธาตุ
บทที่1อะตอมและตารางธาตุ
 
Chap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structureChap 3 atomic structure
Chap 3 atomic structure
 
โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก
 โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก
โครงสร้างอะตอมและระบบพีริออดิก
 
Atom
AtomAtom
Atom
 
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
 
physics atom.ppt
physics atom.pptphysics atom.ppt
physics atom.ppt
 
physics atom.ppt
physics atom.pptphysics atom.ppt
physics atom.ppt
 
Physics atom part 3
Physics atom part 3Physics atom part 3
Physics atom part 3
 
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอนพื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
พื้นฐานทฤษฎีอะตอมและโครงแบบอิเล็กตรอน
 
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม
2.สรุปเนื้อหาเคมี เรื่อง โครงสร้างอะตอม
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 1
 

More from krupatcharee

แบบฝึกหัดเรื่องอนุภาคมูลฐาน
แบบฝึกหัดเรื่องอนุภาคมูลฐานแบบฝึกหัดเรื่องอนุภาคมูลฐาน
แบบฝึกหัดเรื่องอนุภาคมูลฐานkrupatcharee
 
ไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทนไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทนkrupatcharee
 
การค้นพบนิวตรอน
การค้นพบนิวตรอนการค้นพบนิวตรอน
การค้นพบนิวตรอนkrupatcharee
 
แบบจำลองอะตอมทอมสัน
แบบจำลองอะตอมทอมสันแบบจำลองอะตอมทอมสัน
แบบจำลองอะตอมทอมสันkrupatcharee
 
แบบจำลองอะตอมดอลตัน
แบบจำลองอะตอมดอลตันแบบจำลองอะตอมดอลตัน
แบบจำลองอะตอมดอลตันkrupatcharee
 
โครงสร้างอะตอม
โครงสร้างอะตอมโครงสร้างอะตอม
โครงสร้างอะตอมkrupatcharee
 

More from krupatcharee (6)

แบบฝึกหัดเรื่องอนุภาคมูลฐาน
แบบฝึกหัดเรื่องอนุภาคมูลฐานแบบฝึกหัดเรื่องอนุภาคมูลฐาน
แบบฝึกหัดเรื่องอนุภาคมูลฐาน
 
ไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทนไอโซโทป ไอโซโทน
ไอโซโทป ไอโซโทน
 
การค้นพบนิวตรอน
การค้นพบนิวตรอนการค้นพบนิวตรอน
การค้นพบนิวตรอน
 
แบบจำลองอะตอมทอมสัน
แบบจำลองอะตอมทอมสันแบบจำลองอะตอมทอมสัน
แบบจำลองอะตอมทอมสัน
 
แบบจำลองอะตอมดอลตัน
แบบจำลองอะตอมดอลตันแบบจำลองอะตอมดอลตัน
แบบจำลองอะตอมดอลตัน
 
โครงสร้างอะตอม
โครงสร้างอะตอมโครงสร้างอะตอม
โครงสร้างอะตอม
 

โครงสร้างอะตอมและตารางธาตุ

  • 1. โครงสร้ างอะตอม และ ตารางธาตุ
  • 3. อะตอม (atom) • อะตอมมีมาก่ อนคริสศักราชประมาณ 500 ปี • นักปราชญ์ ชาวกรีก ชื่อว่ า “ดีโมคริตุส (Democritus)” เชื่อว่ า “ถ้ าแบ่ งสารให้ เล็กลงเรื่อยๆ ในทีสุดจะได้ ่ หน่ วยย่ อยซึ่งไม่ สามารถแบ่ งให้ เล็กลงไปได้ อก”ี ซึ่งเรียกหน่ วยย่ อยนีว่า ้ “อะตอม”
  • 4. แบบจาลองอะตอมของดอลตัน • ปี พ.ศ. 2346 มีนักวิทยาศาสตร์ ชาวอังกฤษ ชื่อว่ า นายจอห์ น ดอลตัน ได้ ต้งทฤษฎีเกียวกับ ั ่ อะตอมขึนมามีอยู่ 3 ข้ อง่ ายๆ ดังนี้ ้ 1. ธาตุต้องประกอบไปด้ วยอนุภาคเล็กๆ เรียกว่ า “อะตอม” อะตอมนั้นแบ่ งแยกไม่ ได้ หรือทาให้ สู ญหายไม่ ได้
  • 5. 2. อะตอมของธาตุเดียวกันจะต้ องมีสมบัติ เหมือนกัน เช่ น มีมวลเท่ ากัน และจะมีสมบัติ แตกต่ างจากธาตุอน ่ื 3. สารประกอบเกิดจากอะตอมรวมกันทาง เคมีด้วยอัตราส่ วนจานวนอะตอมเป็ นเลขลงตัว น้ อยๆ นักวิทยาศาสตร์ ได้ มีการนาทฤษฎีต่างๆ มา พิสูจน์ * ทฤษฎีข้อที่ 3 ของดอลตันยังสามารถใช้ ได้
  • 6. แบบจาลองอะตอมของทอม สั น • JJ ทอมสั น ได้ ทาการทดลองเกียวกับ ่ “หลอดรังสี แคโทด (Cathode-ray tube)” หลอดรังสี แคโทด เป็ นเครื่องมือสาหรับทดลอง เกียวกับการนาไฟฟาของก๊ าซ ประกอบด้ วย ่ ้ หลอดแก้ วซึ่งบรรจุก๊าซทีมความดันตา ทีปลาย ่ ี ่ ่ ทั้งสองด้ านของหลอดมีโลหะ 2 แผ่ น เรียกว่ า อิเล็กโทรด (electrode)
  • 7. ต่ อกับ เครื่องกาเนิดไฟฟ้ าศักย์ สูง (High Voltage) ประมาณ 10,000 โวลต์ แผ่ น โลหะที่ต่อจากปลายด้ านไฟฟ้ าลบ เรียกว่ า ขั้ว แคโทด (Cathode) ส่ วนแผ่ นโลหะที่ต่อจาก ปลายด้ านไฟฟ้ าบวก เรียกว่ า ขั้วแอโนด (Anode)
  • 8. หลอดรังสี แคโทดที่ดดแปลงแล้ ว ั หลอดรังสี แคโทดที่มีข้วไฟฟาในหลอดเพิมขึนอีกสองขั้ว ั ้ ่ ้
  • 9. สมบัติของรังสี แคโทด 1. รังสี แคโทดสามารถทาให้ ฉากเรืองแสงเกิดการ เรืองแสงได้ 2. เมื่อให้ รังสี แคโทดอยู่ระหว่ างขั้วไฟฟ้ า รังสี แคโทดจะเบนเข้ าหาขั้วบวก แสดงว่ า รังสี แคโทด ประกอบด้ วยอนุภาคทีมประจุไฟฟ้ าลบ ซึ่ง ่ ี ต่ อมาเรียกอนุภาคนีว่า “อิเล็กตรอน” ้ 3. เมื่อรังสี แคโทดอยู่ในสนามแม่ เหล็กจะเกิดการ เบี่ยงเบนจากแนวเส้ นตรง
  • 10. 4. รังสี แคโทดเดินทางเป็ นเส้ นตรงจากแคโทดไป ยังแอโนด ถ้ ามีวตถุทบแสงมากั้นทางเดินของ ั ึ รังสี กจะทาให้ เกิดเงา (shadow) ็ 5. รังสี แคโทดสามารถทาให้ กงหันทีทาด้ วยวัตถุท่ี ั ่ มีขนาดเล็กมาก ซึ่งขวางทางเดินของรังสี เคลือนทีหรือหมุนได้ แสดงว่ า “รังสี แคโทด ่ ่ ประกอบด้ วยอนุภาคทีมีมวล”่ สรุปสมบัตของรังสี แคโทด : ิ ประกอบด้ วยอนุภาคทีมี ประจุไฟฟ้ าเป็ นลบและมี ่ มวล
  • 11. ผลการทดลองของทอมสั น • อนุภาคทีเ่ กิดจากขั้วแคโทดมีประจุไฟฟ้ าเป็ นลบ (-) เรียกอนุภาคนีว่า อิเล็กตรอน (e ้ -) • โดยมีการคานวณการทดลอง หา ประจุ/มวลของ e- มีค่า = 1.76 X 108 คูลอมบ์ /กรัม • อะตอมของทุกธาตุต้องประกอบด้ วย e -
  • 12. การค้ นพบโปรตอน • ออยเกน โกลด์ สไตน์ (Eugen goldstein) นักฟิ สิ กส์ ชาวเยอรมัน ได้ ดดแปลงหลอด ั รังสี แคโทดที่ทอมสั นทาการทดลอง โดย เพิมฉากไว้ อกด้ านหนึ่งของหลอด ่ ี
  • 13. ผลการทดลองของออยเกน ได้ ข้อสรุปว่ า 1. รังสี ที่ผ่านขั้ว Cathode มีประจุไฟฟ้ าบวก จึง เรียกอนุภาคนีว่า “โปรตอน (prothon)” ้ 2. แต่ จากการหาประจุ/มวลของโปรตอนของธาตุที่ ต่ างกันจะมีค่าไม่ เท่ ากัน แสดงว่ า “มวลของโปรตอนของแต่ ละธาตุมค่าต่ างกัน” ี
  • 14. 3. จากการทดลองของทอมสั นและออยเกน ทาให้ ทราบว่ า “ธาตุทุกชนิดจะต้ องประกอบด้ วย อนุภาคโปรตอนและอิเล็กตรอน” 4. ดังนั้น แบบจาลองอะตอมของทอมสั นจึง เสนอขึนมา มีลกษณะทรงกลม มีอนุภาคของ ้ ั e-และ p อยู่กระจัดกระจาย + - + - - + - + + - +-
  • 15. การหาประจุของอิเล็กตรอน • มิลลิแกน สามารถคานวณประจุของอิเล็กตรอน ออกมาได้ โดยวิธี “ หยดน้ามัน” ซึ่งมีวธีการ ิ ดังนี้ • พ่นน้ามันเป็ นละอองเม็ดเล็กๆ ให้ ตกลงมา ระหว่ างแผ่ นโลหะ 2 แผ่ น แล้ วใช้ รังสี เอกซ์ ไปน็อคอิเล็กตรอนให้ หลุดจากอะตอมของแก๊ส ในอากาศ
  • 16. แล้ วให้ อเิ ล็กตรอนไปเกาะติดบนหยดน้ามัน หยด น้ามันบางหยดมีอเิ ล็กตรอนเกาะเพียงตัวเดียว บางหยดเกาะมากกว่ า 1 ตัว หยดน้ามันจะตกลง มาตามแรงโน้ มถ่ วงของโลก จากนั้นผ่ าน กระแสไฟฟ้ าเข้ าไปจนหยดนามันหยุดนิ่งซึ่ง ้ แสดงว่ า แรงโน้ มถ่ วงของโลกเท่ ากับแรงไฟฟา ้ แล้ วคานวณหาค่ าประจุออกมา ประจุของอิเล็กตรอน (e) = 1.602X10 -19 คูลอมบ์
  • 17. การหามวลของ • มิลลิแกน หาค่ า e อิเ=ล็1.602 x10 คูลอมบ์ กตรอน • ทอมสั น หาค่ า e/m = 1.76x 10 คูลอมบ์ / กรัม 8 -19 m = 1.602x10-19 1.76x108 = 0.911x10-27 กรัม = 9.11x 10-28 กรัม มวลของอิเล็กตรอน 1 อิเล็กตรอน = 9.11x10-28 กรัม
  • 18. แบบจาลองอะตอมของ หลังจากที่นักวิทยาศาสตร์ ชาวฝรั่งเศส ชื่อ รับสารกัมมันฟอร์ และเรินต์เกน ได้ เบเคเรล ได้ พ ทเทอร์ ตรังสี ด ค้ นพบรังสี เอ็กซ์ รัทเทอร์ ฟอร์ ดก็ได้ ทาการศึกษา ธรรมชาติของรังสี ที่เกิดจากสารกัมมันตภาพรังสี พบว่ า รังสี ที่เกิดจากการสลายตัวของสาร กัมมันตรังสี มีอยู่ 3 ชนิด คือ 1. รังสี แอลฟา 2. รังสี บีตา 3. รังสี แกมมา
  • 19. รังสี ต่างๆ มีสมบัติดงนี้ ั • รังสี แอลฟาหรืออนุภาคแอลฟา ประกอบด้ วย อนุภาคทีมีประจุไฟฟ้ าเป็ นบวก (+2) เป็ น ่ นิวเคลียสของอะตอมของธาตุฮีเลียม คือ ประกอบด้ วยโปรตอน 2 ตัว และนิวตรอน 2 ตัว มีอานาจผ่ านทะลุวตถุได้ น้อยมาก ถูกกั้น ั โดยกระดาษเพียงแผ่ นเดียวหรือสองแผ่ น
  • 20. • รังสี บีตาหรืออนุภาคบีตา ประกอบด้ วย อิเล็กตรอนทีมีพลังงานสู ง มีอานาจการผ่ านทะลุ ่ สู งกว่ ารังสี แอลฟา ถูกกั้นโดยใช้ แผ่ นโลหะบางๆ • รังสี แกมมา แสดงสมบัติเป็ นคลืนแม่ เหล็กไฟฟา ่ ้ ที่มีความยาวคลืนสั้ นมากคล้ายรังสี เอ็กซ์ รังสี ่ แกมมาไม่ มีมวล ไม่ มีประจุ มีอานาจผ่ านทะลุ สู งมาก ถูกกั้นได้ โดยแผ่ นตะกัวหนา ่
  • 21. การทดลองของรัทเทอร์ ฟอร์ ด ปี ค.ศ. 1911 ลอร์ ด เออร์ เนสต์ รัทเทอร์ ฟอร์ ด , ฮันส์ ไกเกอร์ และ เออร์ เนสต์ มาร์ เดน ได้ ทาการ ทดลองร่ วมกันที่ประเทศอังกฤษ โดยทาการทดลอง ดังนี้  ใช้ อนุภาคแอลฟายิงไปยังแผ่ นโลหะทองคาบางๆ และใช้ ฉากเรืองแสงซึ่งฉาบด้ วยซิงค์ ซัลไฟด์ เป็ น ฉากรับอนุภาคแอลฟา เพือตรวจสอบว่ าอนุภาค ่ แอลฟาวิงไปทิศทางใดบ้ าง ่
  • 22. จากการทดลองพบว่ า “อนุภาคแอลฟาส่ วนใหญ่ วงผ่ านแผ่ นทองคา ิ่ เป็ นแนวเส้ นตรงออกไปและยังมีอนุภาคบางส่ วน สะท้ อนกลับ” ซึ่งผลการทดลองดังกล่ าวทาให้ รัทเทอร์ ฟอร์ ด ประหลาดใจและสงสั ยมาก เนื่องจากแบบจาลอง อะตอมของทอมสั นไม่ สอดคล้ องกับผลการทดลอง
  • 23. ฉากเรืองแสง ZnS แผ่ นทองคาบาง ๆ (ข) (ค) รังสี a 4 He > > (ก) 2 > แหล่ งกาเนิ (ข) ด รังสี (Ra)
  • 24. ผลการทดลองของรัทเทอร์ ฟอร์ ด • การทีอนุภาคแอลฟาส่ วนใหญ่ ทวงผ่ านอะตอมของ ่ ี่ ิ่ แผ่ นทองคาเป็ นแนวเส้ นตรง แสดงว่ า อะตอมไม่ ใช่ ของแข็งทึบตัน แต่ ภายในอะตอมมีทว่างอยู่มาก ี่ เพราะถ้ าเป็ นของแข็งทึบตัน อนุภาคแอลฟาซึ่งมี ประจุไฟฟ้ าบวก มีมวลมาก ควรเฉออกจากทาง เดิม
  • 25. • อนุภาคแอลฟาบางอนุภาคทีหักเหออกจากทางเดิม ่ เพราะภายในอะตอมมีอนุภาคทีมมวลมากและมี ่ ี ประจุไฟฟ้ าบวกสู งมีขนาดเล็ก ดังนั้นเมื่ออนุภาค แอลฟาเข้ าใกล้ อนุภาคนีจะถูกผลักให้ เบนออกจาก ้ เดิม หรือเมื่ออนุภาคแอลฟาเข้ ามากระทบอย่ างจัง ก็จะสะท้ อนกลับ
  • 26. สรุปแบบจาลองอะตอมของ รัทเทอร์ ฟอร์ ด “อะตอมประกอบด้ วยโปรตอนซึ่งรวมกันเป็ น นิวเคลียสอยู่ตรงกลาง นิวเคลียสมีขนาดเล็กมาก แต่ มีมวลมากและมีประจุบวก ส่ วนอิเล็กตรอนซึ่ง มีประจุลบและมีมวลน้ อยมากวิงอยู่รอบๆ ่ นิวเคลียสเป็ นบริเวณกว้ าง”
  • 27. การค้ นพบนิวตรอน • ปี ค.ศ. 1930 โบเท และเบคเกอร์ นักเคมีชาวเยอรมัน ได้ ทดลองใช้ อนุภาคแอลฟายิงแผ่ นโลหะเบริลเลียม (Be) ปรากฏว่ าเกิดรังสี ชนิดหนึ่งทีมอานาจผ่ านทะลุได้ ดและ ่ ี ี รังสี นีเ้ มือชนกับโมเลกุลของพาราฟิ นจะได้ โปรตอน ่ ออกมา • ปี ค.ศ. 1932 เจมส์ แชดวิก นักวิทยาศาสตร์ ชาวอังกฤษ ได้ เสนอว่า “รังสี ทไปชนพาราฟิ นจนได้ โปรตอนนั้น ี่ จะต้ องประกอบด้ วยอนุภาคและให้ ชื่อว่ านิวตรอน (neutron) แชดวิก ยังสามารถพิสูจน์ ได้ ว่า อนุภาคนิวตรอนไม่ มประจุ และมีมวลใกล้ เคียงกับมวล ี
  • 28. จากการค้นพบนิวตรอนโดย แชดวิก ทาให้ เราทราบ ว่ า อะตอมประกอบด้ วย อนุภาค 3 ชนิด คือ โปรตอน อิเล็กตรอน และนิวตรอน และอนุภาค ทั้งสามเราถือว่าเป็ นอนุภาคมูลฐานของอะตอม จาก การค้นพบนิวตรอนของแชดวิก ทาให้ แบบจาลอง อะตอมเปลียนไป ดังนี้ ่ “อะตอมมีลกษณะเป็ นทรงกลมประกอบด้ วยโปรตอน ั และนิวตรอน รวมตัวกันเป็ นนิวเคลียสอยู่ตรงกลาง pn และมีอเิ ล็กตรอนซึ่งมีจานวนเท่ ากับโปรตอนวิงอยู่ e ่ รอบๆ นิวเคลียส”
  • 29. สมบัตของอนุภาคมูลฐาน ิ สั ญลักษ ชนิดของ ประจุไฟฟา ้ มวล อนุภาค ณ์ ประจุ (คูลอมบ์ ) (g) อิเล็กตรอน e -1 1.602 x 10-19 9.109 x 10-28 โปรตอน p +1 1.602 x 10-19 1.673 x 10-24 นิวตรอน n 0 0 1.675 x 10-24
  • 30. เลขอะตอม • เลขอะตอม (Atomic number) หมายถึง จานวนโปรตอนทีอยู่ภายในนิวเคลียส แต่ ่ เนื่องจากในอะตอมที่เป็ นกลางจานวนโปรตอน เท่ ากับจานวนอิเล็กตรอน ดังนั้น เลขอะตอม อาจหมายถึงจานวนอิเล็กตรอนก็ได้ ใช้ สั ญลักษณ์ Z แทน เลขอะตอมมีค่าเป็ นเลข จานวนเต็มเสมอ
  • 31. • กรณีที่อะตอมไม่ เป็ นกลางจานวนโปรตอนจะไม่ เท่ ากับจานวนอิเล็กตรอน อะตอมที่ไม่ เป็ นกลาง ได้ แก่ ไอออนบวก ไอออนลบ
  • 32. เลขมวล • เลขมวล (Mass number) หมายถึง ผลบวกของจานวนโปรตอนกับนิวตรอนภายใน นิวเคลียส ใช้ สัญลักษณ์ A แทน เลขมวลไม่ ใช่ เลข อะตอม แต่ มีค่าใกล้ เคียงกัน
  • 33. การเขียนสั ญลักษณ์ นิวเคลียร์ ของธาตุ สั ญลักษณ์ นิวเคลียร์ เป็ นสั ญลักษณ์ ที่บอกรายละเอียด เกียวกับจานวนอนุภาคมูลฐานของอะตอม ซึ่งมี ่ หลักการเขียนดังนี้ ให้ X คือ สั ญลักษณ์ ของธาตุ A คือ เลขมวล = โปรตอน+นิวตรอนในนิวเคลียส Z คือ เลขอะตอม = จานวนโปรตอนในนิวเคลียส A Z สั ญลักษณ์ นิวเคลียร์ คือ X
  • 34. ตัวอย่ างสั ญลักษณ์ นิวเคลียร์ ของธาตุ 12 235 6 C Cl 35 17 U 92 14 39 72 N 7 K 19 32 Ge
  • 35. ไอโซโทป (Isotope) • ไอโซโทป (Isotope) คือ ธาตุทมเี ลขอะตอม ี่ เหมือนกันแต่ เลขมวลต่ างกัน หรือธาตุทมจานวน ี่ ี โปรตอนเหมือนกันแต่ นิวตรอนต่ างกัน เช่ น •ธาตุไฮโดรเจน มี 3 ไอโซโทป คือ 1 1H เรียกว่า โปรเทียม 2 1 H เรียกว่า ดิวเทอเรียม 3 1 H เรียกว่า ทริเทียม
  • 36. ประโยชน์ ของไอโซโทป • 14C ใช้ คานวณหาอายุของวัตถุโบราณ หรือซาก ดึกดาบรรพ์ และ ศึกษากลไกการเกิดปฏิกริยา ิ • 24Na ใช้ ตรวจอัตราการไหลเวียนของโลหิต • 60Co ให้ รังสี แกมมาซึ่งใช้ ในการถนอมอาหารและรักษา โรคมะเร็ง • 131I ใช้ ตรวจสอบความผิดปกติของต่ อมไทรอยด์ • 32P ใช้ ศึกษาความต้ องการปุ๋ ยของพืช • 238U ใช้ คานวณอายุแร่
  • 37. ไอโซโทน (Isotone) • ไอโซโทน คือ ธาตุทมีนิวตรอนเหมือนกัน แต่ ี่ โปรตอนต่ างกัน เช่ น 39 40 19 K 20 Ca เป็ นไอโซโทนกัน เพราะต่ างก็มีจานวนนิวตรอนเท่ ากับ 20
  • 38. ไอโซบาร์ (Isobar) • ไอโซบาร์ คือ ธาตุทมีเลขมวลเหมือนกันแต่ เลข ี่ อะตอมต่ างกัน เช่ น 14 14 6 C N 7 เป็ นไอโซบาร์ กน ั
  • 39. แบบฝึ กหัด อนุภาคมูลฐานของ อะตอม จงหาอนุภาคมูลฐาน 1. จากสั ญลักษณ์ นิวเคลียร์ ทกาหนดให้ ี่ ของอะตอม 23 11 27 13 210 85 Na p = Al3+ p = At- p = n = n = n= 80 31 226 35 e- = 15 e- = 88 e- = Br p = P3- p = Ra+ p = n = n = n= e- = e- = e- =
  • 40. 2. จงหาเลขมวลของธาตุต่อไปนี้ 1) X3+ มีอเิ ล็กตรอน 28 อิเล็กตรอน มีนิวตรอน 29 นิวตรอน .... 2) X มีเลขมวลเป็ น 2 เท่ าของ Na ........................... 23 11 16 3) 11X + มีจานวนนิวตรอนเท่ ากับนิวตรอนของ O ................... 8 4) 19X- มีจานวนนิวตรอนน้ อยกว่ าอิเล็กตรอน 3 ตัว............
  • 41. 3. จงหาเลขอะตอมของธาตุต่อไปนี้ 1) X2+ มีจานวนอิเล็กตรอนเท่ ากับ 36 ..................... 2) X อยู่หมู่2มีจานวนอิเล็กตรอนอยู่ในระดับพลังงาน สู งสุ ด เท่ ากับ 4..................... 3) X- มีจานวนอิเล็กตรอนเท่ ากับ 18 ..................... 4) X อยู่หมู่ 3 คาบที่ 4 ................................
  • 42. 4. ถ้ าโมเลกุลของน้าประกอบด้ วยไฮโดรเจน 2 อะตอม และออกซิเจน 1 อะตอม เขียนสู ตรแสดงได้ เป็ น H2 O เมื่อไฮโดรเจนคือโปรเทียม จงเขียนสู ตรของนา ้ โดยแทน อะตอมของไฮโดรเจนด้ วยดิวเทอเรียม และทริ เทียม
  • 43. 5. จงเขียนสั ญลักษณ์ นิวเคลียร์ ของไอโซโทปต่ างๆ ของธาตุ X ซึ่งมี 9 อิเล็กตรอน และมีนิวตรอน 9 10 และ 11 ตามลาดับ 6. ไอโซโทปของธาตุชนิดหนึ่งมีประจุในนิวเคลียสเป็ น 3 เท่ าของประจุในนิวเคลียสของไฮโดรเจนและมีเลข มวลเป็ น 7 เท่ าของเลขมวลไฮโดรเจน ไอโซโทปนี้ จะมีอนุภาคมูลฐาน อย่ างละเท่ าใด
  • 44. แบบจาลองอะตอมของโบร์  จากการทดลองของรัทเทอร์ ฟอร์ ด และการ ค้ นพบนิวตรอนของแชดวิก ทาให้ ทราบว่ า โปรตอนและนิวตรอนอยู่รวมกันในนิวเคลียส ของอะตอม แต่ ยงไม่ ทราบว่ า การจัดอิเล็กตรอน ั ในอะตอมเป็ นอย่ างไร.. ดังนั้น การศึกษาเกียวกับสเปกตรัมจึงเป็ นข้ อมูล ่ สาคัญ ทีนาไปสู่ การนาเสนอแบบจาลองอะตอมของโบร์ ่
  • 45. คลืนและสมบัติของคลืน ่ ่ 1. ความยาวคลืน (wavelenth) สั ญลักษณ์ แลมบ์ ่ ดา) คือ ระยะระหว่ างยอดคลืนหรือระยะทางที่ ่ เคลือนที่ครบ 1 รอบพอดี ความยาวคลืนมีหน่ วย ่ ่ เป็ นเมตร (m) หรือหน่ วยย่ อยของเมตร เช่ น เซนติเมตร(cm) นาโนเมตร (nm)(1 nm = 10 -9m) คลื่นและความยาวคลื่น
  • 46. 2. แอมปลิจูด (Amplitude) คือ ความสูงของ คลืน ่ 3. ความถี่ของคลืน (Frequency) สั ญลักษณ์  ่ (นิว) หมายถึง จานวนคลืนทีผ่านจุดจุดหนึ่ง ่ ่ ในเวลา 1 วินาที ดังนั้น ความถี่ของคลืนจึง ่ มีหน่ วยเป็ นรอบต่ อวินาที (s-1) หรือ Cycle/s หรือเรียกอีกอย่ างหนึ่งว่ า เฮิรตซ์ สั ญลักษณ์ Hz
  • 47. • คลืนแม่ เหล็กไฟฟาประกอบด้ วยคลืนหลายชนิด ่ ้ ่ ที่มีความยาวคลืน และความถี่ต่างๆ กันเป็ น ่ ช่ วงกว้ าง • คลืนที่ประสาทตาของเราสามารถรับได้ มีความ ่ ยาวคลืนตั้งแต่ 400 nm ถึง 700 nm เท่ านั้น ่ คลืนแม่ เหล็กไฟฟาในช่ วงนีเ้ รียกว่ า แสงขาว ่ ้
  • 48. สเปกตรัม (spectrum) • สเปกตรัม หมายถึง แถบสี หรือเส้ นสี ที่ได้ จากการ ผ่ านพลังงานแสงเข้ าไปในสเปกโตรสโคป แล้ วทา ให้ พลังงานแสงแยกออกเป็ นแถบสี ที่เรียงกันตาม ความยาวคลืน หรือได้ เส้ นสี ที่มีค่าความยาวคลืนค่ า ่ ่ ใดค่ าหนึ่ง • สเปกโตรสโคป คือ เครื่องมือที่ใช้ แยกสี ของแสง ตามความถี่หรือตามความยาวคลืน หรือเป็ น ่ เครื่องมือที่ใช้ ศึกษาเกียวกับสเปกตรัม ่
  • 49. สเปกตรัมแบ่ งออกได้ เป็ น 2 1. ประเภท ง สเปกตรัมที่ สเปกตรัมต่ อเนื่อง หมายถึ ประกอบด้ วยแถบของสี ที่มีค่าความถี่หรือความ ยาวคลืนต่ อเนื่องกัน เช่ น สเปกตรัมที่เกิดจาก ่ แสงอาทิตย์ 2. สเปกตรัมไม่ ต่อเนื่อง หมายถึง สเปกตรัมที่มี ลักษณะเป็ นเส้ นสี หรือแถบสี เล็กๆ ที่ไม่ ต่ อเนื่องกัน มีช่องว่ างระหว่ างเส้ น เส้ นสี ที่ เกิดขึนเรียกว่ าเส้ นสเปกตรัม เช่ น สเปกตรัมที่ ้ เกิดจากแสงซึ่งเกิดจากหลอดไฟฟ้ าทีบรรจุธาตุ ่
  • 50. รูปสเปกตรัมคลืน ่ แม่ เหล็กไฟฟา ้
  • 51. การหักเหของแสงขาวผ่ านปริซึม • ถ้ าให้ แสงอาทิตย์ ซึ่งเป็ น แสงขาวส่ องผ่ านปริซึม แสงขาวจากดวงอาทิตย์ จะแยกออกเป็ นแสงสี ร้ ุง ต่ อเนื่องกัน เรียกว่ า แถบ สเปกตรัมของแสงขาว
  • 52. ความยาวคลืนของสเปกตรัมต่ างๆ ่ สี ของสเปกตรัม ความยาวคลืน (nm) ่ ม่ วง 400 – 420 คราม – นาเงิน ้ 420 – 490 เขียว 490 – 580 เหลือง 580 – 590 แสด (ส้ ม) 590 – 650 แดง 650 - 700
  • 53. • มักซ์ พลังค์ นักวิทยาศาสตร์ ชาวเยอรมัน ได้ ศึกษา พลังงานของคลืนแม่ เหล็กไฟฟ้ า และสรุปว่ า ่ “พลังงานของคลืนแม่ เหล็กไฟฟ้ าจะเป็ นสั ดส่ วน ่ โดยตรงกับความถี่ของคลื=นั้น” E น h ่ • เมือ E คือ พลังงานของคลืนแม่ เหล็กไฟฟ้ า (J) ่ ่ h คือ ค่ าคงทีของพลังค์ มค่า 6.625x10-34J.s ่ ี  คือ ความถี่ของคลืนแม่ เหล็กไฟฟ้ า มีหน่ วยเป็ น ่ รอบต่ อวินาที(s-1) หรือเฮิรตซ์ (Hz)
  • 54. • แต่ เนื่องจากความยาวคลืนกับความถี่สัมพันธ์ ่ กัน ดังนี้ c =  เมื่อ c คือ ความเร็วของแสงในสุ ญญากาศมี ค่ าเท่ ากับ 3.0x108 m/s hc E = 
  • 55. • ถ้ าผ่ านแสงขาวไปยังแท่ งปริซึมสามเหลียมจะถูก่ แยกเป็ นสี ต่างๆ กัน ซึ่งแสงสี ที่ต่างกันนีจะมี ้ พลังงานไม่ เท่ ากัน โดยเฉพาะสี แดงจะมีความ ยาวคลืนมากสุ ด มีความถีตาสุ ด ่ ่ ่ • แสงทีเ่ ป็ นคลืนสั้ นจะมีความถีสูงกว่ าแสงทีเ่ ป็ น ่ ่ คลืนยาว ่ • แสงทีเ่ ป็ นคลืนสั้ นจะมีพลังงานสู งกว่ าแสงทีเ่ ป็ น ่ คลืนยาว ่
  • 56. ตัวอย่ างการคานวณ • ตัวอย่ างที่ 1 คลืนแสงของธาตุ x มีความยาวคลืน 2x10-5 m ่ ่ และมีความถี่ 3x104 s-1 จงหาพลังงาน วิธีทา สู ตร E = h = 6.625 x10-34J.s x 3 x104s-1 = 19.87 x 10-30J = 1.987 x 10-29J ดังนั้น พลังงานมีค่า 1.987x10-29จูล Ans
  • 57. แบบฝึ กหัด 1. จงเรียงลาดับแสงสี ต่างๆ ในแสงขาวตามความถี่และ พลังงานจากน้ อยไปมาก 2. เส้ นสเปกตรัมสี แดงของโพแทสเซียมมีความถี่ 3.9 x1014 Hz จะมีความยาวคลืนเป็ นเท่ าใด ่ 3. เส้ นสเปกตรัมเส้ นหนึ่งของธาตุซีเซียมมีความยาวคลืน ่ 456 nm ความถี่ของสเปกตรัมเส้ นนีมค่าเท่ าใด และ ้ ี ปรากฏเป็ นสี ใด 4. คลืนแม่ เหล็กไฟฟาทีมความถี่ 8.5 x104 Hz จะมี ่ ้ ่ ี พลังงานและความยาวคลืนเท่ าใด ่
  • 58. การศึกษาสี ของเปลวไฟจาก สารประกอบ และเส้เปกโทรสโคปส่มของธาตุบย์จะเห็นด • เมื่อใช้ ส นสเปกตรั องดูแสงอาทิต างชนิ แถบ สี ต่างๆ 7 สี ต่อเนื่องกัน เมื่อใช้ สเปกโทรสโคปส่ อง เปลวไฟทีได้ จากการเผาธาตุและสารประกอบต่ างๆ ่ จะเห็นเป็ นเส้ นสี ต่างๆ เส้ นสี ทเ่ี ห็นชัดเจนทีสุดจะ ่ เป็ นสี เดียวกับแสงที่สังเกตเห็นได้ ด้วยตาเปล่า สเปกตรัมที่ได้ จากการเผาสารประกอบต่ างๆ แสดงในตารางดังนี้
  • 59. สารประกอบ สี ของสเปกตรัม ลิเทียมคลอไรด์ แดง ลิเทียมไนเตรต แดง โพแทสเซียมคลอไรด์ ม่ วง โพแทสเซียมไนเตรต ม่ วง สตรอนเชียมคลอไรด์ แดง สตรอนเชียมคาร์ บอเนต แดง โซเดียมคลอไรด์ เหลือง โซเดียมซัลเฟต เหลือง
  • 60. • จากข้ อมูลในตาราง พบว่ า สารประกอบของ โลหะชนิดเดียวกันจะให้ สีของสเปกตรัม เหมือนกัน ดังนั้น จึงสรุปได้ ว่าสี ของเส้ น สเปกตรัมเกิดจากส่ วนที่เป็ นโลหะของ สารประกอบ ไม่ ได้ เกิดจากส่ วนที่เป็ นอโลหะ นอกจากนียงพบว่ า ธาตุและสารประกอบของ ้ั ธาตุชนิดนั้นจะให้ สีของสเปกตรัมเหมือนกัน
  • 61. • อิเล็กตรอนแต่ ละตัวเคลือนทีอยู่ในชั้นทีมระดับ ่ ่ ่ ี พลังงานเท่ ากับพลังงานที่มีในตัวของอิเล็กตรอนนั้น สภาวะดังกล่ าวอิเล็กตรอนจะอยู่ในสถานะพืน ้ (ground state) ซึ่งเป็ นสภาวะที่อเิ ล็กตรอนมี พลังงานตาสุ ด อิเล็กตรอนทีอยู่ในสถานะพืนจึงมี ่ ่ ้ ความเสถียร เมื่อได้ รับพลังงานจากการเผาไฟจะทา ให้ อเิ ล็กตรอนมีพลังงานสู งขึน จึงเคลือนทีไปยัง ้ ่ ่ ระดับพลังงานทีสูงขึน อิเล็กตรอนตัวนั้นจึงอยู่ใน ่ ้ สถานะกระตุ้น (excite state)
  • 62. • ในสถานะกระตุ้นอิเล็กตรอนมีพลังงานสู งทาให้ อิเล็กตรอนนั้นไม่ เสถียร จึงต้ องปรับตัวลด พลังงานลงโดยการคายพลังงานออกมาเท่ ากับ ผลต่ างระหว่ างพลังงานในสถานะกระตุ้นและ พลังงานในสถานะพืน แล้ วอิเล็กตรอนจึง ้ เคลือนที่กลับมาสถานะพืน อิเล็กตรอนจะคาย ่ ้ พลังงานออกมาในรูปคลืนแม่ เหล็กไฟฟ้ า จึง ่ เกิดเป็ นเส้ นสเปกตรัม
  • 64. การแปลความหมายของเส้ นสเปกตรัม • เส้ นสเปกตรัม มาจาก ธาตุทมการเปลียนระดับ ี่ ี ่ K ,n = 1 พลังงานของอิเล็กตรอน L, n = 2 M, n = 3 • แถบสเปกตรัม มาจาก Ground state Excited state ธรรมชาติ ขั้นพืนฐานจะเสถียร ้ ขั้นกระตุ้น ในแต่ ละระดับพลังงานจะห่ างไม่ เท่ ากัน มีการคายพลังงานออก เรียกว่ า คลืนแสงหรือเส้ นสเปกตรัม ่
  • 65. • การเปลียนแปลงพลังงานของ ่ อิเล็กตรอนระหว่างสถานะพืน ้ กับสถานะกระตุ้น อาจเปรียบ ได้ กบ การขึนบันได ั ้ • ผลต่ างของพลังงานศักย์ ระหว่างขั้นบันไดจะมีค่า เฉพาะตัวและขึนอยู่กบความ ้ ั แตกต่ างของความสู งของ ขั้นบันได
  • 66. ข้ อแตกต่ างของแบบจาลองอะตอม ของ Niels Bohr ทีต่างจาก ่ Rutherford 1. e ที่วงรอบๆ นิวเคลียส จะมีพลังงานที่ไม่ เท่ ากัน ให้ - ิ่ พลังงานของ e- คือ Ep + Ek 2. e- ที่มี Ep + Ek ที่ตาจะอยู่ใกล้ นิวเคลียสและที่มพลังงาน ่ ี สู งขึนจะอยู่ห่างไกลนิวเคลียสออกมา ้ 3. โดยที่ e- ที่มในอะตอมมีการจัดเป็ นระดับพลังงาน (shell) ี โดยที่ให้ e- ที่อยู่ใกล้ นิวเคลียสที่สุดชื่อว่ า shell K , L , M , N , O , P, Q หรือ n =1,n = 2,n = 3, n =4 ,n = 5 , n = 6 , n = 7
  • 67. 4. ในแต่ ละระดับพลังงานจะมี e- ได้ ไม่ เกิน 2n2 อนุภาค โดย n คือลาดับทีของระดับพลังงาน เช่ น ่ n = 1  2(1)2 = 2 e- n = 2  2(2)2 = 8 e- n = 3  2(3)2 = 18 e- n = 4  2(4)2 = 32 e- n = 5  2(5)2 = 50 e- n = 6  2(6)2 = 72 e- n = 7  2(7)2 = 98 e- แต่ มีข้อแม้ ว่า e- ทีอยู่รอบนอกสุ ดต้ องไม่ เกิน 8 ่
  • 68. 5. ฉะนั้นแบบจาลองอะตอมของโบว์ จึงต่ างไปจากของ รัทเทอร์ ฟอร์ ด คือ ลักษณะคล้ ายระบบสุ ริยะ โดยมี นิวเคลียสตรงกลางและ e-จะวิงรอบๆ นิวเคลียส เป็ น ่ ระดับพลังงาน n1หรือ K n2หรือ L
  • 69. แบบจาลองอะตอมแบบกล่ ม ุ หมอก • นักวิทยาศาสตร์ ปัจจุบันนีเ้ ข้ าใจว่ า อิเล็กตรอนที่วงรอบนิวเคลียสตามที่โบร์ ิ่ เสนอมานั้นไม่ ถูกต้ อง จากการศึกษา พลังงานของอิเล็กตรอน แล้วให้ ข้อเสนอ ดังนี้
  • 70. 1. e- ไม่ ได้ วงรอบนิวเคลียสในรัศมีทคงที่ บางครั้งจะ ิ่ ี่ ใกล้ นิวเคลียส บางครั้งจะออกห่ างนิวเคลียส บอก ตาแหน่ งและความเร็วของ e- ในขณะเดียวกัน ไม่ ได้ บอกได้ เพียงแต่ โอกาสจะพบ e- ณ ตาแหน่ งต่ างๆ ภายในอะตอม ลักษณะเช่ นนี้ เรียกว่ ากลุ่มหมอกของ e - 2. กลุ่มหมอกของ e- ในระดับพลังงานต่ างๆ จะมี รูปทรงต่ างๆ กัน แล้ วแต่ จานวน e- และระดับ พลังงานของ e- นั้น
  • 71. 3. กลุ่มหมอกของ e- ทีมีระดับพลังงานตา จะอยู่ ่ ่ ใกล้ นิวเคลียสและกลุ่มหมอกของ e- ที่มี พลังงานสู งจะอยู่ไกลนิวเคลียส 4. e- แต่ ละอนุภาคไม่ ได้ อยู่ในระดับพลังงานใด พลังงานหนึ่งอย่ างคงที่ ที่มีการเปลียนระดับ ่ ตลอดเวลา 5. ผลรวมของกลุ่มหมอกของ e - ทุกระดับ พลังงานจะเป็ นทรงกลม
  • 72. การจัดเรียงอิเล็กตรอนในอะตอม n=1 มี e- = 2 = 2x1 = 2x12 n=2 มี e- = 8 = 2x4 = 2x22 n=3 มี e- = 18 = 2x9 = 2x32 n=4 มี e- = 32 = 2x16 = 2x42 2n 2 n=5 มี e- = 50 = 2x25 = 2x52 n=6 มี e- = 72 = 2x36 = 2x62 n=ระดับพลังงาน n=7 มี e- = 98 = 2x49 = 2x72 ข้ อแม้ e- ทีอยู่วงนอกสุ ดมีได้ ไม่ เกิน 8 ่ e-ทีอยู่ถัดจากวงนอกสุ ดมีได้ ไม่ เกิน18 ่
  • 73. I , II ,VIII ตัวอย่ างการจัดเรียงอิเล็กตรอน A 3Li = 2,1 +8 Valence e- 11Na = 2, 8 , 1 +8 บอกให้ รู้ว่าอยู่หมู่ 19K = 2, 8 , 8 , 1 ใด +18 37Rb = 2 , 8 , 18 , 8 , 1 +18 55Cs = 2 , 8 , 18, , 18 , 8 ,1 +32 87Fr = 2 , 8 , 18 , 32 , 18 ,8 , 1 ดังนั้น ธาตุดงกล่ าวจึงอยู่หมู่ IA ั
  • 74. การจัดอิเล็กตรอนในระดับพลังงาน ย่ อย Sub-shell , Orbital • จากการเสนอแบบจาลองอะตอมในปัจจุบันนีว่า มี ้ ลักษณะเป็ นกลุ่มหมอก และจากการคานวณพลังงาน ของ e- ในระดับสู งต่ อไป พบว่ า e- ไม่ ได้ จัดเป็ น Shell อย่ างทีโบร์ เสนอไว้ ่ • กล่ าวคือ e - ในแต่ ละ Shell หรือ Orbital โดยมีข้อ แม้ ว่า e- ในแต่ ละ Orbital จะมีได้ ไม่ เกิน 2e- และมี รู ปร่ างแตกต่ างไปตามความหนาแน่ นของ e- ดังนี้
  • 75. Orbital • ระดับวงย่ อย s เริ่มตั้งแต่ n=1,จึงมี 1 วงย่ อยและมี e -=2 e- • ระดับวงย่ อย p เริ่มตั้งแต่ n=2,จึงมี 3 วงย่ อยและมี e-=6e- • ระดับวงย่ อย d เริ่มตั้งแต่ n=3,จึงมี 5 วงย่ อยและมี e- =10e- • ระดับวงย่ อย f เริ่มตั้งแต่ n=4,จึงมี 7 วงย่ อยและมี e- =14e-
  • 76. • เพือความสะดวกในการจัด e- ในระดับพลังงานย่ อยให้ จัดตามผัง ่ ดังต่ อไปนี้ 1s - - - ระดับพลังงานทีต่า ่ 2s 2p - - 3s 3p 3d - 4s 4p 4d 4f 5s 5p 5d 5f 6s 6p 6d 6f 7s 7p 7d 7f ระดับพลังงานทีสูง ่
  • 77. n=4 14 e 10 e 4f 4d 6e 4p Energy 10 e 3p 2e 4s n=3 6e 3p 2e 3s 6e 2p n=2 2e 2s n=1 2e 1s
  • 79. ตัวอย่ างการจัดเรียง อิเล็กตรอน 2 • 26Fe 1s 2s 2p 3s 3p 4s 3d6 2 2 6 2 6 2 8 14 2 • 24Cr 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 4s2 3d4 4s1 3d5 2 8 13 1
  • 80. แบบฝึ กหับด งงานย่อย 1. จงเขียนผังการจัดเรียงอิเล็กตรอนในระดั พลั 2. จงแสดงการจัดเรียงอิเล็กตรอนของธาตุต่อไปนี้ 38Sr 46Pd 53I 78Pt 3. ถ้ าธาตุ A B และ C มีการจัดอิเล็กตรอนดังนี้ ธาตุ A 1s2 2s2 2p6 3s2 3p2 B 1s2 2s2 2p6 3s2 C 1s2 2s2 2p6 3s2 3p6 ก. ธาตุ A B และ C มีเลขอะตอมเท่ าใด ข. ธาตุแต่ ละชนิดมีอเิ ล็กตรอนอยู่ในระดับพลังงานใดบ้ าง และมีจานวนเท่ าใด
  • 81. การบรรจุ e -ในแต่ ละ Orbital มีหลักการดังนี้ 1. หลักการกีดกันของเพาลี (Pauli esilusion principle) – e -คู่หนึ่งคู่ใดในออบิทลเดียวกันจะต้ องมี ั สมบัติไม่ เหมือนกันอย่างน้ อย e- คู่น้ัน จะต้ องมีทศทางการหมุนรอบตัวเองไม่ ิ เหมือนกัน ตัวหนึ่งหมุนตามเข็มนาฬิ กา อีก ตัวหนึ่งหมุนทวนเข็มนาฬิ กา จึงกาหนดไว้ ว่า
  • 82. 1) ใช้ แทน Orbital 2) ในแต่ ละ จะบรรจุ e- ได้ สูงสุ ด 2 e- 3) กาหนดให้ e- แทนลูกศร = แต่ ไม่ เขียน หรือ
  • 83. 2.อาฟบาว (Aufbau) ให้ บรรจุ e -ลงใน Orbital ที่มีพลังงาน ตาสุ ดและว่ างก่ อนเสมอ เริ่มตั้งแต่ ่ 1s 2 2s 2 2p 6 3s 2 3p 6 4s 2 3d 10
  • 84. 3. กฎของฮุน (Hund’s rule) 1. ในกรณีทมีธาตุมี หลาย ในแต่ ละ จะมีพลังงาน ี่ เท่ ากัน เช่ น 2p มี 3 ให้ บรรจุ e- เดียวมากทีสุดเท่ าทีมากได้ ่ ่ ่ เมื่อมี e- เหลือให้ บรรจุ e- เป็ นคู่เติม นั้น เช่ น มี 2e- 3e- 4e- 2. อะตอมของธาตุทมี e- บรรจุเต็มในทุกๆ มีพลังงาน ี่ เท่ ากัน เรียกว่ า การบรรจุเต็ม แต่ ถ้ามี e- อยู่เพียงครึ่ง เดียว เรียกว่ าบรรจุครึ่ง มีผลทาให้ เกิดการเสถียร
  • 86. ตารางธาตุ • ตารางธาตุ (Periodic table) หมายถึง ตารางที่ นักวิทยาศาสตร์ ได้ รวบรวมธาตุต่างๆ เข้ าเป็ น หมวดหมู่จดตามลักษณะหรือสมบัตทคล้ ายคลึงกัน ั ิ ี่ • ปัจจุบนนักวิทยาศาสตร์ ได้ ค้นพบธาตุมากกว่ า 110 ั ธาตุ จากการทีได้ ค้นพบธาตุจานวนมากจึงยากทีจะ ่ ่ ศึกษาและจดจาสมบัตของธาตุต่างๆ ได้ ท้งหมด เพือ ิ ั ่ ความสะดวกในการศึกษาและจดจาสมบัติต่างๆ ของ ธาตุนักวิทยาศาสตร์ จึงจัดธาตุต่างๆ ทีมสมบัติ ่ ี คล้ ายคลึงกันให้ อยู่ในหมวดหมู่เดียวกัน
  • 87. วิวฒนาการของตาราง ั ธาตุ พ.ศ. 2360 โยฮันน์ โวล์ ฟกัง เดอเบอไรเนอร์ (Johann Wolfgang Dobereiner) ชาวเยอรมัน เป็ นคนแรกทีได้ จัดธาตุเป็ นกลุ่มๆ ละ 3 ธาตุ หรือ ่ ที่เรียกว่ า ชุดสามหรือไตรแอด(Triad) พบว่ า มวล อะตอมตัวกลางเกิดจากผลบวกของธาตุตวแรกกับ ั ตัวที่สามหาร 2 ซึ่งธาตุท้งสามชนิดจะมีสมบัติ ั คล้ ายคลึงกัน
  • 88. ตัวอย่ างการจัดกลุ่มธาตุของเดอเบอไร มวล เนอร์ มวลอะตอมเฉลียของ ่ กลุ่มที่ ธาตุ อะตอม ธาตุทมีมวลน้ อยกว่ าและ ี่ สรุป เฉลีย ่ มากกว่ า 1 Li 6.9 6.9 + 39.1 Li Na K Na 23.0 มีสมบัติ 2 คล้ายคลึงกัน K 39.1 = 23 2 S 32.1 32.1 + 127.6 S Se Te Se 79.0 2 มีสมบัติ คล้ายคลึงกัน Te 127.6 = 79.85
  • 89. • หลักของธาตุชุดสามไม่ สามารถนาไปใช้ กบธาตุ ั กลุ่มอืนทีมีสมบัตคล้ ายกันได้ เช่ น Cu Ag Au ่ ่ ิ ดังนั้นหลักชุดสามของเดอเบอไรเนอร์ จึงไม่ เป็ นที่ ยอมรับในเวลาต่ อมา พ.ศ. 2407 จอห์ น นิวแลนส์ (John Alexander Reina Newland) ชาวอังกฤษ ได้ นาธาตุมาเรียงตามมวลอะตอม พบว่ า ธาตุท่ี 8 จะมีสมบัตคล้ ายธาตุที่ 1 (ไม่ รวม H กับแก๊ ส ิ เฉื่อย) ดังนี้
  • 90. Li Be B C N O F Na Mg Al Si P S Cl K Ca การจัดเรียงตามความคิดของนิวแลนด์ ใช้ ได้ ถงธาตุ Ca เท่ านั้น ึ
  • 91. พ.ศ. 2412 – 2413 ดิมิทรี อิวาโนวิช เมนเดเลเอฟ ชาว รัสเซีย และ ยูลอุส โลทาร์ ไมเออร์ ชาวเยอรมัน จาก ิ การศึกษาของทั้งสองคนพบว่ า ถ้ าเรียงธาตุตามลาดับมวล อะตอมจากน้ อยไปมาก จะพบว่ าธาตุมีสมบัตคล้ ายคลึง ิ กันเป็ นช่ วงๆเมนเดเลเอฟ จึงตั้งเป็ นกฎเรียกว่ า “กฎพิรีออ ดิก” ในช่ วงนั้นได้ มีการศึกษาธาตุทยงไม่ พบ ได้ แก่ ี่ ั เอคาโบรอน เป็ น สแคนเดียม (Sc) เอคาอะลูมิเนียม เป็ น แกลเลียม (Ga) เอคาซิลคอน ิ เป็ น เจอร์ เมเนียม(Ge)
  • 92. • การจัดเรียงธาตุของเมนเดเลเอฟ มีข้อบกพร่ องหลายประการ เช่ น ธาตุบางชนิด มีมวลอะตอมมากกว่ า แต่ อยู่หน้ าธาตุทมีมวล ี่ อะตอมน้ อย เมื่อค้ นพบก๊ าซเฉื่อยก็ไม่ ทราบว่ า จะจัดเรียงไว้ ตรงไหน แต่ กนับได้ ว่าตารางธาตุ ็ ในปัจจุบันมีรากฐานมาจากตารางธาตุของเมน เดเลเอฟ
  • 93. • พ.ศ. 2455 เฮนรี กวิน เจฟฟรีส์ โมสลีย์ นัก เคมีชาวอังกฤษ ได้ ค้นพบค่ าของเลขอะตอม และ พบว่ า เลขอะตอมมีความสั มพันธ์ กบสมบัติของ ั ธาตุมากกว่ ามวลอะตอม จึงได้ จัดเรียงธาตุตาม เลขอะตอมที่เพิมขึ้น ซึ่งสามารถแก้ ปัญหาของ ่ เมนเดเลเอฟได้
  • 95. ตารางธาตุในปัจจุบัน • ตารางธาตุในปัจจุบัน เรียงตาม เลขอะตอม โดย แบ่ งเป็ นหมู่หลัก (Main group) หรือหมู่ A กับ หมู่ B หรือ Transition โดยหมู่ A จะมี 8 หมู่ และ B มี 8 หมู่ ส่ วนคาบ (Period) จะแบ่ งเป็ น 7 คาบ • เลขอะตอมเกิน 83 จัดว่ าเป็ นธาตุกมมันตรังสี ั
  • 96. หมู่ I A (Alkaline Metals) • หมู่ I A มี Valence e- = 1 ได้ แก่ Li Na K Rb Cs Fr • เป็ นโลหะทีว่องไวทีสุด ต้ องเก็บไว้ ในนามันแร่ เช่ น ่ ่ ้ นามันก๊าด เพือปองกันการเกิดปฏิกริยากับอากาศ ้ ่ ้ ิ ความชื้น
  • 97. หมู่ II A (Alkaline earth) • หมู่ II A มี Valence e- = 2 ได้ แก่ Be Mg Ca Sr Ba Ra เก็บในนามัน ้ • เป็ นส่ วนประกอบของเปลือกโลกมีความว่องไวน้ อย กว่ าหมู่ I A
  • 98. หมู่ VII A (Halogen) • หมู่ VII A มี Valence e- = 7 ได้ แก่ F Cl Br I At gas liquid solid ในรู ปอิสระจะเป็ นพิษ อาจทาให้ ตายได้ หากอยู่ในรู ปไอออนจะมีประโยชน์ • Halogen = ทาให้ เกิดเกลือ (มีโลหะไปแทนทีจะได้ เกลือ) ่
  • 99. หมู่ VIII A (Inertgas ,Noble gas) • หมู่ VIII A มี Valence e- = 8 ได้ แก่ He Ne Ar Kr Xe Rn • He ใช้ บรรจุในบอลลูน บรรจุในถังแก๊ สของนักประดานา ้ โดยผสมกับ O • Ne ใช้ ในหลอดไฟ • Ar ผลิตรังสี เลเซอร์ ใช้ รักษาโรคมะเร็ง
  • 100. • ธาตุในหมู่ A เดียวกัน จะมีสมบัตทคล้ ายคลึงกัน หมู่ IA ิ ี่ ,IIA ,IIIA จะมีความเป็ นโลหะพอหมู่ IVA – VIIIA จะมี ความเป็ นอโลหะเพิมขึน ขณะเดียวกันในหมู่เดียวกันจะมี ่ ้ Valence e-เท่ ากัน และเท่ ากับลาดับทีของหมู่ ยกเว้ น He = ่ 2 แต่ อยู่หมู่ 8 • ความเป็ นโลหะในหมู่เดียวกันจะเพิมขึน เมือ เลขอะตอม ่ ้ ่ เพิมขึน แต่ ความเป็ นอโลหะจะลดลง เมื่อเลขอะตอมเพิม ่ ้ ่ •ความเป็ นโลหะ : การให้ e- ได้ ดี (ค่า IE1น้ อย) •ความเป็ นอโลหะ : การรับ e- ได้ ดี (ค่า EN สู ง)
  • 101. คาบของตารางธาตุ (Period ) • คาบในตารางธาตุ มี 7 คาบ – คาบที่ 1 มี 2 ธาตุ H , He – คาบที่ 2 มี 8 ธาตุ Li, Be , B, C , N, O, F, Ne – คาบที่ 3 มี 8 ธาตุ Na, Mg ,Al, Si, P, S, Cl, Ar – คาบที่ 4 มี 18 ธาตุ – คาบที่ 5 มี 18 ธาตุ – คาบที่ 6 มี 32 ธาตุ – คาบที่ 7
  • 102. • ธาตุทอยู่ในคาบเดียวกันจะมีระดับพลังงาน ี่ เท่ ากันและเท่ ากับเลขคาบกับจานวนระดับ พลังงาน ( 2 ระดับ = คาบที่ 2 ) • ในคาบเดียวกันจะมีสมบัตที่แตกต่ างกัน หรือ ิ แปรเปลียนไปตามหมู่ของธาตุ ่
  • 103. • สาหรับธาตุ 2 แถวล่ างมีเลขอะตอม ตั้งแต่ 58 – 71 คือ Ce  Lu เรียกกลุ่มธาตุ แลน ทาไนด์ และตั้งแต่ 90 – 103 คือ Th  Lr เรียกว่ า กลุ่มธาตุแอคทีไนด์ ธาตุท้ง 2 ั กลุ่มนีแยกจากหมู่ 3B ในคาบที่ 6 และ 7 ้ ตามลาดับ เรียกรวมๆ ว่ า กลุ่มธาตุ Inner Transition element
  • 104. • ธาตุกลุ่ม s ได้ แก่ ธาตุในหมู่ IA และ IIA • ธาตุกลุ่ม p ได้ แก่ ธาตุในหมู่ IIIA จนถึง VIIA และแก๊ สเฉื่อย • ธาตุกลุ่ม d ได้ แก่ ช่ วงของธาตุในหมู่ IIIBจนถึง IIB • ธาตุกลุ่ม f ได้ แก่ กลุ่มธาตุแลนทาไนด์ และแอคที ไนด์
  • 105. การจัดกลุ่มธาตุ s p d f ในตารางธาตุ H s p d f
  • 106. • นักวิทยาศาสตร์ ได้ ศึกษาทดลองค้ นพบธาตุ เพิมขึนเป็ นจานวนมาก บางครั้งธาตุชนิด ่ ้ เดียวกันถูกค้ นพบโดยนักวิทยาศาสตร์ หลายคน จึงมีชื่อเรียกที่แตกต่ างกัน • องค์ การนานาชาติทางเคมี (International Union of Pure and Applide Chemistry IUPAC) ได้ ตกลงกันให้ เรี ยกชื่ อที่ มีเลขอะตอมตั้งแต่ 100 ขึนไป ตามเลขเป็ นภาษา ้ ละติน และลงท้ ายเสี ยงของธาตุเป็ น ium และ ให้ เขียนสั ญลักษณ์ ตามตัวอักษรตัวแรกของ จานวนนับแต่ ละตัวมารวมกัน
  • 107. • จานวนนับภาษาละติน คือ 0 1 2 3 4 nil un bi tri quad นิล อูน ไบ ไตร ควอด 5 6 7 8 9 pent hex sept oct enn เพนต์ เฮกซ์ เซปต์ ออกต์ เอนน์ กลุ่มธาตุทมีเลขอะตอมตั้งแต่ 92 ขึนไป เรียกว่ า Transuranium ี่ ้ กลุ่มธาตุทมีเลขอะตอมตั้งแต่ 100 ขึนไป เรียกธาตุกลุ่มนีว่า Transfermium ี่ ้ ้
  • 108. ตัวอย่ างการเรียกชื่อธาตุตามระบบ IUPAC • ธาตุที่ 101 ใช้ ชื่อว่า Unnilunium ใช้ สัญลักษณ์ Unu • ธาตุที่ 102 ใช้ ชื่อว่า Unnilbium ใช้ สัญลักษณ์ Unb • ธาตุที่ 105 ใช้ ชื่อว่า Unnilpentium ใช้ สัญลักษณ์ Unp • ธาตุที่ 107 ใช้ ชื่อว่า Unnilseptium ใช้ สัญลักษณ์ Uns • จงเรียกชื่อธาตุที่ 104 108 112 114 ตามระบบ IUPAC
  • 109. ในตารางธาตุปัจจุบันจะมีสมบัตทเี่ ปลียนแปลง ิ ่ ตามหมู่และคาบ ดังหัวข้ อดังต่ อไปนี้ 1. ขนาดอะตอม 2. รัศมีไอออน 3. พลังงานไอออไนเซชัน 4. ค่ าอิเล็กโทรเนกาติวตี ิ 5. ค่ าสั มพรรคภาพอิเล็กตรอน 6. จุดหลอมเหลวและจุดเดือด 7. เลขออกซิเดชัน
  • 110. ขนาดอะตอม • ขนาดอะตอม (รัศมีอะตอม) สามารถวัดขนาดอะตอม ของธาตุได้ ดงนี้ ั • รัศมีโคเวเลนต์ คือ ระยะครึ่งหนึ่งของความยาวพันธะ โคเวเลนต์ ระหว่ างอะตอมชนิดเดียวกัน เช่ น ความยาว พันธะของ Cl – Cl = 198 pm รัศมีอะตอมของ Cl = 198 2 = 99 pm
  • 111. • รัศมีแวนเดอร์ วาลส์ คือ ระยะครึ่งหนึ่งของ ระยะระหว่ างนิวเคลียสของอะตอมทีอยู่ใกล้ทสุด ่ ี่ เช่ น รัศมีแวนเดอร์ วาลส์ (r) ซึ่งหาได้ จาก อะตอมของแก๊ สเฉื่อย หรือหาได้ จากโมเลกุลโคเว เลนต์ 2 โมเลกุลทีสัมผัสกัน ่
  • 112. • รัศมีโลหะ คือ ครึ่งหนึ่งของระยะระหว่าง นิวเคลียสของอะตอมโลหะทีอยู่ใกล้ กนมากทีสุด ่ ั ่ เช่ น ธาตุโซเดียมมีระยะระหว่ างนิวเคลียสของ 372 อะตอม 2 อะตอม ทีอยู่ใกล้ กนทีสุดเท่ ากับ 372 2 ่ ั ่ pm รัศมีโลหะโซเดียมเท่ ากับ = 186 pm Na Na 186
  • 113. รัศมีอะตอม (พิโกเมตร) ของธาตุใน ตารางธาตุ หมายเหตุ ธาตุทเี่ ป็ นโลหะ แสดงด้ วย รัศมีโลหะ ธาตุทเี่ ป็ นอโลหะ แสดงด้ วย รัศมีโคเวเลนต์
  • 114. • ธาตุในหมู่เดียวกัน จะมีขนาดอะตอมใหญ่ ขน ึ้ จากบนลงล่ างตามเลขอะตอมที่เพิมขึน (มีการ ่ ้ เพิมของระดับพลังงาน) ่ • ธาตุในคาบเดียวกัน จะมีขนาดอะตอมเล็กลง จากซ้ ายไปขวา ในขณะที่เลขอะตอมเพิมขึน ่ ้ จนถึงหมู่ VIIA แต่ พอหมู่ VIIIA ขนาด อะตอมจะโตขึน (หมู่ VIIIA มีการจัดเรียง e- ้ ครบแปด (Octate’s rule))
  • 115. รัศมีไอออน • รัศมีไอออน จะพิจารณาจากระยะระหว่ างนิวเคลียส ของไอออนคู่หนึ่งๆ ทีมีแรงยึดเหนี่ยวซึ่งกันและกัน ่ ในโครงผลึก • ตัวอย่ างรัศมีไอออนของ Mg +2 และ O-2 ใน สารประกอบ MgO
  • 116. • เมื่อโลหะทาปฏิกริยากับอโลหะ ิ • อะตอมของโลหะ จะเสี ยเวเลนซ์ อเิ ล็กตรอน กลายเป็ นไอออนบวก จานวนอิเล็กตรอนใน อะตอมจึงเล็กลง ทาให้ แรงผลักระหว่ างอะตอม ลดลงด้ วย • อะตอมของอโลหะ จะรับอิเล็กตรอนเพิมเข้ ามา ่ และเกิดเป็ นไอออนลบ อะตอมมีการเพิมขึนของ ่ ้ อิเล็กตรอน จึงทาให้ แรงผลักระหว่ างอิเล็กตรอนที่ เคลือนที่รอบนิวเคลียสมี ค่ าสู งขึน ่ ้
  • 117. • ขอบเขตของกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนจะขยายไป จากเดิม ไอออนลบจึงมีขนาดใหญ่ กว่ าอะตอม เดิม • ตัวอย่ างขนาดอะตอมกับขนาดไอออนของธาตุ
  • 118. พลังงานไอออไนเซชัน (Ionization energy (IE)) • พลังงานไอออไนเซชัน คือ พลังงานทีอะตอมดูด ่ เข้ าไป แล้วขจัด e - ออกมาในสภาวะทีเป็ นแก๊ ส ่ หรือพลังงานทีให้ อะตอมแล้วทาให้ อะตอมขจัด e- ่ ออกมาในสภาวะแก๊ส เช่ น Li(g) Li+(g) + e - IE1 Li+(g) Li2+(g) + e- IE2 Li2+(g) Li3+(g) + e- IE3    IE1 << IE2 < IE3
  • 119. หลักการพิจารณา IE มี 2 หลักเกณฑ์ 1. ขนาดอะตอมจะแปรผกผันกับค่ า IE (ขนาดยิงใหญ่ ค่ ายิงน้ อย) ่ ่ 2. ประจุ + ในนิวเคลียสจะแปรผันตาม IE (ประจุ + มาก IE มาก) ข้ อ 1 มีผลต่ อค่ า IE มากกว่ าข้ อ 2
  • 120. • ตามหมู่ ค่ า IE จะตาลง ถ้ าเลขอะตอมเพิมขึน ่ ่ ้ (บนลงล่ าง) ทั้งนีการเพิมของขนาดมีผลมากกว่ า ้ ่ การเพิมของประจุ + ่ • ตามคาบ ค่ า IE จะสู งขึน ถ้ าเลขอะตอม ้ เพิมขึน (ซ้ ายไปขวา) ่ ้
  • 123. ค่ าอิเล็กโทรเนกาติวตี ิ (Electronegativity (EN)) • ค่ าอิเล็กโทรเนกาติวตี เป็ นแรงหรืออานาจที่ ิ อะตอมส่ งไปถึง e- ของตนเองหรืออะตอมอืนให้ ่ มาเกิดโมเลกุลขึนหรือสารประกอบ ้ • Linus Pauling  พิจารณาข้ อมูลในตารางธาตุ เกียวกับค่ าอิเล็กโทรเนกาติวตี ดังนี้ ่ ิ
  • 124. • ธาตุในหมู่เดียวกัน ค่ าอิเล็กโทรเนกาติวตี ลดลง ิ เมื่อเลขอะตอมเพิมขึน ่ ้ • ธาตุในคาบเดียวกัน ค่ าอิเล็กโทรเนกาติวตี เพิมขึน ิ ่ ้ เมื่อเลขอะตอมเพิมขึน ่ ้  หลักการพิจารณา ใช้ หลักการเช่ นเดียวกับค่า IE และในหมู่ธาตุและคาบของธาตุในตารางจะมีลกษณะ ั การเปลียนแปลงเช่ นเดียวกับ IE ่
  • 125. เรียงลาดับ ค่ า EN 5 6 7 N O F P S Cl Br
  • 127. สั มพรรคภาพอิเล็กตรอน (Electro affinity) ย่ อ EA • สั มพรรคภาพอิเล็กตรอน เป็ นความสามารถ ของธาตุในสภาวะก๊ าซทีจะรับ e ่ - โดยค่ า (ติด ลบ) x(g) + e- x-(g)
  • 129. จุดหลอมเหลวและจุดเดือด • จุดหลอมเหลวและจุดเดือดเป็ นสมบัตเิ ฉพาะของ ธาตุขนอยู่กบแรงยึดเหนี่ยวระหว่ างโมเลกุลเป็ น ึ้ ั พันธะชนิดใด เช่ น พันธะโลหะ พันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์ พันธะโครงผลึกร่ างตาข่ าย ซึ่ง พอสรุปจุดหลอมเหลวตามชนิดพันธะจากสู งไป หาต่าดังนี้
  • 130. โครงผลึกร่ างตาข่ าย พันธะโลหะ พันธะไอออนิก พันธะโคเวเลนต์ พันธะไฮโดรเจน พันธะโคเวเลนต์ มีข้ัว พันธะโคเวเลนต์ ไม่ มีข้ัว
  • 131. • ธาตุในหมู่ 1A ,2A และ 3A เป็ นโลหะจุด หลอมเหลวและจุดเดือดมีแนวโน้ มสู งขึนจากซ้ าย ้ ไปขวาในคาบเดียวกัน เพราะมีพนธะโลหะแข็งแรง ั ขึน เนื่องจากขนาดอะตอมเล็กลง และมีจานวนเว ้ เลนต์ อเิ ล็กตรอนมากขึน ้ • ธาตุหมู่ 4A บางธาตุมีโครงสร้ างเป็ นโครงผลึกร่ าง ตาข่ าย จึงทาให้ จุดหลอมเหลวและจุดเดือดมีค่า สู งขึน ้
  • 132. • ธาตุในหมู่ 5A ,6A , 7A และ 8A ในคาบเดียวกันพบว่า แนวโน้ มของจุดหลอมเหลวและจุดเดือดตาลง เพราะ ่ ธาตุพวกนีมแรงยึดเหนี่ยวระหว่ างโมเลกุลเป็ นแรง ้ ี แวนเดอร์ วาลส์ เนื่องจากมวลโมเลกุลใกล้ เคียงกัน แต่ ขนาดโมเลกุลเล็กลง เช่ น N2 O2 F2 มวลโมเลกุลเป็ น 28,32,38 ซึ่งใกล้เคียงกันและเนื่องจากแรงแวนเดอร์ วาลส์ ลดลงนี่เอง จึงทาให้ จุดหลอมเหลวและจุดเดือด ลดลง จากซ้ ายไปขวาในคาบเดียวกัน • ธาตุแทรนซิชัน เป็ นโลหะทีมขนาดค่ อนข้ างเล็ก จึง ่ ี สร้ างพันธะโลหะได้ แข็งแรง จุดหลอมเหลวและจุด เดือดมาก
  • 135. สรุปแนวโน้ มสมบัตพริออดิก ิ ิ ของธาตุ Atomic Radius Electron affinity Ionization energy Electronegativity Atomic Radius Ionization energy Electronegativity Electron affinity
  • 136. เลขออกซิเดชัน (Oxidation Number) • เลขออกซิเดชัน (Oxidation Number) คือ ตัวเลขแสดงค่ าประจุไฟฟ้ า หรือประจุไฟฟ้ า สมมติของไอออนหรืออะตอมของธาตุพจารณา ิ จากสาร 2 ประเด็น 1. สารประกอบธาตุคู่ 2. สารประกอบมากกว่ า 2 ธาตุ
  • 137. 1. สารประกอบธาตุคู่ – สารไอออนิกจะมีประจุไฟฟ้ าบวกของ โลหะและอโลหะมีประจุไฟฟ้ าลบเท่ ากับ อิเล็กตรอนที่ให้ และทีรับ ่ – สารโคเวเลนต์ กาหนดให้ อโลหะที่มค่าอิเล็ก ี โทรเนกาติวตสูงเป็ นลบ ส่ วนอโลหะทีมี ิ ี ่ ค่ าอิเล็กโตรเนกาติวตีต่ามีค่าเป็ นบวก ส่ วน ิ ค่ าตัวเลขจะเท่ ากับจานวนอิเล็กตรอนที่ใช้ ร่ วมกัน
  • 138. 2. สารประกอบมากกว่ า 2 ธาตุ มีหลักเกณฑ์ การพิจารณาต่ างๆ ดังนี้ 1) ธาตุอสระทุกธาตุไม่ ว่าเป็ นอะตอมหรือโมเลกุล ิ จะมี เลขออกซิเดชันเป็ นศูนย์ เช่ น Na ,C ,Mg ,Pb ,Cl , O2 , S8 , O3 2) ธาตุหมู่ 1A (Li , Na , K , Rb , Cs) ใน สารประกอบใดๆ มีค่าเลขออกซิเดชันเป็ นบวก หนึ่ง (+1)
  • 139. 3) ธาตุหมู่ 2A (Mg , Ca , Sr , Ba) ใน สารประกอบใดๆมีค่าเลขออกซิเดชันเป็ นบวก สอง(+2) 4) ธาตุออกซิเจน (O) โดยทั่วไปในสารประกอบ จะมี เลขออกซิเดชันเป็ น -2 ยกเว้ น ใน 1 2 สารประกอบเปอร์ ออกไซด์ มีค่า -1 เช่ น2 H2O2 , 1 Na2O2 ,BaO2 และในซุปเปอร์ ออกไซด์ จะมีค่า - (KO2) และมีค่าเป็ น +2 เมื่อเกิดกับธาตุ F เท่ านั้น เช่ น OF2
  • 140. 5) ธาตุไฮโดรเจน (H) โดยทัวไปในสารประกอบจะ ่ มี เลขออกซิเดชันเป็ น +1 ยกเว้ น ในสารประกอบไฮ ไดรด์ ของโลหะจะมีค่าเป็ น -1 เช่ น NaH , KH , CaH2 6) ไอออนของธาตุหรือสารประกอบจะมีเลข ออกซิเดชันเท่ ากับประจุไฟฟ้ าทีกาหนดไว้ เช่ น ่ NH4+ = +1 PH4+ = +1 OH- = -1 CN- = -1 SO42- = -2 HCO3-= -1 ผลรวมของประจุไฟฟ้ าบวกและลบจะมีค่าเป็ นศูนย์
  • 141. 7) ในกรณีสารประกอบเชิงซ้ อนที่มีผลึกของ H2O, NH3 , CO เป็ นองค์ ประกอบให้ ถือว่ ามี เลขออกซิเดชันเป็ นศูนย์ เช่ น CuSO4 . 5H2O 8) ในสารประกอบใดๆ ผลรวมของประจุไฟฟ้ า บวกและลบจะมีค่าเป็ นศูนย์ เสมอ