SlideShare a Scribd company logo
1 of 14
241 208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
Chapter 7 
นวัตกรรมทางการศึกษา
241 208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
สถานการณ์ปัญหา 
กระทรวงศึกษาธิการต้องการให้ท่านเลือกและสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ให้เหมาะสมกับ 
บริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งคือ โรงเรียนเปรมสวัสด์ิ โรงเรียนมหาชัย โรงเรียนเทศบาลวัด 
ธาตุ โรงเรียนเปรมสวัสด์ิ เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลความเจริญ ไม่มีการเชื่อมโยงเครือข่าย 
อินเตอร์เน็ต แต่พอจะมีคอมพิวเตอร์ใช้บ้าง ซึ่งเป็นห้องคอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียน ความ 
ต้องการของโรงเรียนคืออยากจะได้สื่อที่มาแก้ปัญหาการเรียนการสอนที่ช่วยกระตุ้นให้เด็ก มี 
ความสนใจในการเรียนมากขึ้น สื่อนี้สามารถทาให้เด็กเห็นสภาพเสมือนจริง และเหมาะสมกับ 
การศึกษารายบุคคล โดยผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อโดยตรงอาจจะมี ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว 
เสียง หรือ วีดิทัศน์ ประกอบอยู่ในสื่อนั้น เพื่อสร้างความตื่นเต้นน่าสนใจ และสามารถย้อน 
ทบทวนส่วนที่ต้องการได้โดยไม่มีข้อจากัด มีการประเมินเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของตนเองได้ 
อาจจะออกแบบมาในลักษณะของเกม หรือลักษณะที่กระตุ้นให้ผู้เรียนให้มีความกระตือรือร้น 
มากขึ้นทั้งนี้ก็สอดแทรกเนื้อหาวิชาการเข้าไว้อย่างเหมาะสม
241 208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
โรงเรียนมหาชัย ต้องการนวัตกรรมที่สามารถแก้ไขข้อจากัดด้านสถานที่และเวลา โดยประยุกต์ ใช้คุณสมบัติ 
เวิล์ดไวด์เว็บที่โรงเรียนมีอยู่ในการจัดสภาพแวดล้อมและสนับสนุนการเรียนการสอน สิ่งแรกที่ต้องมีคือ การ 
ลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านเข้าเรียน หลังจากนั้นผู้เรียนศึกษาเนื้อหาอาจเป็นการ อ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหา 
ลงมาที่เครื่องของตน หรือสั่งพิมพ์ทางเครื่องพิมพ์เพื่อศึกษาภายหลังก็ได้ ผู้เรียนสามารถกา หนดการเรียนได้ 
ด้วยตนเอง เปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้ตามสะดวก สามารถกา หนด กรอบเวลาในการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับ 
ความสามารถในการเรียนรู้ของตนเอง คลอบคลุมทั้งการเรียน แบบประสานเวลา และไม่ประสานเวลาและ 
สามารถถามคาถาม ทาแบบฝึกหัด ทารายงานกลุ่ม อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นแก่ผู้เรียนคนอื่น ๆ ได้ 
และยังสามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ทุกที่ทุกเวลาทุกสถานที่ โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ ต้องการออกแบบนวัตกรรม 
การเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถสร้าง ความรู้ด้วยตนเอง โดยการเผชิญสถานการณ์ปัญหา มีแหล่งเรียนรู้ให้ 
ผู้เรียนได้สืบค้น เมื่อไม่สามารถ แก้ปัญหาได้ก็มีฐานความช่วยเหลือ พร้อมทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุนการ 
ร่วมมือกันแก้ปัญหา สามารถ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้ตลอดเวลา นอกจากนี้นวัตกรรมที่ 
พัฒนาขึ้นต้องสามารถนามาใช้ ได้ในหลายบริบท เนื่องจากผู้เรียนมีความแตกต่างกัน บางกลุ่มชอบที่จะเรียน 
บนเครือข่าย บางกลุ่มชอบที่ จะเรียนแบบมัลติมีเดีย และบางกลุ่มชอบที่จะสามารถนาไปใช้เรียนได้ทุกสถานที่ 
ไม่ว่าจะเป็นใต้ร่มไม้ หรือสถานที่ที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ ก็สามารถใช้เรียนรู้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพได้
241 208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
ภารกิจที่ 1 
อธิบายความหมายและจาแนกประเภท ของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
241 208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
ความหมายสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคตวิิสต์ 
เป็นการออกแบบที่ประสานร่วมกันระหว่าง “สื่อ (Media)” กับ 
“วิธีการ (Methods)” มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบร่วมกับสื่อ ซึ่งมีคุณลักษณะ 
ของสื่อ และระบบสัญลักษณ์ของสื่อที่สนับสนุนการสร้างความรู้ของผู้เรียน
241 208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
1.สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์เป็นการออกแบบโดย 
ใช้ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เป็นพื้นฐานที่ประสานร่วมกับคุณลักษณะ ของสื่อบนเครือข่าย 
ที่สนองต่อการสร้างความรู้ของผู้เรียน 
2.มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคติวิสต์เป็นการนาทฤษฎีคอนสตรัคติวสิต์มาเป็นพื้นฐานใน 
การออกแบบ โดยประสานร่วมกับ คุณลักษณะของมัลติมีเดียที่นาเสนอทั้งข้อความ 
ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง รวมทั้งการ เชื่อมโยงหลายมิติ 
3.ชุดสร้างความรู้ เป็นการนาทฤษฎีคอนสตรัคติวสิต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ โดย 
ประสานร่วมกับการ นาสื่อประเภทต่างๆ
241 208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
ภารกิจที่ 2 
วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่ง 
นี้
241 208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
โรงเรียนเปรมสวัสด์ิ 
คอมพิวเตอร์ช่วยสอน 
เพราะ เป็นโปรแกรมการเรียนการสอนโดยใช้เครื่อง 
คอมพิวเตอร์บันทึกเนือ้หาวิชาที่มีทัง้อักษร ข้อความ 
ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว กราฟ แผนภูมิภาพเคลื่อนไหว 
และเสียง โดยให้ความรู้แก่ผู้เรียน มีคาถามเพื่อให้ ผู้เรียน 
ตอบ มีการประเมินผลคาตอบของผู้เรียนทันที เป็นแบบ 
การฝึกทักษะหรือฝึกปฏิบัติ มีการจาลอง สถานการณ์เพื่อ 
การเรียนรู้ที่ใกล้เคียงกับความจริง หรือ เป็นเกม ให้ผู้เรียน 
ได้เลือกเล่นและแข่งขัน ที่สอดแทรก ด้วยเนือ้หาความรู้ 
เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้เรียนนนั่เอง
241 208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
โรงเรียนมหาชัย 
E-learning 
1) ผู้เรียนเข้าเว็บได้ทุกเวลา และเป็นผู้กา หนดลาดับการเข้า 
เว็บนั้น หรือตามลาดับที่ผู้ออกแบบได้ให้แนวทางไว้ 
2) การเรียนการสอนผ่านเครือข่ายจะเป็นไปได้ดีถ้าเป็นไป 
ตาม สภาพแวดล้อมตามแนวคิดของนักคอนสตรัคติวิสต์ 
กล่าวคือมีการ เรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์และเรียนรู้ร่วมกัน 
3) ผู้สอนเปลี่ยนแปลงตนเองจากการเป็นผู้กระจายถ่ายทอด 
ข้อมูลมา เป็นผู้ช่วยเหลือผู้เรียนในการค้นหา การประเมิน 
และการใช้ประโยชน์ จากสารสนเทศที่ค้นมาจากสื่อ 
หลากหลาย 4) การเรียนรู้เกิดขึ้นในลักษณะเกี่ยวข้องกัน 
หลายวิชา และไม่กา หนด ว่าจะต้องบรรลุจุดประสงค์การ 
เรียนรู้ในเวลาที่กา หนด
241 208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ 
หน่วยการเรียน-การสอน 
เป็นบทเรียนที่ใช้เรียนเป็นรายบุคคล และเป็นกลุ่มใหญ่ได้ มี 
ลักษณะ เด่นคือ มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย 
เพื่อ ตอบสนองต่อความแตกต่างระหว่างบุคคล มี ส่วนประกอบหลัก 
ได้แก่ ความมุ่งหมาย กิจกรรมการเรียนการสอน การประเมินผล 
ลักษณะของหน่วยการเรียนการสอน 
•โปรแกรมทั้งหมดถูกขยายเป็นส่วนๆ เพื่อไม่ให้เกิดความซ้า ซ้อน 
และสามารถมองเห็นโครงร่างทั้งหมดของโปรแกรม 
•ยึดตัวผู้เรียนเป็นศูนย์กลางในการจัดระบบการเรียนการสอน 
•มีจุดประสงค์ในการเรียนที่ชัดเจน 
• เน้นการเรียนด้วยตนเอง 
•ใช้วิธีการสอนแบบต่างๆไว้หลายอย่าง 
• เน้นการนาเอาวิธีระบบ (System Approach) เข้ามาใช้ใน 
การสร้าง
241 208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
ภารกิจที่ 3 
จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่7 ให้นักศึกษาเสนอนวัตกรรมการ 
เรียนรู้ที่สอดคล้องกับ ลักษณะวิชาเอกที่นักศึกษาจะปฏิบัติหน้าทสี่อน พร้อมท้งั 
อธิบายเหตุผล
241 208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 
เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง 
การเรียนรู้ของผู้เรียน ผ่านการปฏิบัติ 
ลงมือกระทาด้วยตนเอง 
ทฤษฎีคอนสตรัคตวิิสต์หลักการที่สา คัญ 
สถานการณ์ปัญหา 
แหล่งเรียนรู้ 
ฐานความช่วยเหลือ 
การโค้ช 
การร่วมมือกันแก้ปัญหา 
ครูจะต้องเป็นผู้จัดสิ่งแวดล้อม ที่เอื้อต่อการ 
เรียนรู้
กลุ่ม หนูน้อยหมวกแดง 
นายธนวัฒน์ นานอก รหัสนักศึกษา 563050079-3 
นายณัฐวัตร ธรรมเที่ยง รหัสนักศึกษา 563050356-3 
นายสุรวุฒิ สุขบัติ รหัสนักศึกษา 563050150-3 
นายสมบัติ ตันจินดารัตน์ รหัสนักศึกษา 563050304-2
ขอบคุณครับ

More Related Content

What's hot

Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาWuth Chokcharoen
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาNidnoy Thanyarat
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาB'nust Thaporn
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาThamonwan Kottapan
 
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษางานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษาPui Chanisa Itkeat
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาlalidawan
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5oraya-s
 

What's hot (16)

Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Inno present chapt7
Inno present chapt7Inno present chapt7
Inno present chapt7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษาChapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
Chapter 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter7
Chapter7 Chapter7
Chapter7
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่7นวัตกรรมทางการศึกษา
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษางานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
งานที่ 7 นวัตกรรมการศึกษา
 
Chapter7
Chapter7Chapter7
Chapter7
 
Innovation chapter 7 p
Innovation chapter 7 pInnovation chapter 7 p
Innovation chapter 7 p
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
สถานการณ์ปัญหาบทที่ 5
 

Viewers also liked

Java essence part 1
Java essence part 1Java essence part 1
Java essence part 1HanRu Yeh
 
งานสมุดเล่มเล็ก
งานสมุดเล่มเล็กงานสมุดเล่มเล็ก
งานสมุดเล่มเล็กFame Suraw
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กNichaya100376
 

Viewers also liked (6)

String object
String objectString object
String object
 
Java essence part 1
Java essence part 1Java essence part 1
Java essence part 1
 
String in java
String in javaString in java
String in java
 
Strings in Java
Strings in JavaStrings in Java
Strings in Java
 
งานสมุดเล่มเล็ก
งานสมุดเล่มเล็กงานสมุดเล่มเล็ก
งานสมุดเล่มเล็ก
 
หนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็กหนังสือเล่มเล็ก
หนังสือเล่มเล็ก
 

Similar to Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง

บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาKanatip Sriwarom
 
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาSattakamon
 
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังChapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังTannoi Tesprasit
 
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้Nichaya100376
 
งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7Pronsawan Petklub
 
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาNoom Theerayut
 
งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7Markker Promma
 

Similar to Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง (18)

บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ 7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
บทท 7
บทท  7บทท  7
บทท 7
 
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษาบทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
บทที่7 นวัตกรรมการศึกษา
 
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซังChapter 7 by โจโจ้ซัง
Chapter 7 by โจโจ้ซัง
 
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้
บทที่7นวัตกรรมทางการเรียนรู้
 
Charpter7miii
Charpter7miiiCharpter7miii
Charpter7miii
 
งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7งานกลุ่ม Chapter 7
งานกลุ่ม Chapter 7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)Chap.7 (problem)
Chap.7 (problem)
 
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษาบทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
บทที่ึ7 นวัตกรรมทางการศึกษา
 
งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7งานนำเสนอ Chapter 7
งานนำเสนอ Chapter 7
 
1413315061 chapter7
1413315061 chapter71413315061 chapter7
1413315061 chapter7
 
Chapter 7
Chapter 7Chapter 7
Chapter 7
 
ภาระกิจ บทที่ 7
ภาระกิจ บทที่ 7ภาระกิจ บทที่ 7
ภาระกิจ บทที่ 7
 

Chapter 7 กลุ่มหนูน้อยหมวกแดง

  • 2. 241 208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ สถานการณ์ปัญหา กระทรวงศึกษาธิการต้องการให้ท่านเลือกและสร้างนวัตกรรมการเรียนรู้ ให้เหมาะสมกับ บริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่งคือ โรงเรียนเปรมสวัสด์ิ โรงเรียนมหาชัย โรงเรียนเทศบาลวัด ธาตุ โรงเรียนเปรมสวัสด์ิ เป็นโรงเรียนที่อยู่ห่างไกลความเจริญ ไม่มีการเชื่อมโยงเครือข่าย อินเตอร์เน็ต แต่พอจะมีคอมพิวเตอร์ใช้บ้าง ซึ่งเป็นห้องคอมพิวเตอร์ สาหรับนักเรียน ความ ต้องการของโรงเรียนคืออยากจะได้สื่อที่มาแก้ปัญหาการเรียนการสอนที่ช่วยกระตุ้นให้เด็ก มี ความสนใจในการเรียนมากขึ้น สื่อนี้สามารถทาให้เด็กเห็นสภาพเสมือนจริง และเหมาะสมกับ การศึกษารายบุคคล โดยผู้เรียนมีปฏิสัมพันธ์กับสื่อโดยตรงอาจจะมี ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว เสียง หรือ วีดิทัศน์ ประกอบอยู่ในสื่อนั้น เพื่อสร้างความตื่นเต้นน่าสนใจ และสามารถย้อน ทบทวนส่วนที่ต้องการได้โดยไม่มีข้อจากัด มีการประเมินเพื่อแก้ไขข้อบกพร่องของตนเองได้ อาจจะออกแบบมาในลักษณะของเกม หรือลักษณะที่กระตุ้นให้ผู้เรียนให้มีความกระตือรือร้น มากขึ้นทั้งนี้ก็สอดแทรกเนื้อหาวิชาการเข้าไว้อย่างเหมาะสม
  • 3. 241 208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ โรงเรียนมหาชัย ต้องการนวัตกรรมที่สามารถแก้ไขข้อจากัดด้านสถานที่และเวลา โดยประยุกต์ ใช้คุณสมบัติ เวิล์ดไวด์เว็บที่โรงเรียนมีอยู่ในการจัดสภาพแวดล้อมและสนับสนุนการเรียนการสอน สิ่งแรกที่ต้องมีคือ การ ลงทะเบียนเพื่อขอรหัสผ่านเข้าเรียน หลังจากนั้นผู้เรียนศึกษาเนื้อหาอาจเป็นการ อ่านบนจอหรือโหลดเนื้อหา ลงมาที่เครื่องของตน หรือสั่งพิมพ์ทางเครื่องพิมพ์เพื่อศึกษาภายหลังก็ได้ ผู้เรียนสามารถกา หนดการเรียนได้ ด้วยตนเอง เปิดโอกาสให้เลือกเรียนได้ตามสะดวก สามารถกา หนด กรอบเวลาในการเรียนรู้ได้เหมาะสมกับ ความสามารถในการเรียนรู้ของตนเอง คลอบคลุมทั้งการเรียน แบบประสานเวลา และไม่ประสานเวลาและ สามารถถามคาถาม ทาแบบฝึกหัด ทารายงานกลุ่ม อภิปราย แลกเปลี่ยนความคิดเห็นแก่ผู้เรียนคนอื่น ๆ ได้ และยังสามารถเข้าถึงเนื้อหาได้ทุกที่ทุกเวลาทุกสถานที่ โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ ต้องการออกแบบนวัตกรรม การเรียนรู้ที่เน้นให้ผู้เรียนสามารถสร้าง ความรู้ด้วยตนเอง โดยการเผชิญสถานการณ์ปัญหา มีแหล่งเรียนรู้ให้ ผู้เรียนได้สืบค้น เมื่อไม่สามารถ แก้ปัญหาได้ก็มีฐานความช่วยเหลือ พร้อมทั้งมีเครื่องมือที่สนับสนุนการ ร่วมมือกันแก้ปัญหา สามารถ แลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันได้ตลอดเวลา นอกจากนี้นวัตกรรมที่ พัฒนาขึ้นต้องสามารถนามาใช้ ได้ในหลายบริบท เนื่องจากผู้เรียนมีความแตกต่างกัน บางกลุ่มชอบที่จะเรียน บนเครือข่าย บางกลุ่มชอบที่ จะเรียนแบบมัลติมีเดีย และบางกลุ่มชอบที่จะสามารถนาไปใช้เรียนได้ทุกสถานที่ ไม่ว่าจะเป็นใต้ร่มไม้ หรือสถานที่ที่ไม่มีคอมพิวเตอร์ ก็สามารถใช้เรียนรู้เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพได้
  • 4. 241 208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ ภารกิจที่ 1 อธิบายความหมายและจาแนกประเภท ของสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้
  • 5. 241 208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ ความหมายสิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้ตามแนวคอนสตรัคตวิิสต์ เป็นการออกแบบที่ประสานร่วมกันระหว่าง “สื่อ (Media)” กับ “วิธีการ (Methods)” มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบร่วมกับสื่อ ซึ่งมีคุณลักษณะ ของสื่อ และระบบสัญลักษณ์ของสื่อที่สนับสนุนการสร้างความรู้ของผู้เรียน
  • 6. 241 208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ 1.สิ่งแวดล้อมทางการเรียนรู้บนเครือข่ายตามแนวคอนสตรัคติวิสต์เป็นการออกแบบโดย ใช้ทฤษฎีคอนสตรัคติวิสต์เป็นพื้นฐานที่ประสานร่วมกับคุณลักษณะ ของสื่อบนเครือข่าย ที่สนองต่อการสร้างความรู้ของผู้เรียน 2.มัลติมีเดียตามแนวคอนสตรัคติวิสต์เป็นการนาทฤษฎีคอนสตรัคติวสิต์มาเป็นพื้นฐานใน การออกแบบ โดยประสานร่วมกับ คุณลักษณะของมัลติมีเดียที่นาเสนอทั้งข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว และเสียง รวมทั้งการ เชื่อมโยงหลายมิติ 3.ชุดสร้างความรู้ เป็นการนาทฤษฎีคอนสตรัคติวสิต์มาเป็นพื้นฐานในการออกแบบ โดย ประสานร่วมกับการ นาสื่อประเภทต่างๆ
  • 7. 241 208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ ภารกิจที่ 2 วิเคราะห์เลือกใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ ให้สอดคล้องกับบริบทของโรงเรียนทั้ง 3 แห่ง นี้
  • 8. 241 208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ โรงเรียนเปรมสวัสด์ิ คอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพราะ เป็นโปรแกรมการเรียนการสอนโดยใช้เครื่อง คอมพิวเตอร์บันทึกเนือ้หาวิชาที่มีทัง้อักษร ข้อความ ภาพนิ่ง ภาพเคลื่อนไหว กราฟ แผนภูมิภาพเคลื่อนไหว และเสียง โดยให้ความรู้แก่ผู้เรียน มีคาถามเพื่อให้ ผู้เรียน ตอบ มีการประเมินผลคาตอบของผู้เรียนทันที เป็นแบบ การฝึกทักษะหรือฝึกปฏิบัติ มีการจาลอง สถานการณ์เพื่อ การเรียนรู้ที่ใกล้เคียงกับความจริง หรือ เป็นเกม ให้ผู้เรียน ได้เลือกเล่นและแข่งขัน ที่สอดแทรก ด้วยเนือ้หาความรู้ เพื่อให้เกิดประโยชน์แก่ผู้เรียนนนั่เอง
  • 9. 241 208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ โรงเรียนมหาชัย E-learning 1) ผู้เรียนเข้าเว็บได้ทุกเวลา และเป็นผู้กา หนดลาดับการเข้า เว็บนั้น หรือตามลาดับที่ผู้ออกแบบได้ให้แนวทางไว้ 2) การเรียนการสอนผ่านเครือข่ายจะเป็นไปได้ดีถ้าเป็นไป ตาม สภาพแวดล้อมตามแนวคิดของนักคอนสตรัคติวิสต์ กล่าวคือมีการ เรียนรู้อย่างมีปฏิสัมพันธ์และเรียนรู้ร่วมกัน 3) ผู้สอนเปลี่ยนแปลงตนเองจากการเป็นผู้กระจายถ่ายทอด ข้อมูลมา เป็นผู้ช่วยเหลือผู้เรียนในการค้นหา การประเมิน และการใช้ประโยชน์ จากสารสนเทศที่ค้นมาจากสื่อ หลากหลาย 4) การเรียนรู้เกิดขึ้นในลักษณะเกี่ยวข้องกัน หลายวิชา และไม่กา หนด ว่าจะต้องบรรลุจุดประสงค์การ เรียนรู้ในเวลาที่กา หนด
  • 10. 241 208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ โรงเรียนเทศบาลวัดธาตุ หน่วยการเรียน-การสอน เป็นบทเรียนที่ใช้เรียนเป็นรายบุคคล และเป็นกลุ่มใหญ่ได้ มี ลักษณะ เด่นคือ มีการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย เพื่อ ตอบสนองต่อความแตกต่างระหว่างบุคคล มี ส่วนประกอบหลัก ได้แก่ ความมุ่งหมาย กิจกรรมการเรียนการสอน การประเมินผล ลักษณะของหน่วยการเรียนการสอน •โปรแกรมทั้งหมดถูกขยายเป็นส่วนๆ เพื่อไม่ให้เกิดความซ้า ซ้อน และสามารถมองเห็นโครงร่างทั้งหมดของโปรแกรม •ยึดตัวผู้เรียนเป็นศูนย์กลางในการจัดระบบการเรียนการสอน •มีจุดประสงค์ในการเรียนที่ชัดเจน • เน้นการเรียนด้วยตนเอง •ใช้วิธีการสอนแบบต่างๆไว้หลายอย่าง • เน้นการนาเอาวิธีระบบ (System Approach) เข้ามาใช้ใน การสร้าง
  • 11. 241 208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ ภารกิจที่ 3 จากประเภทของนวัตกรรมการเรียนรู้ในบทที่7 ให้นักศึกษาเสนอนวัตกรรมการ เรียนรู้ที่สอดคล้องกับ ลักษณะวิชาเอกที่นักศึกษาจะปฏิบัติหน้าทสี่อน พร้อมท้งั อธิบายเหตุผล
  • 12. 241 208 นวัตกรรมและเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการเรียนรู้ เน้นผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง การเรียนรู้ของผู้เรียน ผ่านการปฏิบัติ ลงมือกระทาด้วยตนเอง ทฤษฎีคอนสตรัคตวิิสต์หลักการที่สา คัญ สถานการณ์ปัญหา แหล่งเรียนรู้ ฐานความช่วยเหลือ การโค้ช การร่วมมือกันแก้ปัญหา ครูจะต้องเป็นผู้จัดสิ่งแวดล้อม ที่เอื้อต่อการ เรียนรู้
  • 13. กลุ่ม หนูน้อยหมวกแดง นายธนวัฒน์ นานอก รหัสนักศึกษา 563050079-3 นายณัฐวัตร ธรรมเที่ยง รหัสนักศึกษา 563050356-3 นายสุรวุฒิ สุขบัติ รหัสนักศึกษา 563050150-3 นายสมบัติ ตันจินดารัตน์ รหัสนักศึกษา 563050304-2