SlideShare a Scribd company logo
1 of 38
Download to read offline
BACTERIOLOGY
Case Study 3
History
A 32-year-old female of Thai origin reported to the pulmonology
outpatient department with a history of productive cough ,sporadic hemoptysis,
malaise,and nighttime fever and a 12- week duration of weight loss.
She was a lifetime nonsmoker.Physical examination revealed no significant
abnormalities,and normal breath sounds were noted during auscultation.
Blood analysis showed a hemoglobin concentration of 7.1 mmol/liter,
a white blood cell count of 15.1x109 cell/liter, and a C-reactive protein
concentration of 29 mg/liter.The patient was seronegative for HIV.
A sputum sample was submitted to the microbiology laboratory for microscopy
and bacterial and mycobacterial cultures.The gram stain revealed a large number
of leukocytes but no bacteria.
History
Fig 1:Gram stain of expectorated sputum sample. Arrows mark two of the slender, linear unstained structures.
History
Differential Diagnosis
Lung cancer
Pneumocystis carinii pneumonia (PCP)
Aspergillosis
Pulmonary tuberculosis
Opportunistic
mycoses
bacteria
PCP Aspergillosis Pulmonary TB Lung cancer
cough Nonproductive
cough
Coughing up
blood
Coughing up
blood
Coughing up
blood
Sporadic
hemoptysis
rare + + +
malaise + + + +
Fever Fever, Night
sweats
Fever Fever, Night
sweats
Fever, Night
sweats
weight loss + + + +
Anemia - +/- + +
High WBC + + + +
Differential Diagnosis
 Gram stain : a large number of leukocytes but no bacteria;
several slender linear unstained structures
fungi
Ghost cell
Aspergillosis
PCP
hyphae
Differential Diagnosis
Pulmonaly TBMycobacterium tuberculosis
Differential Diagnosis
Acid fast Bacilli
Definition
วัณโรค (Tuberculosis หรือ TB)
เป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อ
แบคทีเรีย Mycobacterium
 Mycobacterium มีหลายชนิด ที่พบบ่อยที่สุดและเป็นปัญหาในประเทศไทย คือ
Mycobacterium tuberculosis
 Mycobacterium africanum พบได้ในแถบอาฟริกา
 Mycobacterium bovis มักก่อให้เกิดโรคในสัตว์ซึ่งอาจติดต่อมาถึงคนได้โดยการบริโภคนม
ที่ไม่ได้ผ่านการฆ่าเชื้อ
 Mycobacterium avium complex ที่พบได้ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี
Cause
 สาเหตุของวัณโรค
เชื้อวัณโรคจะแพร่กระจายจากปอด หลอดลม หรือกล่องเสียงของผู้ป่วยวัณโรค
เมื่อผู้ป่วยไอ จาม เชื้อจะอยู่ในละอองฝอย(droplets)ของเสมหะที่ออกมาสู่อากาศ
อนุภาคของ droplets ขนาดใหญ่มากมักจะตกลงสู่พื้นดินและแห้งไป
เหลือส่วนที่เล็กที่สุดที่มีเชื้อวัณโรคจะลอยอยู่ในอากาศได้หลายชั่วโมง เมื่อคนสูดหายใจ
เอาอากาศที่มีเชื้อวัณโรคเข้าสู่ร่างกาย droplets ของเชื้อที่มีขนาดส่วนเล็กๆ
จะเข้าไปสู่ปอด
Epidemiology
 สถานการณ์วัณโรคของโลกในปัจจุบัน องค์การอนามัยโลกรายงานว่า 1 ใน 3
ของประชากรทั่วโลกติดเชื้อวัณโรคแล้ว
 ความชุก (prevalence) ของผู้ป่วยวัณโรคมีประมาณ 12 ล้านคน
 ในแต่ละปีมีผู้ป่วยรายใหม่ (incidence) ประมาณ 8.6 ล้านคน
 ผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิตปีละประมาณ 1.3 ล้านคน
 ประเทศไทยอยู่ในกลุ่ม 22 ประเทศที่มีปัญหาวัณโรคสูงและมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่
ประมาณ 80,000 รายต่อปีหรือคิดเป็นอัตราอุบัติการณ์119 ต่อประชากรแสนคน
Symptom
 coughing that continues for several days
 coughing up blood
 fever, including low-grade, consistent fever
 excessive sweating
 chest pain
 unexplained weight loss
 fatigue
Who Is at Risk for TB Disease?
Risk Factor
ที่มา:http://lab24.co.za/blog/world-tb-day-2016/
1.อาการและอาการแสดง
 อาการไอเรื้อรัง หรือไอเปนเลือด เหนื่อยออนเพลีย
เบื่ออาหาร น้้าหนักลดเหงื่อออกตอนกลางคืน
2. การตรวจเสมหะหาด้วยกล้องจุลทรรศน์
 AFB
3.การถ่ายภาพรังสีทรวงอก
 TB ในระยะลุกลาม CXR:patchy infiltrate+cavity
lesion
 TB เก่า CXR:Fibroreticular infiltrate +/-calcification
4.การตรวจหาเสมหะโดยการเพาะเชื้อ
5.การตรวจทางอณูชีวิทยา
6.อื่น ๆ เช่น Tuberculin skin test
ที่มา:http://budhosp.tripod.com/tb.htm
ที่มา:http://www.scielo.br/scielo.php?script=sci
_arttext&pid=S1806-37132010000200006
Diagnosis of tuberculosis
ลักษณะทางคลินิกที่เข้าได้กับวัณโรค
เสมหะย้อม
AFB,CXR
ย้อมเสมหะพบเชื้อ CXR
เข้าได้กับวัณโรค
ย้อมเสมหะไม่พบเชื้อ CXR
ไม่เข้าได้กับวัณโรค
ย้อมเสมหะไม่พบเชื้อ CXR
เข้าได้กับวัณโรค สืบค้นหาโรคอื่น
ส่งเสมหะเพาะเชื้อ
และทดสอบความไว
ของเชื้อวัณโรคต่อยา
productive cough, sporadic
hemoptysis, malaise,
and nighttime fever
Diagnosis of tuberculosis
 Pathological Material
 Sputum
 Spot sputum
 Nebulized sputum
 Alternative sampling
 Gastric Lavage
 Laryngeal Swab
 Bronchoscopy
ที่มา:http://fromnewtoicu.com/sputum-sampl/
ที่มา:https://lookfordiagnosis.com/mesh_info.php?term=sputum&lang=1
Laboratory
 Microscopical Detection
 Direct smears
Acid-fast Bacilli (AFB)
 Ziehl – Neelsen technique
 Kinyoun technique
 Fluorescence microscopy
ที่มา:http://medicalxpress.com/news/2016-06-genetic-blueprint-
cunning-tuberculosis-bacteria.html
ที่มา:http://www.druckerdiagnostics.com/tuberculosis
Laboratory
Laboratory
http://www.slideshare.net/chinjujoji/tuberculosis-36424618
 Cultural Methods
 Drug Susceptibility test
 Nucleic acid amplification test (NAAT)
 PCR  Xpert MTB/RIF assay
ที่มา:http://lgcpublishing.com/tbdiagnosis.html
ที่มา:http://web.stanford.edu/group/parasites/ParaSites2006/TB_Diagnosis/
Current%20Diagnostic%20Techniques.html
Laboratory
 Chest X-ray
Bilateral Upper Lobe Infiltration Milliary TB
ที่มา:https://diagnosisdude.com/about-2/xtracontent/tb-chest-x-rays/ ที่มา:http://radiopaedia.org/articles/calcified-pulmonary-nodules
Radiography
 Tuberculin skin test
ที่มา:https://ufhealth.org/ppd-skin-test ที่มา:http://www.nursingceu.com/courses/386/index_nceu.html
Immunological Test
 การตรวจทางห้องปฏิบัติการทั่วไป
 Blood analysis
 C - reactive protein
 การถ่ายภาพรังสีพิเศษ
 การส่องกล้องตรวจหลอดลม
 การตรวจสมรรถภาพปอด
ที่มา:https://www.nlm.nih.gov/medlineplus/ency/article/003857.htm
Others
 เป็นเชื้อ “แกรมบวกรูปแท่ง”
 บางครั้งอาจพบเซลล์ยาวเป็นสายและมีการแตกกิ่งได้ ไม่สามารถเคลื่อนที่
ไม่สร้างสปอร์
 ย้อมติดสีกรัมได้ยาก จึงมักเห็นการติดสีไม่สมบูรณ์เป็นเอกลักษณ์
คล้ายจุดขนาดไม่สม่่าเสมอเรียงต่อกัน เรียกว่า “beaded rod”
 บางครั้งอาจพบเพียงบริเวณที่ไม่ติดสีเป็นรูปร่างเซลล์อยู่บนพื้นฉากที่ติดสี
เรียกลักษณะดังกล่าวว่า Ghost cell
 มีคุณสมบัติทนต่อการล้างสีด้วยกรด การย้อมสีทนกรด (acid fast staining)
จึงสามารถช่วยให้ตรวจพบเชื้อได้ จึงอาจเรียกเชื้อว่า “acid fast bacilli
(AFB)”
Mycobacterium
Mycobacterium
 Mycobacterium (Gram’s stain)  Mycobacterium (Acid fast staining)
Mycobacterium
Mycobacterium tuberculosis complex
 Mycobacterium tuberculosis
 Mycobacterium bovis
 Mycobacterium africanum
 Mycobacterium microti
Mycobacterium
Mycobacterium tuberculosis
 มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรควัณโรคปอด
 เชื้อสามารถก่อโรคได้ในสัตว์หลายชนิด
 แต่เฉพาะคนที่เป็นแหล่งอาศัยโดยธรรมชาติของเชื้อ
 ต้าแหน่งที่พบติดเชื้อได้บ่อยที่สุดคือปอด
 การติดต่อระหว่างคนสู่คนเกิดขึ้นได้ผ่านทางการหายใจละอองอากาศที่
ปนเปื้อนเชื้อที่เรียกว่า droplet nuclei (infectious aerosols) ซึ่ง
แพร่กระจายจากการไอจามของผู้ป่วย
Mycobacterium
Mycobacterium
 พบเป็นสาเหตุก่อโรคในวัวควาย (bovine tuberculosis) และสัตว์อื่นอีก
หลายชนิดทั้งในสัตว์ปีกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม
 การติดเชื้อในคนพบได้น้อย สามารถก่อโรคในคนที่สัมผัสใกล้ชิดกับสัตว์ที่
ติดเชื้อ โดยอาจได้รับทางการหายใจหรือทางการกิน และติดต่อจากคน
สู่คนได้ สามารถก่อวัณโรคปอดในคนที่มีลักษณะทางคลินิก
เช่นเดียวกับ Mycobacterium tuberculosis
 สายพันธุ์ Bacilli calmette Guerin (BCG) ได้ถูกน้ามาใช้ในการผลิต
วัคซีนป้องกันวัณโรคในปัจจุบัน
Mycobacterium bovis
Mycobacterium africanum
 พบก่อโรคในคนได้น้อยมาก
โดยเป็นสาเหตุก่อโรควัณโรค
ในทางตอนเหนือและ
ตอนกลางของทวีปแอฟริกา
Mycobacterium microti
 เป็นเชื้อก่อโรคในสัตว์แทะ
โดยเฉพาะ vole ซึ่งเป็นสัตว์
ขนาดเล็กคล้ายหนูในจีนัส
microtus มีรายงานการก่อโรค
คล้ายวัณโรคปอดในคนแต่พบ
ได้น้อยมาก
Mycobacterium
Mycobacterium microti
 เป็นเชื้อก่อโรคในสัตว์แทะโดยเฉพาะ vole ซึ่งเป็นสัตว์ขนาดเล็กคล้ายหนู
ในจีนัส microtus มีรายงานการก่อโรคคล้ายวัณโรคปอดในคน
แต่พบได้น้อยมาก
Pathophysiology
ที่มา:http://www.nature.com/nrmicro/journal/v12/n4/fig_tab/nrmicro3230_F1.html
ปัจจุบันมีการใช้ระบบยาที่ประกอบด้วย isoniazid, rifampicin,
pyrazinamide, Streptomycin และethambutol ท้าให้สามารถย่นระยะเวลา
ในการรักษาวัณโรค โดยขนาดยารักษาวัณโรคให้ค้านวณตามน้้าหนักตัว
และเป็นการให้ยาในรูปแบบ fixed-dose combinations (FDCs) จะช่วยป้องกัน
การเลือกรับ ประทานยาเองบางชนิด
Treatment
แบ่งสูตรยาเป็น 4 ประเภท คือ
การรักษาระบบยาที่ 1 (CATEGORY 1) = CAT 1 : 2(3)HRZE (S) / 4HR
การรักษาระบบยาที่ 2 (CATEGORY 2) = CAT 2 : 2HRZES / 1(2)HRZE / 5HRE
การรักษาระบบยาที่ 3 (CATEGORY 3) = CAT 3 : 2HRZ/4 HR 4.
การรักษาระบบยาที่ 4 (CATEGORY 4) = CAT 4 : Regimen ที่ใช้ Reserved drugs
Treatment
ผู้ป่วย Catagory 1 (CAT.1) : 2(3)HRZE/4HR
ได้แก่ ผู้ป่วยใหม่ (New) คือผู้ป่วยที่ไม่เคยได้รับการรักษามาก่อนหรือได้รับ
การรักษามาไม่เกิน 1 เดือน ที่มีผลย้อมเชื้อ(direct smear) เป็นบวกหรือผู้ป่วยที่มีอาการหนัก
(severely ill) ซึ่งมีลักษณะทางคลินิกดังนี้
1.Pulmonary tuberculosis วัณโรคปอดที่เสมหะเป็นลบด้วยวิธีย้อมเชื้อ แต่มีรอยโรคจาก
ภาพรังสีทรวงอกค่อนข้างมาก
2.Extrapulmonary tuberculosis
2HRZE/4HR หมายถึง 2 เดือนแรกผู้ป่วยจะได้ยา 4 ขนานได้แก่ Isoniazid (H) Rifampicin (R)
Pyrazinamide (Z) และ Ethambutol (E) รับประทานทุกวัน ระยะ 4 เดือนที่เหลือจะได้ยา
2 ขนานคือ Isoniazid และ Rifampicin รับประทานทุกวันหรือสัปดาห์ละ 3 ครั้ง
รวมเวลาทั้งสิ้น 6 เดือน ในกรณีที่ผลตรวจเสมหะเมื่อสิ้นสุดเดือนที่ 2 ยังคงเป็นบวก
จะต้องขยายเวลาในช่วง 2 เดือนแรก (initial phase) อีก 1 เดือนเป็น 3HRZE
Treatment
ผู้ป่วย Catagory 2 (CAT.2) : 2HRZES/1(2)HRZE/5HRE
ได้แก่ ผู้ป่วยวัณโรค กลับเป็นซ้้า relapse (เคยรักษาวัณโรควินิจฉัยว่าหายแล้ว
ต่อมากลับเป็นอีกโดยผลเสมหะยังเป็นบวก) หรือผู้ป่วยมีผลการรักษาล้มเหลว failure
โดย 2 เดือนแรกผู้ป่วยจะได้ยา 5 ขนาน รับประทานทุกวัน 4 ชนิดคือ H, R, Z และE
โดยมียาฉีด 1 ขนานคือ Streptomycin ฉีดสัปดาห์ละ 5 วัน แต่ในกรณีที่ผลตรวจเสมหะ
เมื่อสิ้นสุดเดือนที่ 2 ยังคงเป็นบวก จะต้องขยายเวลาในช่วงแรกอีก 1 เป็น 2HRZES/2HRZE/5HRE
ที่มา:https://www.meningitisnow.org/meningitis-explained/what-
meningitis/meningitis-vaccines/current-vaccines/
ที่มา:http://health.howstuffworks.com/wellness/preventive-care/vaccine.htm
Treatment
ผู้ป่วย Catagory 3 (CAT.3) : 2HRZ/4HR
ได้แก่ ผู้ป่วยวัณโรค ที่เสมหะเป็นลบด้วยวิธีย้อมเชื้อ (direct smear)เป็นลบอย่างน้อย
3 ครั้งต่างวันกัน (spot sputum 1 ครั้ง และ collect sputum 2 ครั้ง) มีภาพรังสีทรวงอก
minimum infiltration และได้ผลดีใน ผู้ป่วยที่ผลตรวจเสมหะด้วยวิธีเพาะเชื้อเป็นบวก
แต่ผลตรวจเสมหะด้วยวิธีย้อมเชื้อเป็นลบ อย่างน้อย 3 ครั้งต่างวันกัน
ส้าหรับวัณโรคต่อมน้้าเหลือง ซึ่งเป็น extrapulmonary tuberculosis ซึ่งพบได้บ่อย
ในประเทศไทย ก็สามารถใช้ CAT.3 ได้ผลดีเช่นกัน (แต่ถ้าขนาดของต่อมน้าเหลือง
ยังคงไม่เล็กลง อาจให้ INH(Isoniazid) ชนิดเดียวต่ออีก 4 เดือน)
Treatment
ผู้ป่วย Catagory 4 (CAT.4) : H
ได้แก่ ผู้ป่วยเรื้อรังที่การรักษาล้มเหลวโดยเฉพาะจาก CAT.2 ให้ยา second line drugs
คือ Isoniazid เพียงอย่างเดียว
ที่มา:http://gwinnettlung.com/conditions/pulmonary-tuberculosis.php
Treatment
Reference
-http://emedicine.medscape.com/article/230802-overview
-http://www.healthline.com/health/pulmonary-tuberculosis#Symptoms6
-http://www.nhs.uk/Conditions/Aspergillosis/Pages/ Symptoms.aspx
-https://labtestsonline.org/understanding/analytes/afb-culture/tab/test/
-http://www.antimicrobe.org/new/e13.asp
-http://www.mayoclinic.org/diseases-conditions/lung-cancer/basics/causes/con-200255
-http://journal.publications.chestnet.org/article.aspx?articleID=1091889

More Related Content

What's hot

Newborn nt ปี 5
Newborn nt ปี 5Newborn nt ปี 5
Newborn nt ปี 5Hummd Mdhum
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกPrachaya Sriswang
 
Lassa fever in nigeria
Lassa fever in nigeriaLassa fever in nigeria
Lassa fever in nigeriaEmeka Anugom
 
Bacteria gram positive bacilli
Bacteria gram positive bacilliBacteria gram positive bacilli
Bacteria gram positive bacilliNittaya Jandang
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfMaytinee Beudam
 
Pulmonary hypertension definition and classification in Thai
Pulmonary hypertension definition and classification in ThaiPulmonary hypertension definition and classification in Thai
Pulmonary hypertension definition and classification in ThaiThorsang Chayovan
 
Early detection mods 16 พค.58
Early detection mods  16 พค.58Early detection mods  16 พค.58
Early detection mods 16 พค.58Krongdai Unhasuta
 
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาUtai Sukviwatsirikul
 
RSV presentation
RSV presentationRSV presentation
RSV presentationJen Vogel
 
Guideline for management of gout 2555
Guideline for management of gout 2555Guideline for management of gout 2555
Guideline for management of gout 2555Utai Sukviwatsirikul
 
มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก Dbeat Dong
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...Dr.Suradet Chawadet
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...Chutchavarn Wongsaree
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)Aiman Sadeeyamu
 
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557Utai Sukviwatsirikul
 

What's hot (20)

Newborn nt ปี 5
Newborn nt ปี 5Newborn nt ปี 5
Newborn nt ปี 5
 
ไข้เลือดออก
ไข้เลือดออกไข้เลือดออก
ไข้เลือดออก
 
Lassa fever in nigeria
Lassa fever in nigeriaLassa fever in nigeria
Lassa fever in nigeria
 
Tb update 2012_dr_petchawan_pdf
Tb update 2012_dr_petchawan_pdfTb update 2012_dr_petchawan_pdf
Tb update 2012_dr_petchawan_pdf
 
Case study : dengue fever
Case study : dengue feverCase study : dengue fever
Case study : dengue fever
 
Bacteria gram positive bacilli
Bacteria gram positive bacilliBacteria gram positive bacilli
Bacteria gram positive bacilli
 
การพยาบาลDhf
การพยาบาลDhfการพยาบาลDhf
การพยาบาลDhf
 
Pulmonary hypertension definition and classification in Thai
Pulmonary hypertension definition and classification in ThaiPulmonary hypertension definition and classification in Thai
Pulmonary hypertension definition and classification in Thai
 
Early detection mods 16 พค.58
Early detection mods  16 พค.58Early detection mods  16 พค.58
Early detection mods 16 พค.58
 
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
แนวทางการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อดื้อยา
 
RSV presentation
RSV presentationRSV presentation
RSV presentation
 
Guideline for management of gout 2555
Guideline for management of gout 2555Guideline for management of gout 2555
Guideline for management of gout 2555
 
Fever of unknown origin
Fever of unknown originFever of unknown origin
Fever of unknown origin
 
มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก มือ เท้า ปาก
มือ เท้า ปาก
 
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
การประเมินสมรรถภาพในเชิงปฏิบัติ การช่วยเหลือตนเองในกิจวัตรประจาวันขั้นพื้นฐาน...
 
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
การพยาบาลผู้ป่วยโรคไตเเละระบบทางเดินปัสสาวะที่มีปัญหาซับซ้อนในระยะเฉียบพลันแล...
 
Management of COPD
Management of COPDManagement of COPD
Management of COPD
 
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
การใช้ยาในเด็ก (Drugs in Pediatrics)
 
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
แนวเวชปฏิบัติเพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด์ 2557
 
Gram negative cocci
 Gram negative cocci Gram negative cocci
Gram negative cocci
 

Similar to Pulmonary tuberculosis

องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่
องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่
องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่นายสามารถ เฮียงสุข
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)Wan Ngamwongwan
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23mewsanit
 
Infectious epidemic
Infectious epidemicInfectious epidemic
Infectious epidemictaem
 
แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)
แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)
แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)Nattanara Somtakaew
 
Sti guideline nov.2013 version2
Sti guideline nov.2013 version2Sti guideline nov.2013 version2
Sti guideline nov.2013 version2elearning obste
 
เรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวมเรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวมWan Ngamwongwan
 
Surveillance Systems
Surveillance SystemsSurveillance Systems
Surveillance SystemsUltraman Taro
 
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกาคู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกาUtai Sukviwatsirikul
 

Similar to Pulmonary tuberculosis (20)

hand foot mouth
hand foot mouthhand foot mouth
hand foot mouth
 
Factsheet
FactsheetFactsheet
Factsheet
 
องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่
องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่
องค์ความรู้ (Factsheet) เรื่อง โรคติดต่ออุบัติใหม่
 
วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)วัณโรค (Tuberculosis)
วัณโรค (Tuberculosis)
 
Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23Finalpresentationl20 23
Finalpresentationl20 23
 
01 recent advance 2
01 recent advance 201 recent advance 2
01 recent advance 2
 
Infectious epidemic
Infectious epidemicInfectious epidemic
Infectious epidemic
 
แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)
แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)
แบคทีเรียแกรมบวกรูปร่างกลม(The Gram Positive Cocci)
 
Sti guideline nov.2013 version2
Sti guideline nov.2013 version2Sti guideline nov.2013 version2
Sti guideline nov.2013 version2
 
Meningitis And Encephalitis
Meningitis And EncephalitisMeningitis And Encephalitis
Meningitis And Encephalitis
 
Epidemiology of NCD
Epidemiology of NCDEpidemiology of NCD
Epidemiology of NCD
 
Meningitis
MeningitisMeningitis
Meningitis
 
Mdr icp 13 มิย 57
Mdr icp 13 มิย 57Mdr icp 13 มิย 57
Mdr icp 13 มิย 57
 
Mdr icp 13 มิย 57
Mdr icp 13 มิย 57Mdr icp 13 มิย 57
Mdr icp 13 มิย 57
 
เรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวมเรื่องปอดบวม
เรื่องปอดบวม
 
Clu1
Clu1Clu1
Clu1
 
Surveillance Systems
Surveillance SystemsSurveillance Systems
Surveillance Systems
 
CPG Thai Tuberculosis 2543
CPG Thai Tuberculosis 2543CPG Thai Tuberculosis 2543
CPG Thai Tuberculosis 2543
 
Sars
Sars Sars
Sars
 
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกาคู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
คู่มือการป้องกันควบคุมโรคติดเชื้อไวรัสซิกา
 

Pulmonary tuberculosis

  • 2. History A 32-year-old female of Thai origin reported to the pulmonology outpatient department with a history of productive cough ,sporadic hemoptysis, malaise,and nighttime fever and a 12- week duration of weight loss. She was a lifetime nonsmoker.Physical examination revealed no significant abnormalities,and normal breath sounds were noted during auscultation. Blood analysis showed a hemoglobin concentration of 7.1 mmol/liter, a white blood cell count of 15.1x109 cell/liter, and a C-reactive protein concentration of 29 mg/liter.The patient was seronegative for HIV. A sputum sample was submitted to the microbiology laboratory for microscopy and bacterial and mycobacterial cultures.The gram stain revealed a large number of leukocytes but no bacteria.
  • 3. History Fig 1:Gram stain of expectorated sputum sample. Arrows mark two of the slender, linear unstained structures.
  • 5. Differential Diagnosis Lung cancer Pneumocystis carinii pneumonia (PCP) Aspergillosis Pulmonary tuberculosis Opportunistic mycoses bacteria
  • 6. PCP Aspergillosis Pulmonary TB Lung cancer cough Nonproductive cough Coughing up blood Coughing up blood Coughing up blood Sporadic hemoptysis rare + + + malaise + + + + Fever Fever, Night sweats Fever Fever, Night sweats Fever, Night sweats weight loss + + + + Anemia - +/- + + High WBC + + + + Differential Diagnosis
  • 7.  Gram stain : a large number of leukocytes but no bacteria; several slender linear unstained structures fungi Ghost cell Aspergillosis PCP hyphae Differential Diagnosis
  • 9. Definition วัณโรค (Tuberculosis หรือ TB) เป็นโรคติดต่อที่เกิดจากเชื้อ แบคทีเรีย Mycobacterium  Mycobacterium มีหลายชนิด ที่พบบ่อยที่สุดและเป็นปัญหาในประเทศไทย คือ Mycobacterium tuberculosis  Mycobacterium africanum พบได้ในแถบอาฟริกา  Mycobacterium bovis มักก่อให้เกิดโรคในสัตว์ซึ่งอาจติดต่อมาถึงคนได้โดยการบริโภคนม ที่ไม่ได้ผ่านการฆ่าเชื้อ  Mycobacterium avium complex ที่พบได้ในผู้ติดเชื้อเอชไอวี
  • 10. Cause  สาเหตุของวัณโรค เชื้อวัณโรคจะแพร่กระจายจากปอด หลอดลม หรือกล่องเสียงของผู้ป่วยวัณโรค เมื่อผู้ป่วยไอ จาม เชื้อจะอยู่ในละอองฝอย(droplets)ของเสมหะที่ออกมาสู่อากาศ อนุภาคของ droplets ขนาดใหญ่มากมักจะตกลงสู่พื้นดินและแห้งไป เหลือส่วนที่เล็กที่สุดที่มีเชื้อวัณโรคจะลอยอยู่ในอากาศได้หลายชั่วโมง เมื่อคนสูดหายใจ เอาอากาศที่มีเชื้อวัณโรคเข้าสู่ร่างกาย droplets ของเชื้อที่มีขนาดส่วนเล็กๆ จะเข้าไปสู่ปอด
  • 11. Epidemiology  สถานการณ์วัณโรคของโลกในปัจจุบัน องค์การอนามัยโลกรายงานว่า 1 ใน 3 ของประชากรทั่วโลกติดเชื้อวัณโรคแล้ว  ความชุก (prevalence) ของผู้ป่วยวัณโรคมีประมาณ 12 ล้านคน  ในแต่ละปีมีผู้ป่วยรายใหม่ (incidence) ประมาณ 8.6 ล้านคน  ผู้ป่วยวัณโรคเสียชีวิตปีละประมาณ 1.3 ล้านคน  ประเทศไทยอยู่ในกลุ่ม 22 ประเทศที่มีปัญหาวัณโรคสูงและมีผู้ป่วยวัณโรครายใหม่ ประมาณ 80,000 รายต่อปีหรือคิดเป็นอัตราอุบัติการณ์119 ต่อประชากรแสนคน
  • 12. Symptom  coughing that continues for several days  coughing up blood  fever, including low-grade, consistent fever  excessive sweating  chest pain  unexplained weight loss  fatigue
  • 13. Who Is at Risk for TB Disease? Risk Factor ที่มา:http://lab24.co.za/blog/world-tb-day-2016/
  • 14. 1.อาการและอาการแสดง  อาการไอเรื้อรัง หรือไอเปนเลือด เหนื่อยออนเพลีย เบื่ออาหาร น้้าหนักลดเหงื่อออกตอนกลางคืน 2. การตรวจเสมหะหาด้วยกล้องจุลทรรศน์  AFB 3.การถ่ายภาพรังสีทรวงอก  TB ในระยะลุกลาม CXR:patchy infiltrate+cavity lesion  TB เก่า CXR:Fibroreticular infiltrate +/-calcification 4.การตรวจหาเสมหะโดยการเพาะเชื้อ 5.การตรวจทางอณูชีวิทยา 6.อื่น ๆ เช่น Tuberculin skin test ที่มา:http://budhosp.tripod.com/tb.htm ที่มา:http://www.scielo.br/scielo.php?script=sci _arttext&pid=S1806-37132010000200006 Diagnosis of tuberculosis
  • 15. ลักษณะทางคลินิกที่เข้าได้กับวัณโรค เสมหะย้อม AFB,CXR ย้อมเสมหะพบเชื้อ CXR เข้าได้กับวัณโรค ย้อมเสมหะไม่พบเชื้อ CXR ไม่เข้าได้กับวัณโรค ย้อมเสมหะไม่พบเชื้อ CXR เข้าได้กับวัณโรค สืบค้นหาโรคอื่น ส่งเสมหะเพาะเชื้อ และทดสอบความไว ของเชื้อวัณโรคต่อยา productive cough, sporadic hemoptysis, malaise, and nighttime fever Diagnosis of tuberculosis
  • 16.  Pathological Material  Sputum  Spot sputum  Nebulized sputum  Alternative sampling  Gastric Lavage  Laryngeal Swab  Bronchoscopy ที่มา:http://fromnewtoicu.com/sputum-sampl/ ที่มา:https://lookfordiagnosis.com/mesh_info.php?term=sputum&lang=1 Laboratory
  • 17.  Microscopical Detection  Direct smears Acid-fast Bacilli (AFB)  Ziehl – Neelsen technique  Kinyoun technique  Fluorescence microscopy ที่มา:http://medicalxpress.com/news/2016-06-genetic-blueprint- cunning-tuberculosis-bacteria.html ที่มา:http://www.druckerdiagnostics.com/tuberculosis Laboratory
  • 19.  Cultural Methods  Drug Susceptibility test  Nucleic acid amplification test (NAAT)  PCR  Xpert MTB/RIF assay ที่มา:http://lgcpublishing.com/tbdiagnosis.html ที่มา:http://web.stanford.edu/group/parasites/ParaSites2006/TB_Diagnosis/ Current%20Diagnostic%20Techniques.html Laboratory
  • 20.  Chest X-ray Bilateral Upper Lobe Infiltration Milliary TB ที่มา:https://diagnosisdude.com/about-2/xtracontent/tb-chest-x-rays/ ที่มา:http://radiopaedia.org/articles/calcified-pulmonary-nodules Radiography
  • 21.  Tuberculin skin test ที่มา:https://ufhealth.org/ppd-skin-test ที่มา:http://www.nursingceu.com/courses/386/index_nceu.html Immunological Test
  • 22.  การตรวจทางห้องปฏิบัติการทั่วไป  Blood analysis  C - reactive protein  การถ่ายภาพรังสีพิเศษ  การส่องกล้องตรวจหลอดลม  การตรวจสมรรถภาพปอด ที่มา:https://www.nlm.nih.gov/medlineplus/ency/article/003857.htm Others
  • 23.  เป็นเชื้อ “แกรมบวกรูปแท่ง”  บางครั้งอาจพบเซลล์ยาวเป็นสายและมีการแตกกิ่งได้ ไม่สามารถเคลื่อนที่ ไม่สร้างสปอร์  ย้อมติดสีกรัมได้ยาก จึงมักเห็นการติดสีไม่สมบูรณ์เป็นเอกลักษณ์ คล้ายจุดขนาดไม่สม่่าเสมอเรียงต่อกัน เรียกว่า “beaded rod”  บางครั้งอาจพบเพียงบริเวณที่ไม่ติดสีเป็นรูปร่างเซลล์อยู่บนพื้นฉากที่ติดสี เรียกลักษณะดังกล่าวว่า Ghost cell  มีคุณสมบัติทนต่อการล้างสีด้วยกรด การย้อมสีทนกรด (acid fast staining) จึงสามารถช่วยให้ตรวจพบเชื้อได้ จึงอาจเรียกเชื้อว่า “acid fast bacilli (AFB)” Mycobacterium
  • 25.  Mycobacterium (Gram’s stain)  Mycobacterium (Acid fast staining) Mycobacterium
  • 26. Mycobacterium tuberculosis complex  Mycobacterium tuberculosis  Mycobacterium bovis  Mycobacterium africanum  Mycobacterium microti Mycobacterium
  • 27. Mycobacterium tuberculosis  มีความสัมพันธ์กับการเกิดโรควัณโรคปอด  เชื้อสามารถก่อโรคได้ในสัตว์หลายชนิด  แต่เฉพาะคนที่เป็นแหล่งอาศัยโดยธรรมชาติของเชื้อ  ต้าแหน่งที่พบติดเชื้อได้บ่อยที่สุดคือปอด  การติดต่อระหว่างคนสู่คนเกิดขึ้นได้ผ่านทางการหายใจละอองอากาศที่ ปนเปื้อนเชื้อที่เรียกว่า droplet nuclei (infectious aerosols) ซึ่ง แพร่กระจายจากการไอจามของผู้ป่วย Mycobacterium
  • 28. Mycobacterium  พบเป็นสาเหตุก่อโรคในวัวควาย (bovine tuberculosis) และสัตว์อื่นอีก หลายชนิดทั้งในสัตว์ปีกและสัตว์เลี้ยงลูกด้วยนม  การติดเชื้อในคนพบได้น้อย สามารถก่อโรคในคนที่สัมผัสใกล้ชิดกับสัตว์ที่ ติดเชื้อ โดยอาจได้รับทางการหายใจหรือทางการกิน และติดต่อจากคน สู่คนได้ สามารถก่อวัณโรคปอดในคนที่มีลักษณะทางคลินิก เช่นเดียวกับ Mycobacterium tuberculosis  สายพันธุ์ Bacilli calmette Guerin (BCG) ได้ถูกน้ามาใช้ในการผลิต วัคซีนป้องกันวัณโรคในปัจจุบัน Mycobacterium bovis
  • 29. Mycobacterium africanum  พบก่อโรคในคนได้น้อยมาก โดยเป็นสาเหตุก่อโรควัณโรค ในทางตอนเหนือและ ตอนกลางของทวีปแอฟริกา Mycobacterium microti  เป็นเชื้อก่อโรคในสัตว์แทะ โดยเฉพาะ vole ซึ่งเป็นสัตว์ ขนาดเล็กคล้ายหนูในจีนัส microtus มีรายงานการก่อโรค คล้ายวัณโรคปอดในคนแต่พบ ได้น้อยมาก Mycobacterium
  • 30. Mycobacterium microti  เป็นเชื้อก่อโรคในสัตว์แทะโดยเฉพาะ vole ซึ่งเป็นสัตว์ขนาดเล็กคล้ายหนู ในจีนัส microtus มีรายงานการก่อโรคคล้ายวัณโรคปอดในคน แต่พบได้น้อยมาก
  • 32. ปัจจุบันมีการใช้ระบบยาที่ประกอบด้วย isoniazid, rifampicin, pyrazinamide, Streptomycin และethambutol ท้าให้สามารถย่นระยะเวลา ในการรักษาวัณโรค โดยขนาดยารักษาวัณโรคให้ค้านวณตามน้้าหนักตัว และเป็นการให้ยาในรูปแบบ fixed-dose combinations (FDCs) จะช่วยป้องกัน การเลือกรับ ประทานยาเองบางชนิด Treatment
  • 33. แบ่งสูตรยาเป็น 4 ประเภท คือ การรักษาระบบยาที่ 1 (CATEGORY 1) = CAT 1 : 2(3)HRZE (S) / 4HR การรักษาระบบยาที่ 2 (CATEGORY 2) = CAT 2 : 2HRZES / 1(2)HRZE / 5HRE การรักษาระบบยาที่ 3 (CATEGORY 3) = CAT 3 : 2HRZ/4 HR 4. การรักษาระบบยาที่ 4 (CATEGORY 4) = CAT 4 : Regimen ที่ใช้ Reserved drugs Treatment
  • 34. ผู้ป่วย Catagory 1 (CAT.1) : 2(3)HRZE/4HR ได้แก่ ผู้ป่วยใหม่ (New) คือผู้ป่วยที่ไม่เคยได้รับการรักษามาก่อนหรือได้รับ การรักษามาไม่เกิน 1 เดือน ที่มีผลย้อมเชื้อ(direct smear) เป็นบวกหรือผู้ป่วยที่มีอาการหนัก (severely ill) ซึ่งมีลักษณะทางคลินิกดังนี้ 1.Pulmonary tuberculosis วัณโรคปอดที่เสมหะเป็นลบด้วยวิธีย้อมเชื้อ แต่มีรอยโรคจาก ภาพรังสีทรวงอกค่อนข้างมาก 2.Extrapulmonary tuberculosis 2HRZE/4HR หมายถึง 2 เดือนแรกผู้ป่วยจะได้ยา 4 ขนานได้แก่ Isoniazid (H) Rifampicin (R) Pyrazinamide (Z) และ Ethambutol (E) รับประทานทุกวัน ระยะ 4 เดือนที่เหลือจะได้ยา 2 ขนานคือ Isoniazid และ Rifampicin รับประทานทุกวันหรือสัปดาห์ละ 3 ครั้ง รวมเวลาทั้งสิ้น 6 เดือน ในกรณีที่ผลตรวจเสมหะเมื่อสิ้นสุดเดือนที่ 2 ยังคงเป็นบวก จะต้องขยายเวลาในช่วง 2 เดือนแรก (initial phase) อีก 1 เดือนเป็น 3HRZE Treatment
  • 35. ผู้ป่วย Catagory 2 (CAT.2) : 2HRZES/1(2)HRZE/5HRE ได้แก่ ผู้ป่วยวัณโรค กลับเป็นซ้้า relapse (เคยรักษาวัณโรควินิจฉัยว่าหายแล้ว ต่อมากลับเป็นอีกโดยผลเสมหะยังเป็นบวก) หรือผู้ป่วยมีผลการรักษาล้มเหลว failure โดย 2 เดือนแรกผู้ป่วยจะได้ยา 5 ขนาน รับประทานทุกวัน 4 ชนิดคือ H, R, Z และE โดยมียาฉีด 1 ขนานคือ Streptomycin ฉีดสัปดาห์ละ 5 วัน แต่ในกรณีที่ผลตรวจเสมหะ เมื่อสิ้นสุดเดือนที่ 2 ยังคงเป็นบวก จะต้องขยายเวลาในช่วงแรกอีก 1 เป็น 2HRZES/2HRZE/5HRE ที่มา:https://www.meningitisnow.org/meningitis-explained/what- meningitis/meningitis-vaccines/current-vaccines/ ที่มา:http://health.howstuffworks.com/wellness/preventive-care/vaccine.htm Treatment
  • 36. ผู้ป่วย Catagory 3 (CAT.3) : 2HRZ/4HR ได้แก่ ผู้ป่วยวัณโรค ที่เสมหะเป็นลบด้วยวิธีย้อมเชื้อ (direct smear)เป็นลบอย่างน้อย 3 ครั้งต่างวันกัน (spot sputum 1 ครั้ง และ collect sputum 2 ครั้ง) มีภาพรังสีทรวงอก minimum infiltration และได้ผลดีใน ผู้ป่วยที่ผลตรวจเสมหะด้วยวิธีเพาะเชื้อเป็นบวก แต่ผลตรวจเสมหะด้วยวิธีย้อมเชื้อเป็นลบ อย่างน้อย 3 ครั้งต่างวันกัน ส้าหรับวัณโรคต่อมน้้าเหลือง ซึ่งเป็น extrapulmonary tuberculosis ซึ่งพบได้บ่อย ในประเทศไทย ก็สามารถใช้ CAT.3 ได้ผลดีเช่นกัน (แต่ถ้าขนาดของต่อมน้าเหลือง ยังคงไม่เล็กลง อาจให้ INH(Isoniazid) ชนิดเดียวต่ออีก 4 เดือน) Treatment
  • 37. ผู้ป่วย Catagory 4 (CAT.4) : H ได้แก่ ผู้ป่วยเรื้อรังที่การรักษาล้มเหลวโดยเฉพาะจาก CAT.2 ให้ยา second line drugs คือ Isoniazid เพียงอย่างเดียว ที่มา:http://gwinnettlung.com/conditions/pulmonary-tuberculosis.php Treatment