SlideShare a Scribd company logo
1 of 16
Download to read offline
สถานการณ์ปัญหา (Problem-based learning)
กระทรวงศึกษาธิการต้องการให้ท่านเลือกและสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ให้
เหมาะสมกับบริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งคือ โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ โรงเรียนมหาชัย
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ
โรงเรียนเปรมสวัสดิ์ เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลความเจริญ ไม่มีการเชื่อมโยง
เครือข่ายอินเตอร์เน็ต แต่พอจะมีคอมพิวเตอร์ใช้บ้าง ซึ่งเป็นห้องคอมพิวเตอร์
สาหรับนักเรียน ความต้องการของโรงเรียนคืออยากจะได้สื่อที่มาแก้ปัญหาการเรียน
การสอนที่ช่วยกระตุ้นให้เด็กมีความสนใจในการเรียนมากขึ้น สื่อนี้สามารถทาให้เด็ก
เห็นสภาพเสมือนจริง (Realistic) และเหมาะสมกับการศึกษารายบุคคล โดย
ผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อโดยตรงอาจจะมี ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือ วีดิ
ทัศน์ ประกอบอยู่ในสื่อนั้น เพื่อสร้างความตื่นเต้นน่าสนใจ และสามารถย้อนทบทวน
ส่วนที่ต้องการได้โดยไม่มีข้อจากัด มีการประเมินเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของตนเองได้
อาจจะออกแบบมาในลักษณะของเกม หรือลักษณะที่กระตุ้นให้ผู้เรียนให้มีความ
กระตือรือร้นมากขึ้นทั้งนี้ก็สอดแทรกเนื้อหาวิชาการเข้าไว้อย่างเหมาะสม
โรงเรียนมหาชัย ต้องการนวัตกรรมที่สามารถแก้ไขข้อจากัดด้าน
สถานที่ และเวลา โดยประยุกต์ใช้คุณสมบัติ เวิล์ด ไวด์ เว็บ ที่โรงเรียนมี
อยู่ ในการจัดสภาพแวดล้อมและสนับสนุนการเรียนการสอน สิ่งแรกที่
ต้องมีคือการลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านเข้าเรียน หลังจากนั้นผู้เรียน
ศึกษาเนื้อหาอาจเป็นการอ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหาลงมาที่เครื่องของ
ตน หรือสั่งพิมพ์ทางเครื่องพิมพ์เพื่อศึกษาภายหลังก็ได้ ผู้เรียนสามารถ
กาหนดการเรียนได้ด้วยตนเอง (Self-directed) เปิดโอกาสให้เลือก
เรียนได้ตามสะดวก สามารถ กาหนดกรอบเวลาในการเรียนรู้ได้
เหมาะสมกับความสามารถในการเรียนรู้ของตนเอง คลอบคลุมทั้งการ
เรียนแบบประสานเวลา (Synchronous Learning) และไม่
ประสานเวลา (Asynchronous Learning) และสามารถถาม
คาถาม ทาแบบฝึกหัด ทารายงานกลุ่ม อภิปรายแลกเปลี่ยนความคิดเห็น
แก่ผู้เรียนคนอื่น ๆ ได้ และยังสามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุก
สถานที่
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ ต้องการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้
ที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถสร้างความรู้ด้วยตนเอง โดยการเผชิญ
สถานการณ์ปัญหา มีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้สืบค้น เมื่อไม่สามารถ
แก้ปัญหาได้ก็มีฐานความช่วยเหลือ พร้อมทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุน
การร่วมมือกันแก้ปัญหา สามารถแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกัน
ได้ตลอดเวลา นอกจากนี้นวัตกรรมที่พัฒนาขึ้นต้องสามารถนามาใช้
ได้ในหลายบริบทเนื่องจากผู้เรียนมีความแตกต่างกัน บางกลุ่มชอบที่
จะเรียนบนเครือข่าย บางกลุ่มชอบที่จะเรียนแบบมัลติมีเดีย และบาง
กลุ่มชอบที่จะสามารถนาไปใช้เรียนได้ทุกสถานที่ไม่ว่าจะเป็นใต้ร่มไม้
หรือสถานที่ที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ก็สามารถใช้เรียนรู้เพื่อให้เกิด
ประสิทธิภาพได้
ภารกิจการเรียนรู้
1. อธิบายความหมายและจาแนกประเภทของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
2. วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียน
ทั้ง 3 แห่งนี้
3. จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่ 7 ให้นักศึกษาเสนอ
นวัตกรรมการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับลักษณะวิชาเอกที่นักศึกษาจะปฏิบัติ
หน้าที่สอน พร้อมทั้งอธิบายเหตุผล
สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
ในปัจจุบันแนวการจัดการศึกษาได้เปลี่ยนจาก “การสอน หรือการถ่ายทอด
โดยครูผู้สอน หรือสื่อการสอน” มาสู่ “การเน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลางที่ให้
ความสาคัญต่อการเรียนรู้ของผู้เรียน” โดยผ่านการปฏิบัติลงมือกระทาด้วย
ตนเอง การพัฒนาศักยภาพทางการคิด ตลอดจนการแสวงหาความรู้ด้วยตนเอง ซึ่ง
เป็นการเปิดโอกาสให้ผู้เรียน วางแผน ดาเนินการและการประเมินตนเอง และมี
ปฏิสัมพันธ์กับแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ได้แก่ ครู เทคโนโลยี พ่อแม่ ภูมิปัญญาท้องถิ่น
และบุคคลอื่น ๆ ตลอดจน สื่อต่างๆ เพื่อที่จะนามาสู่การสร้างความรู้
1.สถานการณ์ปัญหา
2.แหล่งเรียนรู้
3.ฐานความช่วยเหลือ
4.การโค้ช
5.การร่วมมือกันแก้ปัญหา
ผู้เรียนเกิดการคิดไตร่ตรอง
1) สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่าย
ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
2) มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคติวิสต์
3) ชุดสร้างความรู้
อาจจะใช้นวัตกรรมทางการศึกษาที่เป็นรูปแบบ บทเรียนโปรแกรม หรือ
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน ก็ได้เพราะบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนมีขั้นตอนในการ
นาเสนอเนื้อหาเช่นเดียวกับการสอนแบบโปรแกรม การสร้างบทเรียนจึงใช้วิธี
เดียวกันกับการสร้างบทเรียนโปรแกรมนั่นเอง
บทเรียนโปรแกรม
บทเรียนโปรแกรม เป็นบทเรียนที่เสนอเนื้อหาในรูปของกรอบ หรือเฟรม
(Frame) โดยแบ่งเนื้อหาเป็นหน่วยย่อยๆ ให้ผู้เรียนได้เรียนด้วยตนเองทีละน้อย
แล้วมีคาถามให้ผู้เรียนได้ตอบคาถามและมีเฉลยให้ผู้เรียนได้ทราบผลทันที
ซึ่งเป็นโปรแกรมการเรียนการสอนโดยใช้เครื่องคอมพิวเตอร์บันทึก
เนื้อหาวิชา ที่มีทั้งอักษร ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว กราฟ แผนภูมิ
ภาพเคลื่อนไหวและเสียง ลาดับวิธีการเสนอองค์ความรู้ต่างๆ ที่จะให้ผู้เรียนได้
เรียนรู้เนื้อหาวิชา มีส่วนร่วมและสนองต่อการเรียนรู้อย่างแข็งขันเพื่อบรรลุผล
ตามความมุ่งหมายของรายวิชา (ยืน ภู่สุวรรณ, 2532; ถนอมพร เลาหจรัสแสง ,
2541)
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน (ต่อ)
โรงเรียนมหาชัย
ควรที่จะใช้นวัตกรรมทางการศึกษาที่เป็นรูปแบบ E-Learning เป็น
นวัตกรรมทางการศึกษาที่เปลี่ยนแปลงวิธีเรียนที่เป็นอยู่เดิม เป็นการเรียนที่
ใช้เทคโนโลยีที่ก้าวหน้า เช่น อินเทอร์เน็ต
แคมป์ เบล (Campbell, 1999) ให้ความหมายของ E-Learning ว่า
เป็นการใช้เทคโนโลยีที่มีอยู่ในอินเทอร์เน็ตเพื่อสร้างการศึกษาที่มีปฎิสัมพันธ์ และ
การศึกษาที่มีคุณภาพสูง ที่ผู้คนทั่วโลกมีความสะดวกและสามารถเข้าถึงได้ไม่
จาเป็นต้องจัดการศึกษาที่ต้องกาหนดเวลาและสถานที่ เปิดประตูของการเรียนรู้
ตลอดชีวิตให้กับประชากร
ควรที่จะใช้สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคติวิสต์ มาใช้
เพราะโรงเรียนต้องการออกแบบนวัตกรรมการเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถสร้าง
ความรู้ด้วยตนเอง โดยการเผชิญสถานการณ์ปัญหา มีแหล่งเรียนรู้ให้ผู้เรียนได้
สืบค้น ดังนั้นแล้วจึงเหมาะสมที่สุดในการใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ตามแนวคอน
สตรัคติวิสต์
มัลติมีเดีย
นวัตกรรมที่สอดคล้องกับการสอนภาษาจีนนั้น หรือแม้แต่ภาษาอื่นๆควรจะ
เป็น สื่อมัลติมิเดีย เพราะปัจจุบัน มัลติมีเดีย เข้ามามีบทบาทมากขึ้นในวงการ
ธุรกิจและอุตสาหกรรม โดยเฉพาะได้นามาใช้ในการฝึกอบรมและให้ความบันเทิง
ส่วนในวงการศึกษามัลติมีเดียได้นามาใช้เพื่อการเรียนการสอนในลักษณะแผ่น
ซีดีรอม หรืออาจใช้ในลักษณะห้องปฏิบัติการมัลติมีเดียโดยเฉพาะก็ได้
ตัวอักษร ภาพนิ่ง เสียง
ภาพเคลื่อนไหว การเชื่อมโยงแบบปฏิสัมพันธ์
และวีดิทัศน์
การใช้มัลติมีเดียก็เพื่อเป็นวิธีการเรียนรู้ที่ทาให้นักเรียน
ได้รับประสบการณ์ตรงก่อนการลงมือปฏิบัติจริงโดยสามารถที่
จะทบทวนขั้นตอนและกระบวนการได้เป็นอย่างดี นักเรียนอาจ
เรียนหรือฝึกซ้าได้ และใช้มัลติมีเดียในการฝึกภาษาต่างประเทศ
โดยเน้นเรื่องของการออกเสียงและฝึกพูด ดังนั้นแล้วมัลติมีเดีย
จึงเหมาะเป็นอย่างยิ่งในรูปแบบบริบทของแต่ละสถาณศึกษา
เพราะเป็นสิ่งที่หาได้ง่ายและสะดวกในการใช้ที่สุด
ต่อ
สมาชิกกลุ่ม
1. นาย ฤทธินันท์ ห่อคนดี 523050372-1
2. นางสาวสุธาสินี วิลัยปาน 523050379-7
3. นางสาวเสาวภา แสงวุธ 533050448-5
4. นางสาวเสาวลักษณ์ แสงวุธ 533050450-8

More Related Content

What's hot

บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาB'nust Thaporn
 
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาPrakaidao Suebwong
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาThamonwan Kottapan
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาNidnoy Thanyarat
 
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษางานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาPui Chanisa Itkeat
 
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดงChapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดงFame Suraw
 

What's hot (13)

Chapter7
Chapter7 Chapter7
Chapter7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Innovation chapter 7 p
Innovation chapter 7 pInnovation chapter 7 p
Innovation chapter 7 p
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษางานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดงChapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง
Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง
 

Viewers also liked

การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาbtusek53
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาitedu355
 
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศKunnanatya Pare
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Aon Onuma
 
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Prakaidao Suebwong
 
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015Klangpanya
 
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ Itt Bandhudhara
 

Viewers also liked (8)

การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษาการจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
การจัดการนวัตกรรมทางการศึกษา
 
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษาความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
ความหมาย ทฤษฎีด้านนวัตกรรมเพื่อการศึกษา
 
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลกระทบเชิงลบของนวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศ
 
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
Chapter6 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้
 
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 201510 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
10 นวัตกรรมการพัฒนาเมืองอย่างยั่งยืนประจำปี 2015
 
นวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษานวัตกรรมทางการศึกษา
นวัตกรรมทางการศึกษา
 
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์ การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
การทดสอบประสิทธิภาพสื่อหรือชุดการสอน โดย ศาสตราจารย์ ดร.ชัยยงค์ พรหมวงศ์
 

Similar to CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา

Similar to CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา (18)

Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7
บทท  7บทท  7
บทท 7
 
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Charpter7miii
Charpter7miiiCharpter7miii
Charpter7miii
 
1413315061 chapter7
1413315061 chapter71413315061 chapter7
1413315061 chapter7
 
งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]
Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]
Chapter7 [โหมดความเข้ากันได้]
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 

More from Aa-bb Sangwut

Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ  วิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ  วิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้Aa-bb Sangwut
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาAa-bb Sangwut
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Aa-bb Sangwut
 
CHAPTER 1 เทคโนโลยีและสื่อนวัตกรรมการศึกษา
CHAPTER 1 เทคโนโลยีและสื่อนวัตกรรมการศึกษาCHAPTER 1 เทคโนโลยีและสื่อนวัตกรรมการศึกษา
CHAPTER 1 เทคโนโลยีและสื่อนวัตกรรมการศึกษาAa-bb Sangwut
 

More from Aa-bb Sangwut (6)

Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ  วิธีการจัดการเรียนรู้Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ  วิธีการจัดการเรียนรู้
Chapter 9 การเลือกใช้สื่อและ วิธีการจัดการเรียนรู้
 
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษาChapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
Chapter 6 เทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
 
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
Chapter 5 คอมพิวเตอร์เพื่อการเรียนรู้
 
CHAPTER 1 เทคโนโลยีและสื่อนวัตกรรมการศึกษา
CHAPTER 1 เทคโนโลยีและสื่อนวัตกรรมการศึกษาCHAPTER 1 เทคโนโลยีและสื่อนวัตกรรมการศึกษา
CHAPTER 1 เทคโนโลยีและสื่อนวัตกรรมการศึกษา
 
Chapter2
Chapter2Chapter2
Chapter2
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 

CHAPTER 7 นวัตกรรมทางการศึกษา