SlideShare a Scribd company logo
ประวัติศาสตร์ของ Ebola 
เริ่มพบครั้งแรกปี ค.ศ.1976 ที่ประเทศคองโก ใกล้แม่น้้า Ebola 
เชื้อไวรัส : Genus Ebolavirus/Family Filoviridae 
แหล่งโรค :สัตว์ป่า ลิง ค้างคาว เก้ง กวาง ผู้ป่วย 
ต้องการ Biosafty level 4 Lab containment (ไทยมีแค่ Level 3) 
จากสัตว์สู่คน ยังไม่แน่ชัด อาจเป็นค้างคาว ลิง กวาง (ในป่า)
Ebola ในปี 2557 
จากคนสู่คน ชัดเจนมาก สามารถติดต่อ โดยการสัมผัส 
-เลือด น้้าเหลือง น้้านม 
-น้้าลาย 
-ปัสสาวะ 
-อสุจิ(นาน 2 เดือน) 
-สิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วย 
ขณะนี้ระบาดใน 4 ประเทศ เซียร์ราลีโอน ไลบีเรีย กิเนีย ไนจีเรีย(เมืองลากอส)
ผู้ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ 
ผู้ที่สัมผัสผู้ป่วยภายใน 21 วัน 
ผู้ที่เดินทางมาจากแดนที่มีการระบาดภายใน 21 วัน 
ผู้ที่สัมผัสสัตว์ป่าที่ติดเชื้อ เช่นการกินอาหาร เปิบพิสดาร 
การจัดการศพหรือพิธีศพ 
ระยะฟักตัว 2-21 วัน ส่วนใหญ่ 4-20 วัน 
•เชื้อจะแพร่ให้คนอื่นได้ตอนป่วย ยิ่งป่วยหนัก ยิ่งแพร่ เชื้อมาก 
•ผู้ที่มีความเสี่ยงสูงสุด: ผู้ดูแลผู้ป่วยใกล้ชิด
โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา 
•โอกาสการแพร่เชื้อจะต่้าในช่วงแรกที่ผู้ป่วยเริ่มมีอาการ ดังนั้น ตรวจจับผู้ป่วยให้ได้ตั้งแต่อาการน้อยๆ จึงมี ความส้าคัญสูง 
•อาการสาคัญคือมีไข้ ปวดศรีษะปวดกล้ามเนื้อ ปวดท้อง อาเจียน ถ่ายเหลว เลือดออก(40-50%) 
•อัตราป่วยตายของการระบาดด้วยเชื้อไวรัสอีโบลาสายพันธุ์ Zaire อยู่ที่ประมาณร้อยละ 50 –90 
•การรักษาเป็นการรักษาตามอาการยังไม่ยารักษาเฉพาะ และ ยังไม่มีวัคซีน
Pathogenesis of Ebola in Human 
Ebola virus will infect many cell type 
-monocytes, macrophages,dentriticfibroblast 
-endotheialcell,epithelialcell 
-hepatocytes, adreno-cortical cell 
Cause wide rang of clinical manifestation eg, 
Vascular leakage,shock,coagulopathy,hepatitisetc.
Infection Control of Ebola 
ผู้ป่วย:อยู่ห้องเดี่ยว หรือ AiiR 
บุคลากร:ต้องสวม Gloves,Gown(fluid resistant) 
Shoe cover,Eyeprotection,Surgicalmask 
สิ่งแวดล้อม: 
-ใช้ 10% โซเดียมไฮเปอร์คลอไรด์,แอมโมเนียมหรือฟีนอล 
-คนท้าความสะอาดต้องมี PPE ครบ shoeและleg cover 
(CDC2014)
ความเสี่ยงของโรค Ebola ในประเทศไทย 
ขณะนี้ WHO ยังไม่ห้ามการเดินทางไปประเทศที่มีการระบาด 
คนไทยที่จะไป 4 ประเทศ ควรหลีกเลี่ยงสัมผัสสัตว์ป่า 
คนไทยควรหลีกเลี่ยงสัมผัสผู้ป่วยที่สงสัย Ebola 
หากป่วยเป็นไข้ อ่อนเพลีย ฯลฯ ภายใน3 สัปดาห์ พบแพทย์ ด่วน 
คนไนจีเรียมาไทยประมาณ 300 คน/เดือน 
คน 3ประเทศที่มีการระบาดมาไทย 30-50 คน/สัปดาห์ 
Lab.ทางกรมวิทย์ก้าลังเตรียมการเพื่อส่ง specimen ไป US- CDC 
(แต่หลายสายการบินไม่รับ)
Case Detection of Ebola in Thailand 
ผู้โดยสารจากประเทศที่มีการระบาด มี 2 เที่ยวบิน/วัน 
ชาวอัฟริกัน 4 ประเทศ ที่มีการระบาด ประมาณ 5-10คน/วัน 
คนไทยไปเทียว เยี่ยมครอบครัว4 ประเทศดังกล่าว –น้อยมาก 
ผู้ป่วยที่น่าสงสัยเป็น Ebola -ชาวอัฟริกา (ถามประเทศที่มา) 
-คนไทยที่ไประเทศทั้ง 4 
-ออกจากประเทศนั้นมานานหรือไม่ 
(ถ้าเกิน 21 วัน ปลอดภัย) 
ผู้สัมผัส :ต้องหา case ก่อน 
โดยสรุป ความเสี่ยงของ Ebola ในประเทศไทย ยังค่อนข้างต่้า
ข้อเท็จจริง7 อย่างของโรค Ebola 
ตัวไวรัสEbola ไม่ค่อยเปลี่ยนแปลง 
การแพร่กระจายโดยการสัมผัสใกล้ชิด ไม่แพร่กระจาย airbone 
ผู้ป่วย Ebola จะไม่แพร่กระจายจนกว่ามีอาการ 
ผู้ป่วยสามารถหายได้ อัตราตาย 60-90% 
ขณะนี้มีการระบาดในประเทศที่การสาธารณสุขไม่ค่อยดี 
Ebola สามารถแพร่กระจายไปยังดินแดนอื่นๆได้ 
ทุกประเทศมีความเสี่ยงทั้งสิ้น อาจติดจากสัตย์สู่คน คนสู่ คน
แนวทางปฏิบัติเพื่อการเตรียมพร้อมรับ Ebolaรพ.มะเร็งอุดรธานี
อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล(PPE)
อุปกรณ์ป้องกันส่วนบุคคล(PPE)
บทสรุปสำหรับอีโบลำก็คือเรำรู้ว่ำจะหยุดมันอย่ำงไร กำรสำธำรณสุขแบบดั้งเดิม ค้นหำผู้ป่วย แยกผู้ป่วย ดูแลรักษำผู้ป่วย ติดตำมผู้สัมผัส ให้ควำมรู้ประชำชน และ ป้องกันกำรติดเชื้อในโรงพยำบำลอย่ำงเคร่งครัด ทำสิ่งเหล่ำนี้อย่ำงพิถีพิถันละเอียดลออ แล้วอีโบลำจะหมดไป 
นพ. โธมัส ฟรีเด็น ผอ.ศูนย์ป้องกันควบคุมโรคแห่งชำติ สหรัฐอเมริกำ
Distribution of EVD cases in Guinea, Sierra Leone, Liberia by week of reporting, December 2013 -1 August 2014
จำนวนผู้ป่วยที่รำยงำนโดยองค์กำรอนำมัยโลกภูมิภำคอำฟริกำ 
Ebola virus disease, West Africa –update 13 August 2014
Distribution of EVD cases in Guinea, Sierra Leone, Liberia and Nigeria 
by week of reporting, December 2013 – 6 August 2014 
source: www.ecdc.europa.eu/ 
source: http://www.cdc.gov/ 
Guinea 
Sierra Leone 
Liberia 
Nigeria
สถำนกำรณ์กำรระบำดของโรคติดเชื้อไวรัสEbolaในประเทศไนจีเรีย 
Patrick Sawyer 
บุคลำกรทำงกำรแพทย์ (44 คน) 
เจ้ำหน้ำที่สนำมบิน (15 คน) 
ป่วย 12คน 
หนี 1 คน (พยำบำล) 
กักกันได้ 11 คน 
มีผู้สัมผัส 118 คน 
มีผู้สัมผัส 21 คน 
หนีไปเมือง Enugu
ประเทศฮ่องกง
สถำนกำรณ์กำรป่วยและกำรดำเนินกำรในต่ำงประเทศในสัปดำห์ที่ผ่ำนมำ(1) 
องค์กำรอนำมัยโลก 
•ประกาศให้การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาในอาฟริกาตะวันตกเป็นภาวะ ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ (PHEIC) 
–ประเทศที่มีกำรระบำด: ออกคาแนะนาให้มีการจากัดการเดินทางของผู้ป่วยอีโบ ลาหรือผู้สัมผัส การคัดกรองผู้โดยสารขาออก จัดระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ในระดับสูงสุด เพิ่มความพร้อมของอุปกรณ์ในการดูแลรักษา การวินิจฉัย และลด กิจกรรมการรวมตัวของคนหมู่มาก 
–ประเทศที่มีควำมเสี่ยงสูงและประเทศที่มีพรมแดนติดกับประเทศที่มีกำร ระบำด:ให้มีการเตรียมการเฝ้าระวัง การจัดระบบตรวจทางห้องปฏิบัติการ การ ควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อและการสอบสวน ควบคุมโรค 
–ประเทศอื่นๆ: ไม่มีการห้ามเดินทางหรือการค้า แต่ให้เตรียมความพร้อมในด้าน ต่างๆที่เกี่ยวข้อง
สถำนกำรณ์กำรป่วยและกำรดำเนินกำรในต่ำงประเทศในสัปดำห์ที่ผ่ำนมำ(2) 
องค์กำรอนำมัยโลก(ต่อ) 
•ในวันจันทร์ที่ 11 สิงหาคม 2557 คณะผู้เชี่ยวชาญด้านจริยธรรมการวิจัย ของ องค์การอนามัยโลก มีความเห็นว่า “ในสถานการณ์ที่มีการระบาดขณะนี้ การใช้ยา หรือวิธีการรักษาที่ยังไม่ได้รับการพิสูจน์ประสิทธิผลหรือความปลอดภัยเป็นเรื่องที่ เป็นไปตามหลักจริยธรรม หากนามาใช้ภายใต้หลักการที่เหมาะสม” 
•Options: 
–Zmapp–MappBiopharmaceutical, Inc. 
–Favipiravir-Fujifilm Holdings Corp. 
–TKM-Ebola -TekmiraPharmaceuticals 
–AVI-7537 –SareptaTherapeutics 
–BCX4430 -BiocrystPharmaceuticals 
–ST-383 -SigaTechnologies.
มำตรกำรเพิ่มเติมขององค์กำรอนำมัยโลก 
WHO ประกาศให้ประเทศเคนย่าเป็นประเทศที่เสี่ยงสูง 
ประเทศเคนย่า อยู่ในแอฟริกา ตะวันออก แต่เป็นศูนย์กลางของการ บินโดยมีเที่ยวบิน 76เที่ยวต่อ สัปดาห์มาลงที่ประเทศเคนย่า
ประเทศ Liberia 
–Dr. Kent Brantlyซึ่งเป็นหัวหน้าหน่วยแพทย์ของ Samaritan's Purse care center และ Nancy Writebolได้รับยาทดลองและพบว่ามีอาการดีขึ้น 
–Miguel Pajaresอายุ75 ปีทางานในองค์กรเอกชนในไลบีเรียถูกส่งกลับสเปน พร้อมกับJuliana Bohi(ไม่ติดเชื้อ) 
–ประธานาธิบดีไลบีเรียให้ข้อมูลว่ามีแพทย์ 3 คน และบุคลากรทางการแพทย์ เสียชีวิตแล้ว 32 ราย (10 สค.) และรัฐบาลประกาศภาวะฉุกเฉินทาง สาธารณสุข มีทหารช่วยจากัดการเดินทางเข้าออกจากพื้นที่ระบาด และอนุมัติ งบประมาณ 18 ล้านดอลล่าร์(ปรับปรุงสถานพยาบาล ประกัน รถ อาหาร ...) 
–95% ของแพทย์อาสาสมัครถอนตัวออกจากประเทศแล้ว เหลือแพทย์ใน ประเทศเพียง 50 คน 
สถำนกำรณ์กำรป่วยและกำรดำเนินกำรในต่ำงประเทศในสัปดำห์ที่ผ่ำนมำ(3)
สถำนกำรณ์กำรป่วยและกำรดำเนินกำรในต่ำงประเทศในสัปดำห์ที่ผ่ำนมำ(4) 
US CDC 
•ให้คาแนะนาผู้เดินทางเป็นระดับสูงสุด (ระดับ 3) ในทั้ง 3ประเทศ คือให้หลีกเลี่ยง การเดินทางที่ไม่จาเป็น ส่วนไนจีเรียให้เป็นระดับสองคือเดินทางด้วยความ ระมัดระวัง 
•ในสัปดาห์ที่ผ่านมาCDCเพิ่มระดับ EOC response level เป็นระดับ 1มีการระดม บุคลากรเพื่อมาร่วมการดาเนินการเรื่องอีโบลา มีการส่งเจ้าหน้าที่เข้าไปช่วยใน ประเทศที่กาลังระบาด (กินี 14, ไลบีเรีย 18, ซิเอร่า เลโอน 16, ไนจีเรีย 7) –Stop Ebola at its source 
–จัดตั้ง Emergency Operation Centers และระบบข้อมูล 
–ช่วยเรื่อง Exit Screening 
–เตรียมความพร้อมรับมือภายในประเทศ
สถำนกำรณ์กำรป่วยและกำรดำเนินกำรในต่ำงประเทศในสัปดำห์ที่ผ่ำนมำ(5) 
ห้องผู้ป่วย: ให้ผู้ป่วยพักในห้องแยก มีห้องน้าในตัว จากัดและบันทึกผู้เข้าห้องผู้ป่วย อุปกรณ์ป้องกัน :เจ้าหน้าที่ควรสวมใส่ถุงมือ กาวกันน้า พลาสติกคลุมรองเท้า แว่น หรือพลาสติกป้องกันใบหน้า และหน้ากากป้องกันโรค และอาจพิจารณาสวมใส่ อุปกรณ์อื่นๆ ตามความเหมาะสมกับสถานการณ์ 
กำรทำหัตถกำรที่ก่อให้เกิดละอองฝอย: 
ให้หลีกเลี่ยงหัตถการที่ก่อให้เกิดละอองฝอย 
หากจาเป็นให้ดาเนินการในห้องแยก 
การติดเชื้อทางอากาศ และใสหน้ากากป้องกัน 
ที่เหมาะสม (N95 หรือสูงกว่า) 
กำรทำควำมสะอำดห้องและสิ่งแวดล้อม:
สถำนกำรณ์กำรป่วยและกำรดำเนินกำรในต่ำงประเทศในสัปดำห์ที่ผ่ำนมำ(6) 
มาตรการคัดกรอง ตรวจสุขภาพ และติดตามนักเดินทาง 
◦Mandatory self-reporting 
◦Thermoscan ซักประวัติ และวัดอุณหภูมิ 
◦Health beware card 
◦การติดตามสอบถามอาการผู้เดินทาง 
มาตรการตั้งรับ อาศัยการวินิจฉัยและแยกผู้ป่วยให้ได้โดยเร็ว 
◦Early detection 
◦Infection Control
มำตรกำรควบคุมโรคของไทย (1) 
กำรคัดกรองผู้เดินทำงจำกประเทศที่มีกำรระบำดที่สนำมบิน 
กำรให้คำแนะนำกับผู้เดินทำง 
กำรติดตำมสอบถำมอำกำรผู้เดินทำงเป็นเวลำ 21วัน นับจำกวันที่ เดินทำงออกจำกประเทศที่มีกำรระบำด 
กำรเสริมสร้ำงควำมเข้มแข็งให้กับระบบป้องกันโรคติดเชื้อใน โรงพยำบำล รวมถึงกำรเตรียมอุปกรณ์ป้องกันสำหรับเจ้ำหน้ำที่ 
กำรจัดระบบให้มีกำรตรวจจับผู้ป่วยได้อย่ำงรวดเร็วที่โรงพยำบำล และลดจำนวนผู้สัมผัส 
กำรสอบสวนควบคุมผู้สัมผัส
มำตรกำรทำงด้ำนกำรเฝ้ำระวังโรค 
หากพบผู้ป่วยที่มีอาการไข้ 38 องศาเซลเซียสขึ้นไป ร่วมกับมีประวัติ เดินทางกลับมาจากประเทศที่พบผู้ป่วยในช่วง 21 วันก่อนเริ่มป่วย โดย ให้แจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อสอบสวนและเก็บตัวอย่างส่งตรวจทาง ห้องปฏิบัติการทันที 
ขณะนี้ยังไม่พบผู้ป่วยเข้าข่ายเฝ้าระวัง 
โรคไข้เลือดออกอีโบลา
มำตรกำรควบคุมโรคของไทย (2) 
กำรจัดระบบเฝ้ำระวัง 
กรมควบคุมโรคดาเนินการติดตามสถานการณ์ร่วมกับองค์การอนามัย โลก ประเมินความเสี่ยงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่เริ่มมีการระบาด 
ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ดาเนินการคัดกรองผู้ที่เดินทางมา จากประเทศที่พบโรค โดยการซักประวัติสุขภาพ วัดอุณหภูมิร่างกาย ตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน -13สิงหาคม 2557 จานวน 447ราย 
◦ทั้งหมดไม่มีอาการป่วย 
ดาเนินการติดตามผู้เดินทางจากประเทศที่มีการระบาด ขณะนี้ยังมีผู้ เดินทางอยู่ในช่วงเฝ้าระวัง 21 วัน จานวน 79คน
มำตรกำรควบคุมโรคของไทย (3) 
กระทรวงการต่างประเทศ ได้มีคาเตือนประชาชนไทยให้หลีกเลี่ยงการเดิน ทางเข้าไปยังประเทศที่เกิดโรค หากจาเป็นต้องเดินทางไปให้ลงทะเบียนการ เดินทางตามมาตรการของกระทรวงการต่างประเทศ 
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เฝ้าระวังสัตว์ที่มาจากอาฟริกา ไม่ พบมีการนาสัตว์เข้ามายังประเทศไทย 
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ชะลอการนาเข้าสินค้าตามกฎหมายว่าด้วยโรค ระบาดสัตว์จากประเทศที่มีรายงานการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา และมี การควบคุมการนาเข้าทั้งทาง ท่าอากาศยาน ท่าเรือ และชายแดน 
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ให้ความรู้เรื่องอีโบลา แก่ อสม. เพื่อสื่อสารกับ ประชาชน สื่อสาร
มำตรกำรควบคุมโรคของไทย (4) 
•กำรดูแลรักษำและป้องกันกำรติดเชื้อในโรงพยำบำล 
–สถานพยาบาลเตรียมห้องแยกผู้ป่วยในทุกจังหวัด โดยเฉพาะ โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป และให้ปฏิบัติตามหลักการป้องกัน การติดเชื้อในโรงพยาบาลเหมือนผู้ป่วยโรคติดต่ออันตรายสูง เช่น โรค ซาร์ส อย่างเคร่งครัด 
–การรักษาผู้ป่วยตามแนวทางการวินิจฉัย ดูแลรักษา และควบคุม ป้องกันการติดเชื้อที่กรมการแพทย์กาหนด และให้คาปรึกษาแก่แพทย์ พยาบาลในการรักษาตลอด 24ชั่วโมง 
–สถาบันบาราศนราดูรได้จัดทาคาแนะนาการป้องกันการแพร่กระจาย เชื้อไวรัสอีโบลา การรับและส่งต่อผู้ป่วยโรคติดต่อร้ายแรง สาหรับ บุคลากรและเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ที่เกี่ยวข้อง
มำตรกำรควบคุมโรคของไทย (5) 
•กำรตรวจทำงห้องปฏิบัติกำร 
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ร่วมกับหน่วยงานทั่วประเทศกาลังพิจารณา แนวทางการส่งวินิจฉัยให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล 
•กำรบริหำรจัดกำร 
–กรมควบคุมโรคเปิดศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทุกวัน 
–กระทรวงสาธารณสุขเปิดศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินบูรณาการ การทางานของทุกหน่วยงานและสั่งการไปยังหน่วยปฏิบัติทั่วประเทศ
สรุปและข้อเสนอ 
•สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาในประเทศแถบอาฟ ริกาตะวันตกขณะนี้อยู่ในสถานการณ์ที่ไม่สำมำรถควบคุมกำรระบำด ได้ 
•คำดว่ำจะระบำดต่อไปอีกไม่น้อยกว่ำ 3-6 เดือน 
•มาตรการที่ดาเนินการในประเทศไทยเป็นไปตามคาแนะนาขององค์การ อนามัยโลกตามประกาศภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ (PHEIC) และจะมีการติดตามประเมินปรับมาตรการตามสถานการณ์ เป็นระยะ 
•การประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา เป็นโรคติดต่ออันตราย เพื่อให้มี การดาเนินมาตรการได้อย่างเข้มข้นเพิ่มขึ้น
สรุปและข้อเสนอ 
•ข้อเสนอ 
สนับสนุนการดาเนินการควบคุมโรคในประเทศแถบอาฟริกาตะวันตก 
เผยแพร่คาแนะนาผู้เดินทางไปต่างประเทศให้หลีกเลี่ยงการเดินทาง ไปยังประเทศที่มีการระบาด 
ควรมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้กับประชาชนและเจ้าหน้าที่ใน เว็บไซต์ทั้งในระดับกรม และกระทรวงสาธารณสุข 
เตรียมความพร้อมด้านบุคลากร 
เตรียมความพร้อมด้านอุปกรณ์ เครื่องไม้เครื่องมือ

More Related Content

What's hot

Sex education
Sex education Sex education
Sex education atit604
 
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนกลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนPawat Logessathien
 
การให้วัคซีน VZV และ dT
การให้วัคซีน VZV และ dTการให้วัคซีน VZV และ dT
การให้วัคซีน VZV และ dTChananart Yuakyen
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009Adisorn Tanprasert
 
Vaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนVaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนWitsalut Saetae
 
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558Utai Sukviwatsirikul
 
การใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัสการใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัสWitsanu Rungsichatchawal
 
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาsportrnm
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPEtaem
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency preventiontaem
 
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)BowBow580146
 
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)BowBow580146
 

What's hot (17)

Sex education
Sex education Sex education
Sex education
 
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีนกลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
กลุ่มโรคติดต่อที่ป้องกันโดยการฉีดวัคซีน
 
การให้วัคซีน VZV และ dT
การให้วัคซีน VZV และ dTการให้วัคซีน VZV และ dT
การให้วัคซีน VZV และ dT
 
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
คำแนะนำสำหรับผู้ป่วยหวัด 2009
 
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
วัคซีนที่ควรให้ในกลุ่มบุคลากรทางการแพทย์
 
Vaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชนVaccineคู่มือประชาชน
Vaccineคู่มือประชาชน
 
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
แนวทางการดูแลรักษาโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ 2558
 
การใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัสการใช้ยาต้านไวรัส
การใช้ยาต้านไวรัส
 
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษาพฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
พฤติกรรมเสี่ยงเกี่ยวกับเพศศึกษา
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 
Infectious PPE
Infectious PPEInfectious PPE
Infectious PPE
 
Emergency prevention
Emergency preventionEmergency prevention
Emergency prevention
 
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
 
Ebola virus disease
Ebola virus disease Ebola virus disease
Ebola virus disease
 
ความทรงจำ
ความทรงจำความทรงจำ
ความทรงจำ
 
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
การป้องกันโรคเอดส์ (Hiv)
 

Viewers also liked

หนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมี
หนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมีหนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมี
หนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมีUtai Sukviwatsirikul
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์techno UCH
 
ประกาศมหาวิทยาลัย.รับตรงโครงการป.ตรี Ppe ลำปาง
ประกาศมหาวิทยาลัย.รับตรงโครงการป.ตรี Ppe ลำปางประกาศมหาวิทยาลัย.รับตรงโครงการป.ตรี Ppe ลำปาง
ประกาศมหาวิทยาลัย.รับตรงโครงการป.ตรี Ppe ลำปางcm carent
 
Breast presentation
Breast presentation Breast presentation
Breast presentation techno UCH
 
คุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนคุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนtechno UCH
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม techno UCH
 
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนการดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนtechno UCH
 
การแก้ไขและฟื้นฟูระบบไฟฟ้ากำลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์หลังวิกฤติน้ำท่วม โดยสมา...
การแก้ไขและฟื้นฟูระบบไฟฟ้ากำลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์หลังวิกฤติน้ำท่วม โดยสมา...การแก้ไขและฟื้นฟูระบบไฟฟ้ากำลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์หลังวิกฤติน้ำท่วม โดยสมา...
การแก้ไขและฟื้นฟูระบบไฟฟ้ากำลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์หลังวิกฤติน้ำท่วม โดยสมา...Natkon Woraputthirunmas
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557techno UCH
 
Waste rendering plant (Make Meat Meal from waste) 2017
Waste rendering plant (Make Meat Meal from waste) 2017Waste rendering plant (Make Meat Meal from waste) 2017
Waste rendering plant (Make Meat Meal from waste) 2017Dezvolta
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยtechno UCH
 
20131025 success stories on innovation in thailand-thaweesak (all)5
20131025 success stories on innovation in thailand-thaweesak (all)520131025 success stories on innovation in thailand-thaweesak (all)5
20131025 success stories on innovation in thailand-thaweesak (all)5Thaweesak Koanantakool
 
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัยตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัยSahatchai
 
5.กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย
5.กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย5.กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย
5.กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัยBangkok, Thailand
 
โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014Hospital for Health
 
โครงการ Safety day 2014
โครงการ Safety day 2014โครงการ Safety day 2014
โครงการ Safety day 2014Jiraporn Promsit
 

Viewers also liked (20)

Ebola virus disease
Ebola virus disease Ebola virus disease
Ebola virus disease
 
หนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมี
หนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมีหนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมี
หนังสือแนวปฏิบัติการจัดการของเสียทางการแพทย์ที่เป็นสารเคมี
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์
 
Epstein Barr Virus
Epstein Barr VirusEpstein Barr Virus
Epstein Barr Virus
 
ประกาศมหาวิทยาลัย.รับตรงโครงการป.ตรี Ppe ลำปาง
ประกาศมหาวิทยาลัย.รับตรงโครงการป.ตรี Ppe ลำปางประกาศมหาวิทยาลัย.รับตรงโครงการป.ตรี Ppe ลำปาง
ประกาศมหาวิทยาลัย.รับตรงโครงการป.ตรี Ppe ลำปาง
 
Breast presentation
Breast presentation Breast presentation
Breast presentation
 
คุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียนคุณภาพเวชระเบียน
คุณภาพเวชระเบียน
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมนการดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
การดูแลผู้ป่วยที่รักษาด้วยยาเคมีบำบัดและฮอร์โมน
 
PPE Hospital
PPE HospitalPPE Hospital
PPE Hospital
 
การแก้ไขและฟื้นฟูระบบไฟฟ้ากำลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์หลังวิกฤติน้ำท่วม โดยสมา...
การแก้ไขและฟื้นฟูระบบไฟฟ้ากำลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์หลังวิกฤติน้ำท่วม โดยสมา...การแก้ไขและฟื้นฟูระบบไฟฟ้ากำลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์หลังวิกฤติน้ำท่วม โดยสมา...
การแก้ไขและฟื้นฟูระบบไฟฟ้ากำลัง เครื่องจักรและอุปกรณ์หลังวิกฤติน้ำท่วม โดยสมา...
 
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
ข้อเสนอแนะการประเมินคุณภาพแพทย์ ประจำปี 2557
 
Waste rendering plant (Make Meat Meal from waste) 2017
Waste rendering plant (Make Meat Meal from waste) 2017Waste rendering plant (Make Meat Meal from waste) 2017
Waste rendering plant (Make Meat Meal from waste) 2017
 
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัยอาชีวอนามัยและความปลอดภัย
อาชีวอนามัยและความปลอดภัย
 
20131025 success stories on innovation in thailand-thaweesak (all)5
20131025 success stories on innovation in thailand-thaweesak (all)520131025 success stories on innovation in thailand-thaweesak (all)5
20131025 success stories on innovation in thailand-thaweesak (all)5
 
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัยตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
ตัวจริง !!! สุขภาพและความปลอดภัย
 
Presentation haccp
Presentation haccpPresentation haccp
Presentation haccp
 
5.กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย
5.กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย5.กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย
5.กิจกรรมส่งเสริมความปลอดภัย
 
โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014โรคจากการทำงาน nov2014
โรคจากการทำงาน nov2014
 
โครงการ Safety day 2014
โครงการ Safety day 2014โครงการ Safety day 2014
โครงการ Safety day 2014
 

Similar to แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola

2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลงนายสามารถ เฮียงสุข
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อpissamaiza Kodsrimoung
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อnuting
 
Nw 2014073120-อีโบลาth
Nw 2014073120-อีโบลาthNw 2014073120-อีโบลาth
Nw 2014073120-อีโบลาthPor Punyaratabandhu
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์tichana
 
Pulmonary tuberculosis
Pulmonary tuberculosisPulmonary tuberculosis
Pulmonary tuberculosisijack114
 
Basic epidemiology & surveillance doctor 2016
Basic epidemiology & surveillance doctor 2016Basic epidemiology & surveillance doctor 2016
Basic epidemiology & surveillance doctor 2016sakarinkhul
 
Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisBow Aya
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23mewsanit
 
Ic update 2012
Ic  update 2012Ic  update 2012
Ic update 2012techno UCH
 
Surveillance Systems
Surveillance SystemsSurveillance Systems
Surveillance SystemsUltraman Taro
 

Similar to แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola (20)

plague
plagueplague
plague
 
corona virus 65.ppt
corona virus 65.pptcorona virus 65.ppt
corona virus 65.ppt
 
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
2การจัดลำดับความสำคัญโรคติดต่อนำโดยแมลง
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
นำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อนำเสนอโรคติดต่อ
นำเสนอโรคติดต่อ
 
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อแนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
แนะนำโรคต่างๆ หรือ โรคติดต่อ
 
02 lepto
02 lepto02 lepto
02 lepto
 
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธินแนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
แนะนำโรคต่างๆ ศิรินวล สันติรักษ์โยธิน
 
2523
25232523
2523
 
Nw 2014073120-อีโบลาth
Nw 2014073120-อีโบลาthNw 2014073120-อีโบลาth
Nw 2014073120-อีโบลาth
 
โรคเอดส์
โรคเอดส์โรคเอดส์
โรคเอดส์
 
Hanta virus 65.ppt
Hanta virus 65.pptHanta virus 65.ppt
Hanta virus 65.ppt
 
Pulmonary tuberculosis
Pulmonary tuberculosisPulmonary tuberculosis
Pulmonary tuberculosis
 
Basic epidemiology & surveillance doctor 2016
Basic epidemiology & surveillance doctor 2016Basic epidemiology & surveillance doctor 2016
Basic epidemiology & surveillance doctor 2016
 
Ebola
EbolaEbola
Ebola
 
Topic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitisTopic meningoecephalitis
Topic meningoecephalitis
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
 
Ic update 2012
Ic  update 2012Ic  update 2012
Ic update 2012
 
Surveillance Systems
Surveillance SystemsSurveillance Systems
Surveillance Systems
 

More from techno UCH

การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition techno UCH
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition techno UCH
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุtechno UCH
 
เห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยเห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยtechno UCH
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นtechno UCH
 
Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring techno UCH
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgtechno UCH
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา techno UCH
 
Emergency rt for nurse
Emergency rt for nurseEmergency rt for nurse
Emergency rt for nursetechno UCH
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจtechno UCH
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมtechno UCH
 
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมcase study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมtechno UCH
 
Affinitor in bc
Affinitor in bc Affinitor in bc
Affinitor in bc techno UCH
 
การจัดสิ่งแวดล้อม
การจัดสิ่งแวดล้อมการจัดสิ่งแวดล้อม
การจัดสิ่งแวดล้อมtechno UCH
 
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้techno UCH
 
ซักซ้อมการเบิกจ่ายเงิน เงินบำรุงและเงินสวัสดิการ
ซักซ้อมการเบิกจ่ายเงิน เงินบำรุงและเงินสวัสดิการซักซ้อมการเบิกจ่ายเงิน เงินบำรุงและเงินสวัสดิการ
ซักซ้อมการเบิกจ่ายเงิน เงินบำรุงและเงินสวัสดิการtechno UCH
 

More from techno UCH (20)

การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition การให้ Enteral nutrition
การให้ Enteral nutrition
 
Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition Total parenteral nutrition
Total parenteral nutrition
 
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุสุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
สุขภาพในช่องปาก ตอน โรคฟันผุ
 
เห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทยเห็ดเป็นยาไทย
เห็ดเป็นยาไทย
 
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้นการใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
การใช้โปรแกรม Access เบื้องต้น
 
Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring Blood glucose monitoring
Blood glucose monitoring
 
การอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekgการอ่านค่า Ekg
การอ่านค่า Ekg
 
Concept pc.
Concept pc.Concept pc.
Concept pc.
 
Case study
Case studyCase study
Case study
 
Assesment
AssesmentAssesment
Assesment
 
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับรังสีรักษา
 
Emergency rt for nurse
Emergency rt for nurseEmergency rt for nurse
Emergency rt for nurse
 
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจการดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
การดูแลผู้ป่วยที่ใช้เครื่องช่วยหายใจ
 
มะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านมมะเร็งเต้านม
มะเร็งเต้านม
 
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านมcase study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
case study การรักษาผู้ป่วยมะเร็งเต้านม
 
Affinitor in bc
Affinitor in bc Affinitor in bc
Affinitor in bc
 
การจัดสิ่งแวดล้อม
การจัดสิ่งแวดล้อมการจัดสิ่งแวดล้อม
การจัดสิ่งแวดล้อม
 
Doxorubicin
DoxorubicinDoxorubicin
Doxorubicin
 
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
มะเร็งปากมดลูกป้องกันได้แล้ววันนี้
 
ซักซ้อมการเบิกจ่ายเงิน เงินบำรุงและเงินสวัสดิการ
ซักซ้อมการเบิกจ่ายเงิน เงินบำรุงและเงินสวัสดิการซักซ้อมการเบิกจ่ายเงิน เงินบำรุงและเงินสวัสดิการ
ซักซ้อมการเบิกจ่ายเงิน เงินบำรุงและเงินสวัสดิการ
 

แนวทางการป้องกันเชื้อ Ebola

  • 1.
  • 2. ประวัติศาสตร์ของ Ebola เริ่มพบครั้งแรกปี ค.ศ.1976 ที่ประเทศคองโก ใกล้แม่น้้า Ebola เชื้อไวรัส : Genus Ebolavirus/Family Filoviridae แหล่งโรค :สัตว์ป่า ลิง ค้างคาว เก้ง กวาง ผู้ป่วย ต้องการ Biosafty level 4 Lab containment (ไทยมีแค่ Level 3) จากสัตว์สู่คน ยังไม่แน่ชัด อาจเป็นค้างคาว ลิง กวาง (ในป่า)
  • 3. Ebola ในปี 2557 จากคนสู่คน ชัดเจนมาก สามารถติดต่อ โดยการสัมผัส -เลือด น้้าเหลือง น้้านม -น้้าลาย -ปัสสาวะ -อสุจิ(นาน 2 เดือน) -สิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับผู้ป่วย ขณะนี้ระบาดใน 4 ประเทศ เซียร์ราลีโอน ไลบีเรีย กิเนีย ไนจีเรีย(เมืองลากอส)
  • 4. ผู้ที่เสี่ยงต่อการติดเชื้อ ผู้ที่สัมผัสผู้ป่วยภายใน 21 วัน ผู้ที่เดินทางมาจากแดนที่มีการระบาดภายใน 21 วัน ผู้ที่สัมผัสสัตว์ป่าที่ติดเชื้อ เช่นการกินอาหาร เปิบพิสดาร การจัดการศพหรือพิธีศพ ระยะฟักตัว 2-21 วัน ส่วนใหญ่ 4-20 วัน •เชื้อจะแพร่ให้คนอื่นได้ตอนป่วย ยิ่งป่วยหนัก ยิ่งแพร่ เชื้อมาก •ผู้ที่มีความเสี่ยงสูงสุด: ผู้ดูแลผู้ป่วยใกล้ชิด
  • 5. โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา •โอกาสการแพร่เชื้อจะต่้าในช่วงแรกที่ผู้ป่วยเริ่มมีอาการ ดังนั้น ตรวจจับผู้ป่วยให้ได้ตั้งแต่อาการน้อยๆ จึงมี ความส้าคัญสูง •อาการสาคัญคือมีไข้ ปวดศรีษะปวดกล้ามเนื้อ ปวดท้อง อาเจียน ถ่ายเหลว เลือดออก(40-50%) •อัตราป่วยตายของการระบาดด้วยเชื้อไวรัสอีโบลาสายพันธุ์ Zaire อยู่ที่ประมาณร้อยละ 50 –90 •การรักษาเป็นการรักษาตามอาการยังไม่ยารักษาเฉพาะ และ ยังไม่มีวัคซีน
  • 6. Pathogenesis of Ebola in Human Ebola virus will infect many cell type -monocytes, macrophages,dentriticfibroblast -endotheialcell,epithelialcell -hepatocytes, adreno-cortical cell Cause wide rang of clinical manifestation eg, Vascular leakage,shock,coagulopathy,hepatitisetc.
  • 7. Infection Control of Ebola ผู้ป่วย:อยู่ห้องเดี่ยว หรือ AiiR บุคลากร:ต้องสวม Gloves,Gown(fluid resistant) Shoe cover,Eyeprotection,Surgicalmask สิ่งแวดล้อม: -ใช้ 10% โซเดียมไฮเปอร์คลอไรด์,แอมโมเนียมหรือฟีนอล -คนท้าความสะอาดต้องมี PPE ครบ shoeและleg cover (CDC2014)
  • 8. ความเสี่ยงของโรค Ebola ในประเทศไทย ขณะนี้ WHO ยังไม่ห้ามการเดินทางไปประเทศที่มีการระบาด คนไทยที่จะไป 4 ประเทศ ควรหลีกเลี่ยงสัมผัสสัตว์ป่า คนไทยควรหลีกเลี่ยงสัมผัสผู้ป่วยที่สงสัย Ebola หากป่วยเป็นไข้ อ่อนเพลีย ฯลฯ ภายใน3 สัปดาห์ พบแพทย์ ด่วน คนไนจีเรียมาไทยประมาณ 300 คน/เดือน คน 3ประเทศที่มีการระบาดมาไทย 30-50 คน/สัปดาห์ Lab.ทางกรมวิทย์ก้าลังเตรียมการเพื่อส่ง specimen ไป US- CDC (แต่หลายสายการบินไม่รับ)
  • 9. Case Detection of Ebola in Thailand ผู้โดยสารจากประเทศที่มีการระบาด มี 2 เที่ยวบิน/วัน ชาวอัฟริกัน 4 ประเทศ ที่มีการระบาด ประมาณ 5-10คน/วัน คนไทยไปเทียว เยี่ยมครอบครัว4 ประเทศดังกล่าว –น้อยมาก ผู้ป่วยที่น่าสงสัยเป็น Ebola -ชาวอัฟริกา (ถามประเทศที่มา) -คนไทยที่ไประเทศทั้ง 4 -ออกจากประเทศนั้นมานานหรือไม่ (ถ้าเกิน 21 วัน ปลอดภัย) ผู้สัมผัส :ต้องหา case ก่อน โดยสรุป ความเสี่ยงของ Ebola ในประเทศไทย ยังค่อนข้างต่้า
  • 10. ข้อเท็จจริง7 อย่างของโรค Ebola ตัวไวรัสEbola ไม่ค่อยเปลี่ยนแปลง การแพร่กระจายโดยการสัมผัสใกล้ชิด ไม่แพร่กระจาย airbone ผู้ป่วย Ebola จะไม่แพร่กระจายจนกว่ามีอาการ ผู้ป่วยสามารถหายได้ อัตราตาย 60-90% ขณะนี้มีการระบาดในประเทศที่การสาธารณสุขไม่ค่อยดี Ebola สามารถแพร่กระจายไปยังดินแดนอื่นๆได้ ทุกประเทศมีความเสี่ยงทั้งสิ้น อาจติดจากสัตย์สู่คน คนสู่ คน
  • 14.
  • 15. บทสรุปสำหรับอีโบลำก็คือเรำรู้ว่ำจะหยุดมันอย่ำงไร กำรสำธำรณสุขแบบดั้งเดิม ค้นหำผู้ป่วย แยกผู้ป่วย ดูแลรักษำผู้ป่วย ติดตำมผู้สัมผัส ให้ควำมรู้ประชำชน และ ป้องกันกำรติดเชื้อในโรงพยำบำลอย่ำงเคร่งครัด ทำสิ่งเหล่ำนี้อย่ำงพิถีพิถันละเอียดลออ แล้วอีโบลำจะหมดไป นพ. โธมัส ฟรีเด็น ผอ.ศูนย์ป้องกันควบคุมโรคแห่งชำติ สหรัฐอเมริกำ
  • 16. Distribution of EVD cases in Guinea, Sierra Leone, Liberia by week of reporting, December 2013 -1 August 2014
  • 18. Distribution of EVD cases in Guinea, Sierra Leone, Liberia and Nigeria by week of reporting, December 2013 – 6 August 2014 source: www.ecdc.europa.eu/ source: http://www.cdc.gov/ Guinea Sierra Leone Liberia Nigeria
  • 19. สถำนกำรณ์กำรระบำดของโรคติดเชื้อไวรัสEbolaในประเทศไนจีเรีย Patrick Sawyer บุคลำกรทำงกำรแพทย์ (44 คน) เจ้ำหน้ำที่สนำมบิน (15 คน) ป่วย 12คน หนี 1 คน (พยำบำล) กักกันได้ 11 คน มีผู้สัมผัส 118 คน มีผู้สัมผัส 21 คน หนีไปเมือง Enugu
  • 21. สถำนกำรณ์กำรป่วยและกำรดำเนินกำรในต่ำงประเทศในสัปดำห์ที่ผ่ำนมำ(1) องค์กำรอนำมัยโลก •ประกาศให้การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาในอาฟริกาตะวันตกเป็นภาวะ ฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ (PHEIC) –ประเทศที่มีกำรระบำด: ออกคาแนะนาให้มีการจากัดการเดินทางของผู้ป่วยอีโบ ลาหรือผู้สัมผัส การคัดกรองผู้โดยสารขาออก จัดระบบการตอบโต้ภาวะฉุกเฉิน ในระดับสูงสุด เพิ่มความพร้อมของอุปกรณ์ในการดูแลรักษา การวินิจฉัย และลด กิจกรรมการรวมตัวของคนหมู่มาก –ประเทศที่มีควำมเสี่ยงสูงและประเทศที่มีพรมแดนติดกับประเทศที่มีกำร ระบำด:ให้มีการเตรียมการเฝ้าระวัง การจัดระบบตรวจทางห้องปฏิบัติการ การ ควบคุมโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล อุปกรณ์ป้องกันการติดเชื้อและการสอบสวน ควบคุมโรค –ประเทศอื่นๆ: ไม่มีการห้ามเดินทางหรือการค้า แต่ให้เตรียมความพร้อมในด้าน ต่างๆที่เกี่ยวข้อง
  • 22. สถำนกำรณ์กำรป่วยและกำรดำเนินกำรในต่ำงประเทศในสัปดำห์ที่ผ่ำนมำ(2) องค์กำรอนำมัยโลก(ต่อ) •ในวันจันทร์ที่ 11 สิงหาคม 2557 คณะผู้เชี่ยวชาญด้านจริยธรรมการวิจัย ของ องค์การอนามัยโลก มีความเห็นว่า “ในสถานการณ์ที่มีการระบาดขณะนี้ การใช้ยา หรือวิธีการรักษาที่ยังไม่ได้รับการพิสูจน์ประสิทธิผลหรือความปลอดภัยเป็นเรื่องที่ เป็นไปตามหลักจริยธรรม หากนามาใช้ภายใต้หลักการที่เหมาะสม” •Options: –Zmapp–MappBiopharmaceutical, Inc. –Favipiravir-Fujifilm Holdings Corp. –TKM-Ebola -TekmiraPharmaceuticals –AVI-7537 –SareptaTherapeutics –BCX4430 -BiocrystPharmaceuticals –ST-383 -SigaTechnologies.
  • 23. มำตรกำรเพิ่มเติมขององค์กำรอนำมัยโลก WHO ประกาศให้ประเทศเคนย่าเป็นประเทศที่เสี่ยงสูง ประเทศเคนย่า อยู่ในแอฟริกา ตะวันออก แต่เป็นศูนย์กลางของการ บินโดยมีเที่ยวบิน 76เที่ยวต่อ สัปดาห์มาลงที่ประเทศเคนย่า
  • 24. ประเทศ Liberia –Dr. Kent Brantlyซึ่งเป็นหัวหน้าหน่วยแพทย์ของ Samaritan's Purse care center และ Nancy Writebolได้รับยาทดลองและพบว่ามีอาการดีขึ้น –Miguel Pajaresอายุ75 ปีทางานในองค์กรเอกชนในไลบีเรียถูกส่งกลับสเปน พร้อมกับJuliana Bohi(ไม่ติดเชื้อ) –ประธานาธิบดีไลบีเรียให้ข้อมูลว่ามีแพทย์ 3 คน และบุคลากรทางการแพทย์ เสียชีวิตแล้ว 32 ราย (10 สค.) และรัฐบาลประกาศภาวะฉุกเฉินทาง สาธารณสุข มีทหารช่วยจากัดการเดินทางเข้าออกจากพื้นที่ระบาด และอนุมัติ งบประมาณ 18 ล้านดอลล่าร์(ปรับปรุงสถานพยาบาล ประกัน รถ อาหาร ...) –95% ของแพทย์อาสาสมัครถอนตัวออกจากประเทศแล้ว เหลือแพทย์ใน ประเทศเพียง 50 คน สถำนกำรณ์กำรป่วยและกำรดำเนินกำรในต่ำงประเทศในสัปดำห์ที่ผ่ำนมำ(3)
  • 25. สถำนกำรณ์กำรป่วยและกำรดำเนินกำรในต่ำงประเทศในสัปดำห์ที่ผ่ำนมำ(4) US CDC •ให้คาแนะนาผู้เดินทางเป็นระดับสูงสุด (ระดับ 3) ในทั้ง 3ประเทศ คือให้หลีกเลี่ยง การเดินทางที่ไม่จาเป็น ส่วนไนจีเรียให้เป็นระดับสองคือเดินทางด้วยความ ระมัดระวัง •ในสัปดาห์ที่ผ่านมาCDCเพิ่มระดับ EOC response level เป็นระดับ 1มีการระดม บุคลากรเพื่อมาร่วมการดาเนินการเรื่องอีโบลา มีการส่งเจ้าหน้าที่เข้าไปช่วยใน ประเทศที่กาลังระบาด (กินี 14, ไลบีเรีย 18, ซิเอร่า เลโอน 16, ไนจีเรีย 7) –Stop Ebola at its source –จัดตั้ง Emergency Operation Centers และระบบข้อมูล –ช่วยเรื่อง Exit Screening –เตรียมความพร้อมรับมือภายในประเทศ
  • 26. สถำนกำรณ์กำรป่วยและกำรดำเนินกำรในต่ำงประเทศในสัปดำห์ที่ผ่ำนมำ(5) ห้องผู้ป่วย: ให้ผู้ป่วยพักในห้องแยก มีห้องน้าในตัว จากัดและบันทึกผู้เข้าห้องผู้ป่วย อุปกรณ์ป้องกัน :เจ้าหน้าที่ควรสวมใส่ถุงมือ กาวกันน้า พลาสติกคลุมรองเท้า แว่น หรือพลาสติกป้องกันใบหน้า และหน้ากากป้องกันโรค และอาจพิจารณาสวมใส่ อุปกรณ์อื่นๆ ตามความเหมาะสมกับสถานการณ์ กำรทำหัตถกำรที่ก่อให้เกิดละอองฝอย: ให้หลีกเลี่ยงหัตถการที่ก่อให้เกิดละอองฝอย หากจาเป็นให้ดาเนินการในห้องแยก การติดเชื้อทางอากาศ และใสหน้ากากป้องกัน ที่เหมาะสม (N95 หรือสูงกว่า) กำรทำควำมสะอำดห้องและสิ่งแวดล้อม:
  • 27. สถำนกำรณ์กำรป่วยและกำรดำเนินกำรในต่ำงประเทศในสัปดำห์ที่ผ่ำนมำ(6) มาตรการคัดกรอง ตรวจสุขภาพ และติดตามนักเดินทาง ◦Mandatory self-reporting ◦Thermoscan ซักประวัติ และวัดอุณหภูมิ ◦Health beware card ◦การติดตามสอบถามอาการผู้เดินทาง มาตรการตั้งรับ อาศัยการวินิจฉัยและแยกผู้ป่วยให้ได้โดยเร็ว ◦Early detection ◦Infection Control
  • 28. มำตรกำรควบคุมโรคของไทย (1) กำรคัดกรองผู้เดินทำงจำกประเทศที่มีกำรระบำดที่สนำมบิน กำรให้คำแนะนำกับผู้เดินทำง กำรติดตำมสอบถำมอำกำรผู้เดินทำงเป็นเวลำ 21วัน นับจำกวันที่ เดินทำงออกจำกประเทศที่มีกำรระบำด กำรเสริมสร้ำงควำมเข้มแข็งให้กับระบบป้องกันโรคติดเชื้อใน โรงพยำบำล รวมถึงกำรเตรียมอุปกรณ์ป้องกันสำหรับเจ้ำหน้ำที่ กำรจัดระบบให้มีกำรตรวจจับผู้ป่วยได้อย่ำงรวดเร็วที่โรงพยำบำล และลดจำนวนผู้สัมผัส กำรสอบสวนควบคุมผู้สัมผัส
  • 29. มำตรกำรทำงด้ำนกำรเฝ้ำระวังโรค หากพบผู้ป่วยที่มีอาการไข้ 38 องศาเซลเซียสขึ้นไป ร่วมกับมีประวัติ เดินทางกลับมาจากประเทศที่พบผู้ป่วยในช่วง 21 วันก่อนเริ่มป่วย โดย ให้แจ้งเจ้าหน้าที่สาธารณสุขเพื่อสอบสวนและเก็บตัวอย่างส่งตรวจทาง ห้องปฏิบัติการทันที ขณะนี้ยังไม่พบผู้ป่วยเข้าข่ายเฝ้าระวัง โรคไข้เลือดออกอีโบลา
  • 30. มำตรกำรควบคุมโรคของไทย (2) กำรจัดระบบเฝ้ำระวัง กรมควบคุมโรคดาเนินการติดตามสถานการณ์ร่วมกับองค์การอนามัย โลก ประเมินความเสี่ยงอย่างต่อเนื่องตั้งแต่เริ่มมีการระบาด ด่านควบคุมโรคติดต่อระหว่างประเทศ ดาเนินการคัดกรองผู้ที่เดินทางมา จากประเทศที่พบโรค โดยการซักประวัติสุขภาพ วัดอุณหภูมิร่างกาย ตั้งแต่วันที่ 8 มิถุนายน -13สิงหาคม 2557 จานวน 447ราย ◦ทั้งหมดไม่มีอาการป่วย ดาเนินการติดตามผู้เดินทางจากประเทศที่มีการระบาด ขณะนี้ยังมีผู้ เดินทางอยู่ในช่วงเฝ้าระวัง 21 วัน จานวน 79คน
  • 31. มำตรกำรควบคุมโรคของไทย (3) กระทรวงการต่างประเทศ ได้มีคาเตือนประชาชนไทยให้หลีกเลี่ยงการเดิน ทางเข้าไปยังประเทศที่เกิดโรค หากจาเป็นต้องเดินทางไปให้ลงทะเบียนการ เดินทางตามมาตรการของกระทรวงการต่างประเทศ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เฝ้าระวังสัตว์ที่มาจากอาฟริกา ไม่ พบมีการนาสัตว์เข้ามายังประเทศไทย กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ชะลอการนาเข้าสินค้าตามกฎหมายว่าด้วยโรค ระบาดสัตว์จากประเทศที่มีรายงานการระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา และมี การควบคุมการนาเข้าทั้งทาง ท่าอากาศยาน ท่าเรือ และชายแดน กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ ให้ความรู้เรื่องอีโบลา แก่ อสม. เพื่อสื่อสารกับ ประชาชน สื่อสาร
  • 32. มำตรกำรควบคุมโรคของไทย (4) •กำรดูแลรักษำและป้องกันกำรติดเชื้อในโรงพยำบำล –สถานพยาบาลเตรียมห้องแยกผู้ป่วยในทุกจังหวัด โดยเฉพาะ โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่วไป และให้ปฏิบัติตามหลักการป้องกัน การติดเชื้อในโรงพยาบาลเหมือนผู้ป่วยโรคติดต่ออันตรายสูง เช่น โรค ซาร์ส อย่างเคร่งครัด –การรักษาผู้ป่วยตามแนวทางการวินิจฉัย ดูแลรักษา และควบคุม ป้องกันการติดเชื้อที่กรมการแพทย์กาหนด และให้คาปรึกษาแก่แพทย์ พยาบาลในการรักษาตลอด 24ชั่วโมง –สถาบันบาราศนราดูรได้จัดทาคาแนะนาการป้องกันการแพร่กระจาย เชื้อไวรัสอีโบลา การรับและส่งต่อผู้ป่วยโรคติดต่อร้ายแรง สาหรับ บุคลากรและเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ที่เกี่ยวข้อง
  • 33. มำตรกำรควบคุมโรคของไทย (5) •กำรตรวจทำงห้องปฏิบัติกำร กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ร่วมกับหน่วยงานทั่วประเทศกาลังพิจารณา แนวทางการส่งวินิจฉัยให้เป็นไปตามมาตรฐานสากล •กำรบริหำรจัดกำร –กรมควบคุมโรคเปิดศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินทุกวัน –กระทรวงสาธารณสุขเปิดศูนย์ปฏิบัติการตอบโต้ภาวะฉุกเฉินบูรณาการ การทางานของทุกหน่วยงานและสั่งการไปยังหน่วยปฏิบัติทั่วประเทศ
  • 34. สรุปและข้อเสนอ •สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสอีโบลาในประเทศแถบอาฟ ริกาตะวันตกขณะนี้อยู่ในสถานการณ์ที่ไม่สำมำรถควบคุมกำรระบำด ได้ •คำดว่ำจะระบำดต่อไปอีกไม่น้อยกว่ำ 3-6 เดือน •มาตรการที่ดาเนินการในประเทศไทยเป็นไปตามคาแนะนาขององค์การ อนามัยโลกตามประกาศภาวะฉุกเฉินด้านสาธารณสุขระหว่างประเทศ (PHEIC) และจะมีการติดตามประเมินปรับมาตรการตามสถานการณ์ เป็นระยะ •การประกาศให้โรคติดเชื้อไวรัสอีโบลา เป็นโรคติดต่ออันตราย เพื่อให้มี การดาเนินมาตรการได้อย่างเข้มข้นเพิ่มขึ้น
  • 35. สรุปและข้อเสนอ •ข้อเสนอ สนับสนุนการดาเนินการควบคุมโรคในประเทศแถบอาฟริกาตะวันตก เผยแพร่คาแนะนาผู้เดินทางไปต่างประเทศให้หลีกเลี่ยงการเดินทาง ไปยังประเทศที่มีการระบาด ควรมีการเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารให้กับประชาชนและเจ้าหน้าที่ใน เว็บไซต์ทั้งในระดับกรม และกระทรวงสาธารณสุข เตรียมความพร้อมด้านบุคลากร เตรียมความพร้อมด้านอุปกรณ์ เครื่องไม้เครื่องมือ