SlideShare a Scribd company logo
7
บทที่ 2
เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
กลุ่มผู้วิจัยค้นคว้า การส่งเสริมการจดจาคาศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้เทคนิคช่วยจา กลุ่มผู้วิจัย
ได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยแบ่งเป็นหัวข้อดังนี้
1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศ
2. เทคนิคช่วยจา
3. คาศัพท์และการสอนคาศัพท์
4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 255 นี้ จัดทาขึ้นสาหรับท้องถิ่นและ
สถานศึกษาได้นาไปใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา และจัดการเรียนการสอน
เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีคุณภาพด้านความรู้ และทักษะที่
จาเป็นสาหรับการดารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง และแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอย่าง
ต่อเนื่องตลอดชีวิต (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551 )
1. ความสาคัญในการเรียนภาษาต่างประเทศ
ในสังคมปัจจุบัน การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศทีความสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งใน
ชีวิตประจาวันเนื่องจากเป็นเครื่องมือสาคัญในการติดต่อสื่อสาร การแสวงหาความรู้ การประกอบ
อาชีพ การสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมและวิสัยทัศน์ของชุมชนโลก และตระหนักถึงความ
หลากหลายทางวัฒนธรรมและมุมมองของสังคมโลก นามาซึ่งไมตรีจิตและความร่วมมือระหว่างประเทศ
ต่าง ๆ ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจในตนเองและผู้อื่นดีขึ้น เรียนรู้และเข้าใจความแตกต่างของ
ภาษาและวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี การคิด สังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง มีเจต
คติที่ดีต่อการใช้ภาษาต่างประเทศ และใช้ภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารได้ รวมถึงเข้าองค์ความรู้
ต่าง ๆ ได้ง่ายและกว้างขึ้น และมีวิสัยทัศน์ในการดาเนินชีวิต
ภาษาต่างประเทศที่เป็นสาระการเรียนรู้พื้นฐาน ซึ่งกาหนดให้เรียนตลอดหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ ภาษาอังกฤษ ส่วนภาษาต่างประเทศอื่น เช่น ภาษาฝรั่งเศส เยอรมัน
จีน ญี่ปุ่น อาหรับ บาลี และภาษาต่างประเทศเพื่อนบ้าน หรือ ภาษาอื่น ๆ ให้อยู่ในดุลพินิจของ
สถานศึกษาที่จะจัดทารายวิชาและการเรียนรู้ตามความเหมาะสม
2. เรียนรู้อะไรในภาษาต่างประเทศ
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมุ่งหวังให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อภาษาต่างประเทศ
สามารถใช้ภาษาต่างประเทศ สื่อสารในสถานการณ์ต่าง ๆ แสวงหาความรู้ ประกอบอาชีพ และศึกษา
ต่อในระดับที่สูงขึ้น รวมทั้งมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องราวและวัฒนธรรมอันหลากหลายของประชาคมโลก
8
และสามารถถ่ายทอดความคิดและวัฒนธรรมไทยไปยังสังคมโลกได้อย่างสร้างสรรค์ ประกอบด้วย
สาระสาคัญ ดังนี้
1. ภาษาเพื่อการสื่อสาร การใช้ภาษาต่างประเทศในการฟัง-พูด-อ่าน-เขียน
แลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความคิดเห็น ตีความ นาเสนอข้อมูล ความคิดรวบยอด
และความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลอย่างเหมาะสม
2. ภาษาและวัฒนธรรม การใช้ภาษาต่างประเทศตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
ความสัมพันธ์ ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ภาษาและ
วัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับวัฒนธรรมไทย และนาไปใช้อย่างเหมาะสม
3. ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น การใช้ภาษาต่างประเทศในการ
เชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น เป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์
ของตน
4. ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก การใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์
ต่าง ๆ ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ชุมชน และสังคมโลก เป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ
ประกอบอาชีพ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก
3. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร
มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ
และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล
มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสาร แสดงความรู้สึก และความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็น
ในเรื่องต่าง ๆ โดยการพูดและการเขียน
สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของ
ภาษา และนาไปใช้ ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ
มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและ
วัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการ
เรียนรู้อื่น และเป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน
สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในสถานศึกษา
ชุมชน และสังคม
มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ
การประกอบอาชีพ และ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก
9
4. คุณภาพผู้เรียน
จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓
ปฏิบัติตามคาขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจง และคาอธิบายที่ฟังและอ่าน อ่านออกเสียง
ข้อความ ข่าว โฆษณา นิทาน และบทร้อยกรองสั้น ๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน ระบุ/เขียนสื่อที่ไม่ใช่
ความเรียงรูปแบบต่าง ๆ สัมพันธ์กับประโยคและข้อความที่ฟังหรืออ่าน เลือก/ระบุหัวข้อเรื่อง ใจความ
สาคัญ รายละเอียดสนับสนุน และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ
พร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องต่าง ๆ ใกล้ตัว สถานการณ์ ข่าว
เรื่องที่อยู่ในความสนใจของสังคมและสื่อสารอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม ใช้คาขอร้อง คาชี้แจง และ
คาอธิบาย ให้คาแนะนาอย่างเหมาะสม พูดและเขียนแสดงความต้องการ เสนอและให้ความช่วยเหลือ
ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือ พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย
เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังหรืออ่านอย่างเหมาะสม พูดและเขียนบรรยาย
ความรู้สึกและความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ กิจกรรม ประสบการณ์ และข่าว/เหตุการณ์
พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบอย่างเหมาะสม
พูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์/เรื่อง/ประเด็น
ต่าง ๆ ที่อยู่ในความสนใจของสังคม พูดและเขียนสรุปใจความสาคัญ/แก่นสาระ หัวข้อเรื่องที่ได้จากการ
วิเคราะห์เรื่อง/ข่าว/เหตุการณ์/สถานการณ์ที่อยู่ในความสนใจ พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
กิจกรรม ประสบการณ์ และเหตุการณ์ พร้อมให้เหตุผลประกอบ
เลือกใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางเหมาะกับบุคคลและโอกาส ตามมารยาท
สังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา อธิบายเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและประเพณี
ของเจ้าของภาษา เข้าร่วม/จัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ
เปรียบเทียบ และอธิบายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยค
ชนิดต่าง ๆ และการลาดับคาตามโครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย เปรียบเทียบ
และ อธิบายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างชีวิตความเป็นอยู่และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
กับของไทย และนาไปใช้อย่างเหมาะสม
ค้นคว้า รวบรวม และสรุปข้อมูล/ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
จากแหล่งการเรียนรู้ และนาเสนอด้วยการพูดและการเขียน
ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน
สถานศึกษา ชุมชน และสังคม
ใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/ค้นคว้า รวบรวม และสรุปความรู้/ข้อมูลต่าง ๆ จาก
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ข้อมูล
ข่าวสารของโรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่น เป็นภาษาต่างประเทศ
มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (เน้นการฟัง-พูด-อ่าน-เขียน) สื่อสารตามหัวเรื่อง
เกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อม อาหาร เครื่องดื่ม เวลาว่างและนันทนาการ สุขภาพ
และสวัสดิการ การซื้อ-ขาย ลมฟ้าอากาศ การศึกษาและอาชีพ การเดินทางท่องเที่ยว การบริการ
สถานที่ ภาษา และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภายในวงคาศัพท์ประมาณ 2,100-2,250 คา (คาศัพท์ที่
เป็นนามธรรมมากขึ้น)
10
ใช้ประโยคผสมและประโยคซับซ้อน (Complex Sentences) สื่อความหมายตาม
บริบทต่าง ๆ ในการสนทนาทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ
5. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ดังตาราง1-8
ตาราง 1 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 3 ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง
ๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1. ปฏิบัติตามคาขอร้อง
คาแนะนา คาชี้แจง และ
คาอธิบายที่ฟังและอ่าน
คาขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจง และคาอธิบาย ในการประดิษฐ์ การ
บอกทิศทาง ป้ายประกาศต่าง ๆ การใช้อุปกรณ์
- Passive Voice ที่ใช้ในโครงสร้างประโยคง่าย ๆ เช่น is/are +
past participle
- คาสันธาน)conjunction( เช่น and/ but/ or/ before/ after/
because etc.
- ตัวเชื่อม )connective words( เช่น First,… Second,…Third,…
Fourth,… Next,… Then,… Finally,… etc.
2. อ่านออกเสียงข้อความ ข่าว
โฆษณา และบทร้อยกรองสั้น
ๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน
ข้อความ ข่าว โฆษณา และบทร้อยกรอง การใช้พจนานุกรม หลักการ
อ่านออกเสียง เช่น
- การออกเสียงพยัญชนะต้นคาและพยัญชนะท้ายคา สระเสียงสั้น
สระเสียงยาว สระประสม
- การออกเสียงเน้นหนัก-เบา ในคาและกลุ่มคา
- การออกเสียงตามระดับเสียงสูง-ต่า ในประโยค
- การออกเสียงเชื่อมโยงในข้อความ
- การแบ่งวรรคตอนในการอ่าน
- การอ่านบทร้อยกรองตามจังหวะ
11
ตาราง 1 (ต่อ)
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
3. ระบุและเขียนสื่อที่ไม่ใช่
ความเรียง รูปแบบต่าง ๆ ให้
สัมพันธ์กับประโยค และ
ข้อความที่ฟังหรืออ่าน
ประโยค ข้อความ และความหมายเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน
สิ่งแวดล้อม อาหาร เครื่องดื่ม เวลาว่างและนันทนาการ สุขภาพและ
สวัสดิการ การซื้อ-ขาย ลมฟ้าอากาศ การศึกษาและอาชีพ การ
เดินทางท่องเที่ยว การบริการ สถานที่ ภาษา และวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี เป็นวงคาศัพท์สะสมประมาณ 1,400-1,550 คา (คาศัพท์
ที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม)
การตีความ/ถ่ายโอนข้อมูลให้สัมพันธ์กับสื่อที่ไม่ใช่ความเรียง เช่น
สัญลักษณ์ เครื่องหมาย กราฟ แผนภูมิ ตาราง ภาพสัตว์ สิ่งของ
บุคคล สถานที่ต่าง ๆ โดยใช้ Comparison of adjectives/
adverbs/ Contrast : but, although/ Quantity words เช่น
many/ much/ a lot of/ lots of/ some/ any /a few/ few/ a
little/ little etc.
4. เลือก/ระบุหัวข้อเรื่อง
ใจความสาคัญ รายละเอียด
สนับสนุน และแสดงความ
คิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและ
อ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ
พร้อมทั้งให้เหตุผลและ
ยกตัวอย่างประกอบ
การจับใจความสาคัญ เช่น หัวข้อเรื่อง ใจความสาคัญ รายละเอียด
สนับสนุน จากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น หนังสือพิมพ์
วารสาร วิทยุ โทรทัศน์ เว็บไซด์บนอินเทอร์เน็ต คาถามเกี่ยวกับ
ใจความสาคัญของเรื่อง เช่น ใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ทาไม
ใช่หรือไม่
- Yes/No Question
- Wh-Question
- Or-Question etc.
ประโยคที่ใช้ในการแสดงความคิดเห็น การให้เหตุผลและการ
ยกตัวอย่าง เช่น I think…/ I feel…/ I believe…/ I
agree/disagree…/ I don’t believe…/ I have no idea…
- if clauses
- so…that/such…that
- คาสันธาน )conjunctions( and/ but/ or/ because/ so/
before/ after etc.
- Infinitive pronouns :some/ any/ someone/ anyone/
everyone/ one/ ones etc.
- Tenses : present simple/ present continuous/ present
perfect/ past simple/ future tense etc.
- Simple sentence/ Compound sentence/ Complex
sentence
12
ตาราง 2 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 3 ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสาร แสดงความรู้สึก และความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1. สนทนาและเขียนโต้ตอบ
ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เรื่อง
ต่าง ๆ ใกล้ตัว สถานการณ์
ข่าว เรื่องที่อยู่ในความสนใจ
ของสังคมและสื่อสารอย่าง
ต่อเนื่องและเหมาะสม
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารระหว่างบุคคล เช่น การทักทาย กล่าวลา
ขอบคุณ ขอโทษ ชมเชย การพูดแทรกอย่างสุภาพ การชักชวน
การแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เรื่องใกล้ตัว สถานการณ์ต่าง ๆ
ในชีวิตประจาวัน การสนทนา/เขียนข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและบุคคล
ใกล้ตัว สถานการณ์ ข่าว เรื่องที่อยู่ในความสนใจในชีวิตประจาวัน
2. ใช้คาขอร้อง ให้คาแนะนา
คาชี้แจง และคาอธิบายอย่า
เหมาะสม
คาขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจง คาอธิบาย ที่มีขั้นตอนซับซ้อน
3. พูดและเขียนแสดงความ
ต้องการ เสนอและให้ความ
ช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธ
การให้ความช่วยเหลือใน
สถานการณ์ต่าง ๆ อย่าง
เหมาะสม
ภาษาที่ใช้ในการแสดงความต้องการ เสนอและให้ความช่วยเหลือ
ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น
Please…/…, please./ I’d like…/ I need…/ May/Can/Could…?/
Yes,../Please do./ Certainly./ Yes, of course./ Sure./ Go right
ahead./ Need some help?/ What can I do to help?/ Would
you like any help?/ I’m afraid…/ I’m sorry, but…/ Sorry,
but… etc.
4. พูดและเขียนเพื่อขอและให้
ข้อมูล อธิบาย เปรียบเทียบ
และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
เรื่องที่ฟังหรืออ่านอย่าง
เหมาะสม
คาศัพท์ สานวน ประโยค และข้อความที่ใช้ในการขอและให้ข้อมูล
อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังหรือ
อ่าน
5. พูดและเขียนบรรยาย
ความรู้สึก และความคิดเห็น
ของตนเองเกี่ยวกับ เรื่องต่างๆ
กิจกรรม ประสบการณ์ และ
ข่าว/เหตุการณ์ พร้อมทั้งให้
เหตุผลประกอบอย่างเหมาะสม
ภาษาที่ใช้ในการแสดงความรู้สึก ความคิดเห็น และให้เหตุผลประกอบ
เช่น ชอบ ไม่ชอบ ดีใจ เสียใจ มีความสุข เศร้า หิว รสชาติ สวย น่า
เกลียด เสียงดัง ดี ไม่ดี จากข่าว เหตุการณ์ สถานการณ์ ใน
ชีวิตประจาวัน เช่น
Nice./ Very nice./ Well done!/ Congratulations on... / I
like…because…/ I love… because… /
I feel… because…I think…/ I believe…/
I agree/disagree…/ I’m afraid …/ I don’t like… I don’t
believe…/ I have no idea…/ Oh no! etc.
13
ตาราง 3 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 3 ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความ
คิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ โดยการพูด และการเขียน
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1. พูดและเขียนบรรยาย
เกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์
ข่าว/เหตุการณ์ / เรื่อง/
ประเด็นต่าง ๆ ที่อยู่ใน
ความสนใจของสังคม
การบรรยายเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์/ประเด็นที่
อยู่ในความสนใจของสังคม เช่น การเดินทาง การรับประทานอาหาร
การเล่นกีฬา/ดนตรี การฟังเพลง การอ่านหนังสือ การท่องเที่ยว
การศึกษา สภาพสังคม เศรษฐกิจ
2. พูดและเขียนสรุปใจความ
สาคัญ/ แก่นสาระ หัวข้อเรื่อง
ที่ได้จากการวิเคราะห์เรื่อง/
ข่าว/เหตุการณ์/ สถานการณ์ที่
อยู่ในความสนใจของสังคม
การจับใจความสาคัญ/แก่นสาระ หัวข้อเรื่อง การวิเคราะห์เรื่อง/ข่าว/
เหตุการณ์/สถานการณ์ที่อยู่ในความสนใจ เช่น ประสบการณ์
เหตุการณ์ สถานการณ์ต่าง ๆ ภาพยนตร์ กีฬา ดนตรี เพลง
3. พูดและเขียนแสดงความ
คิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม
ประสบการณ์ และเหตุการณ์
พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ
การแสดงความคิดเห็น และการให้เหตุผลประกอบเกี่ยวกับกิจกรรม
ประสบการณ์ และเหตุการณ์
ตาราง 4 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 3 ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของ
เจ้าของภาษา และนาไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1. เลือกใช้ภาษา น้าเสียง
และกิริยาท่าทาง เหมาะกับ
บุคคลและโอกาส ตามมารยาท
สังคม และวัฒนธรรมของ
เจ้าของภาษา
การเลือกใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางในการสนทนา ตาม
มารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา เช่น การขอบคุณ ขอ
โทษ การชมเชย การใช้สีหน้าท่าทางประกอบ การพูด ขณะแนะนา
ตนเอง การสัมผัสมือ การโบกมือ การแสดงความ รู้สึกชอบ/ไม่ชอบ
การกล่าวอวยพร การแสดงอาการตอบรับหรือปฏิเสธ
2. อธิบายเกี่ยวกับชีวิตความ
เป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและ
ประเพณีของเจ้าของภาษา
ชีวิตความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและประเพณีของเจ้าของภาษา
3. เข้าร่วม/จัดกิจกรรมทาง
ภาษาและวัฒนธรรมตามความ
สนใจ
กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม เช่น การเล่นเกม การร้องเพลง
การเล่านิทาน บทบาทสมมุติ วันขอบคุณพระเจ้า วันคริสต์มาส วัน
ขึ้นปีใหม่ วันวาเลนไทน์
14
ตาราง 5 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 3 ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษา
และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใช้อย่างถูกต้องและ
เหมาะสม
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1. เปรียบเทียบและอธิบาย
ความเหมือนและความแตกต่าง
ระหว่างการออกเสียงประโยค
ชนิดต่าง ๆ และการลาดับคา
ตามโครงสร้างประโยคของ
ภาษาต่างประเทศและ
ภาษาไทย
การเปรียบเทียบและการอธิบายความเหมือน/ความแตกต่างระหว่าง
การออกเสียงประโยคชนิดต่าง ๆ ของเจ้าของภาษากับของไทย การ
ใช้เครื่องหมายวรรคตอนและการลาดับคาตามโครงสร้างประโยคของ
ภาษาต่างประเทศและภาษาไทย
2. เปรียบเทียบและอธิบาย
ความเหมือนและความแตกต่าง
ระหว่างชีวิตความเป็นอยู่และ
วัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับ
ของไทย และนาไปใช้อย่าง
เหมาะสม
การเปรียบเทียบและการอธิบายความเหมือนและความแตกต่าง
ระหว่างชีวิตความเป็นอยู่และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับของไทย
การนาวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาไปใช้
ตาราง 6 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 3 ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่ม
สาระการเรียนรู้อื่น และเป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1. ค้นคว้า รวบรวม และสรุป
ข้อมูล/ ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้อง
กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นจาก
แหล่งเรียนรู้ และนาเสนอด้วย
การพูดและการเขียน
การค้นคว้า การรวบรวม การสรุป และการนาเสนอข้อมูล/ข้อเท็จจริง
ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
15
ตาราง 7 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 3 ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งใน
สถานศึกษา ชุมชน และสังคม
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1. ใช้ภาษาสื่อสารใน
สถานการณ์จริง/สถานการณ์
จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน
สถานศึกษา ชุมชน และสังคม
การใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นใน
ห้องเรียน สถานศึกษา ชุมชน และสังคม
ตาราง 8 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 3 ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษา
ต่อ การประกอบอาชีพ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1. ใช้ภาษาต่างประเทศในการ
สืบค้น/ค้นคว้า รวบรวม และ
สรุปความรู้/ข้อมูลต่าง ๆ จาก
สื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ
ในการศึกษาต่อและประกอบ
อาชีพ
การใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/การค้นคว้าความรู้/ข้อมูลต่าง ๆ
จากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
2. เผยแพร่ /ประชาสัมพันธ์
ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรียน
ชุมชน และท้องถิ่น เป็น
ภาษาต่างประเทศ
การใช้ภาษาต่างประเทศในการเผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร
ของโรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่น เช่น การทาหนังสือเล่มเล็กแนะนา
โรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่น การทาแผ่นปลิว ป้ายคาขวัญ คาเชิญ
ชวนแนะนา โรงเรียนและสถานที่สาคัญในชุมชนและท้องถิ่น การ
นาเสนอข้อมูลข่าวสารในโรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่นเป็น
ภาษาอังกฤษ
6. คาอธิบายรายวิชา
คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ สาระการเรียนรู้พื้นฐาน รหัสวิชา
อ 23101 วิชาภาษาอังกฤษ 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เวลา 60 ชั่วโมง จาหน่วยหน่วยกิต 1.5 หน่วย
มีคาอธิบายรายวิชาดังนี้
ฝึกทักษะการปฏิบัติตาม คาขอร้อง คาแนะนา และคาชี้แจง ที่ฟังและอ่าน การอ่าน
ออกเสียงข้อความ ข่าว โฆษณา และบทร้อยกรองสั้นๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน การสนทนาและ
เขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เรื่องต่าง ๆ ใกล้ตัว เศรษฐกิจพอเพียง และสถานการณ์ต่าง ๆ ข่าว
เรื่องที่อยู่ในความสนใจของสังคม และสื่อสารอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม การใช้คาขอร้อง
16
ให้คาแนะนา คาชี้แจง และคาอธิบายอย่างเหมาะสม การพูดและเขียนแสดงความต้องการขอความ
ช่วยเหลือ ตอบรับ และปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์ต่าง ๆ การพูดและเขียนบรรยาย
เกี่ยวกับตนเองกิจวัตรประจาวัน ประสบการณ์และข่าว / เหตุการณ์ เรื่อง / ประเด็นต่าง ๆ ที่อยู่ใน
ความสนใจของสังคม การพูด/เขียนสรุปใจความสาคัญ/แก่นสาระและหัวข้อเรื่อง/ ข่าว / เหตุการณ์
ที่อยู่ในความสนใจของสังคม การเลือกใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางสุภาพ เหมาะสมกับบุคคล
และโอกาส ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา การเปรียบเทียบและอธิบายความ
เหมือนและความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่าง ๆ และการลาดับคาตามโครงสร้าง
ประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย การค้นคว้า รวบรวม และสรุปข้อมูล/ข้อเท็จจริงที่
เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นจากแหล่งการเรียนรู้และนาเสนอด้วยการพูด/การเขียน การใช้
ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียนและสถานศึกษาและชุมชน
โดยใช้กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ใช้ภาษาในการสื่อสาร ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน
สถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม เห็นคุณค่าของการเรียนภาษาต่างประเทศ มีนิสัย
ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีความกระตือรือร้น มีมารยาทในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน มีคุณธรรม
จริยธรรม มีสัมมาคารวะ และมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาภาษาต่างประเทศ
คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ สาระการเรียนรู้พื้นฐาน รหัสวิชา
อ 23102 วิชาภาษาอังกฤษ 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เวลา 60 ชั่วโมง จาหน่วยหน่วยกิต 1.5 หน่วย
มีคาอธิบายรายวิชาดังนี้
ฝึกทักษะระบุและ เขียนสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่าง ๆ ให้สัมพันธ์กับประโยคและ
ข้อความที่ฟังหรืออ่าน เลือก/ระบุหัวข้อเรื่อง ใจความสาคัญ บอกรายละเอียดสนับสนุน และแสดง
ความเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและอ่านพร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่าง การพูดและเขียนเพื่อขอและให้
ข้อมูลบรรยายและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังหรืออ่าน การพูดและเขียนแสดงความรู้สึกและ
ความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ กิจกรรมต่าง เศรษฐกิจพอเพียง และประสบการณ์ พร้อม
ทั้งให้เหตุผล ประกอบอย่างเหมาะสมอย่างเหมาะสม การพูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ
กิจกรรมประสบการณ์และเหตุการณ์ พร้อมทั้งให้เหตุผล ประกอบ อธิบายเกี่ยวกับขนบธรรมเนียม และ
ประเพณีของเจ้าของภาษา การเข้าร่วม/กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจการ
เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างระหว่างชีวิตความเป็นอยู่และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
กับของไทย และนาไปใช้อย่างเหมาะสม การใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/ค้นคว้าความรู้/ข้อมูล
ต่าง ๆ จากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ การเผยแพร่/
ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของโรงเรียนเป็นภาษาต่างประเทศ
โดยใช้กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ใช้ภาษาในการสื่อสาร ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน
สถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม เห็นคุณค่าของการเรียนภาษาต่างประเทศ
มีนิสัยใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีความกระตือรือร้น มีมารยาทในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน มีคุณธรรม
จริยธรรม มีสัมมาคารวะ และมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาภาษาต่างประเทศ
17
เทคนิคช่วยจา
1. ความหมาย
Glover, Ronning and Bruning (1990 : 118) ให้ความหมายของเทคนิคช่วยจาว่า
เทคนิคช่วยจาเป็นเทคนิคที่ช่วยให้จาข้อมูลต่าง ๆ ได้ เทคนิคช่วยจามีหลักการทางานเป็นคู่ที่เชื่อมโยง
ระหว่างข้อมูลกับสิ่งที่เรียนรู้เพื่อให้ข้อมูลน่าจดจายิ่งขึ้น นอกจากนั้นเทคนิคช่วยจายังเป็นเทคนิคสาหรับ
การจัดทาระบบข้อมูลใหม่อย่างละเอียดเพื่อช่วยในการจา
Galotti (2008 : 297) ให้ความหมายของเทคนิคช่วยจาว่าเทคนิคช่วยคาหมายถึงสิ่งที่ช่วย
เพิ่มโอกาสให้ผู้เรียนสามารถจดจาคาศัพท์ได้ดีขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วยให้การเรียกคืนข้อมูลดียิ่งขึ้น
Solso (2011 : 179) ให้ความหมายของเทคนิคช่วยจาว่าเทคนิคช่วยจาหมายถึงเทคนิค
หรือเครื่องมือที่ช่วยในการจดจาข้อมูลใหม่ได้ดียิ่งขึ้น และยังสามารถช่วยในการระลึกถึงข้อมูลที่เก็บไว้ได้
ดีเช่นเดียวกัน
Bakken and Simpson (2011 : 1) ให้ความหมายของเทคนิคช่วยจาว่าเทคนิคช่วยจา
หมายถึง กระบวนการที่เป็นระบบสาหรับการเสริมสร้างการจดจาข้อมูลและทาให้ข้อมูลมีความหมาย
ยิ่งขึ้น ทาให้เข้าถึงข้อมูลให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งหากเข้าใจข้อมูลได้ดีแล้ว จะเป็นเรื่องง่ายมากที่จะจดจาข้อมูล
หรือระลึกถึงข้อมูลในภายหลัง
Mastropieri and Scruggs (2012 : 8) ให้ความหมายของเทคนิคช่วยจาว่าเทคนิคช่วยจา
หมายถึง เทคนิคที่ช่วยในการจดจาข้อมูลโดยการใช้รูปภาพ คา จังหวะทานองในการกระตุ้นการระลึก
ข้อมูล โดยใช้รูปภาพ คา จังหวะทานองเพื่อเชื่อมโยงข้อมูล
2. ประเภทของเทคนิคช่วยจา
Glover, Ronning and Bruning (1990 : 119-126) ได้แบ่งประเภทของเทคนิคช่วยจา
ดังนี้
1. เทคนิคตะขอเกี่ยว (The Peg Method) เทคนิคนี้ผู้เรียนจดจาข้อมูลในรูปแบบของ
“ตะขอ” ตะขอที่ว่านี้คือกลุ่มของข้อมูลซึ่งได้เกี่ยวกันไว้ เทคนิคตะขอเกี่ยววิธีที่นิยมมากที่สุด คือ การใช้
คาสัมผัสง่ายๆ ให้คล้องจองกัน ดังเห็นได้จากสัมผัสดังต่อไปนี้
One is a bun.
Two is a shoe.
Three is a tree.
Four is a door.
Five is a hive.
Six is a sticks.
Seven is heaven.
Eight is a gate.
Nine is a pine.
Ten is a hen.
เมื่อเทคนิคนี้ใช้สัมผัสข้างต้น ขั้นตอนแรกคือสร้างภาพของวัตถุให้สัมพันธ์กับคา
สัมผัสในแต่ละข้อ ยกตัวอย่างเช่น
18
-ใช้สัมผัสในข้อแรก One is a bun. ผู้เรียนต้องการจาคาศัพท์คาว่า pickles ผู้เรียนสามารถ
จินตนาการถึง ผักดอง (pickles) ถูกยัดไส้อยู่ในขนมปัง (bun)
-ใช้สัมผัสในข้อสอง Two is a shoe. ผู้เรียนต้องจาคาว่า loaf จึงให้ผู้เรียนจินตนาการถึง
Loaf of bread ถูกดันเข้าไปในรองเท้าราวกับว่าก้อนขนมปังนั่งอยู่ในรองเท้า (shoe)
-ใช้สัมผัสในข้อสาม Three is a tree. ผู้เรียนต้องจาคาว่า milk จึงให้ผู้เรียนจินตนาการถึงมี
ต้นไม้ (tree) ใหญ่ตนหนึ่งที่แผ่กิ่งก้านสาขาออกลูกเป็นแก้วนม (milk)
-ใช้สัมผัสในข้อสี่ Four is a door. ผู้เรียนต้องจาคาว่า oranges จึงให้ผู้เรียนจินตนาการถึงส้ม
(orange) เป็นลูกบิดประตู และเมื่อเวลาเราเปิดประตูผลส้มจะกลิ้งหล่นไปตามพื้น
-ใช้สัมผัสในข้อห้า Five is a hive. ผู้เรียนต้องจาคาว่า lightbulbs จึงให้ผู้เรียนจินตนาการถึง
ภาพของรวงผึ้ง (beehive) ที่ส่องแสงวูบวาบเหมือนหลอดไฟ
หลังจากที่ผู้เรียนได้จินตนาการรายการคาศัพท์ใหม่ซึ่งสัมพันธ์กับคาสัมผัสของเทคนิค
ตะขอเกี่ยวแล้ว ผู้เรียนจะประสบผลสาเร็จที่แท้จริงเมื่อถึงเวลาระลึกข้อมูล กล่าวคือ ผู้เรียนท่องคา
สัมผัสอย่างง่ายนั้นจากนั้นภาพแต่ละภาพที่ผู้เรียนจินตนาการไว้จะปรากฏออกมาเป็นคาศัพท์ ซึ่งเป็น
กระบวนการท่องจาสัมผัสง่ายๆที่ระลึกคาศัพท์ข้างต้นทั้งหมด
2. เทคนิคตาแหน่ง (The Method of Loci)
เทคนิคตาแหน่งเป็นเทคนิคที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในสมัยกรีกโบราณ ที่มาของเทคนิค
ตาแหน่งมาจากเรื่องราวของกวีผู้หนึ่งชื่อ Simonides เขาได้มาร่วมงานเลี้ยงแห่งหนึ่ง จากนั้นก็ถูกเรียก
ตัวไปข้างนอก ในขณะที่เขาอยู่ด้านนอกงานเลี้ยงนั้น ทันใดนั้นอาคารก็พังทลายลงมา เป็นสาเหตุให้คนที่
อยู่ในงานเลี้ยงนั้นเสียชีวิตทั้งหมด อย่างไรก็ตาม Simonides สามารถจาตาแหน่งของบุคคลที่อยู่ภายใน
งานเลี้ยงนั้นได้ ดังนั้นชื่อของเทคนิคตาแหน่ง มาจากที่ Simonides ใช้สถานที่ในการระลึกบุคคลนั้นๆ
ในการใช้เทคนิคตาแหน่งเพื่อเรียนเรื่องใหม่ ตาแหน่งที่ผู้เรียนเลือกต้องเป็นสถานที่ง่ายต่อการจิตนาการ
ถึง เช่น sofa, coffee table, window, television and armchair ตัวอย่างสถานการณ์ในการใช้
เทคนิคตาแหน่ง เช่น สมมติสถานการณ์ให้ผู้เรียนต้องจดจาชื่อคนที่เป็นที่นิยม ได้แก่ Lee, Jackson,
Stuart, Forrest and Johnston ผู้เรียนสามารถจินตนาการว่า คนที่ชื่อ Lee นั่งอยู่บนโซฟา ในขณะที
Jackson พาดขาที่ใส่รองเท้าไว้บนโต๊ะกาแฟ ส่วน Stuart กาลังมองออกไปนอกหน้าต่าง Forrest กาลัง
ปรับคลื่นโทรทัศน์ และ Johnston กาลังนั่งอยู่ที่เก้าอี้ และเมื่อถึงเวลาในการระลึกข้อมูล ให้ผู้เรียนนึก
ย้อนกลับไปยังตาแหน่งที่เราได้สร้างจุดไว้ก็จะระลึกภาพตาแหน่งของคนๆนั้น เทคนิคตาแหน่งนี้สามารถ
ใช้ตาแหน่งเดิมซ้าหลายครั้ง ซึ่งก็ยังคงมีประสิทธิภาพในการช่วยจาเสมอ
3. เทคนิคคาเชื่อมโยง (The Link Method)
เทคนิคคาเชื่อมโยงเหมาะสาหรับการเรียนรู้รายการของสิ่งต่างๆมากที่สุด เทคนิค
ดังกล่าวนี้ ผู้เรียนใช้รูปภาพในการจาสิ่งที่อยู่ในรายการ ซึ่งภาพแต่ละภาพถูกจินตนาการให้สัมพันธ์กับ
สิ่งของ ยกตัวอย่างเช่น เมื่อผู้เรียนต้องจาว่าจะนาสิ่งของดังต่อไปนี้ไปโรงเรียนในวันพรุ่งนี้เช้า ได้แก่
homework, lab notebook, chemistry text, goggles, lab apron and pencil ผู้เรียนสามารถ
จินตนาการถึงฉากหนึ่งที่มีใบงาน (Homework Paper) ถูกสอดไว้ในคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ก (Lab
Notebook) ซึ่งข้างๆคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊กจะมีหนังสือเรียนวิชาเคมี (Chemistry Text) วางอยู่และมี
แว่นตา (Goggles) วางอยู่ข้างๆ ถัดจากนั้นมีวัตถุชิ้นหนึ่งที่ถูกห่อหุ้มด้วยผ้ากันเปื้อน (Lab Apron) ซึ่ง
19
ผูกติดกับดินสอ (Pencil) เพื่อจะทาโบว์อย่างสวยงาม ในวันรุ่งขึ้น เมื่อผู้เรียนพยายามที่จะนึกว่าต้องนา
สิ่งใดไปโรงเรียนบ้าง ภาพที่สร้างขึ้นจะเชื่อมโยงกันทาให้ผู้เรียนระลึกถึงสิ่งของได้ทั้งหมด
4. เทคนิคการเล่าเรื่อง (Stories Method)
เทคนิคเล่าเรื่องเป็นการสร้างเรื่องราวจากสิ่งที่เรียนรู้ ในการใช้วิธีนี้ผู้เรียนนา
คาศัพท์ที่เรียนมาจัดกลุ่มเข้าด้วยกันแล้วสร้างเป็นเรื่องราว ดังตัวอย่างสถานการณ์ต่อไปนี้ สมมติว่า
ผู้เรียนต้องนาสิ่งที่จะนามาโรงเรียน อันได้แก่ กรรไกร ไม้บรรทัด เข็มทิศ ไม้โปรแทรคเตอร์ และดินสอ
ผู้เรียนสามารถแต่งเรื่องราวจากสิ่งของเหล่านี้เพื่อช่วยในการจาสิ่งของได้ทั้งหมด “The king drew a
pencil line with this ruler before he cut the line with scissors. Then he measured an
angle with a protractor and marked the point with a compass.” จากเรื่องราวดังกล่าวสร้าง
มาจากสิ่งของที่เราต้องจา การแต่งเรื่องขึ้นมาช่วยให้เราจาสิ่งที่จะเรียนรู้ได้ดี
5. เทคนิคอักษรตัวแรกมีลักษณะคล้ายคลึงกันเทคนิคเล่าเรื่อง แต่เทคนิคนี้จะใช้อักษร
ตัวแรกของคามาทาให้เป็นตัวอักษรย่อ หรือ คาๆหนึ่ง คาย่อที่มาจากตัวอักษรแรกของคาจะช่วยให้จา
คาศัพท์โดยผู้เรียนระลึกข้อมูลซึ่งสัมพันธ์กับอักษรย่อที่ได้กาหนดไว้ ยกตัวอย่างเช่น สมมติว่าผู้เรียนใน
ระดับชั้นมัธยมต้องจาคาว่า borax ซึ่งมีองค์ประกอบคือ boron, oxygen and sodium ผู้เรียน
สามารถดึงอักษรตัวแรกจากคาดังกล่าว จะได้คาว่า bos หลังจากนั้น เมื่อผู้เรียนระลึกข้อมูลใน
องค์ประกอบของคาว่า borax ผู้เรียนจะใช้เทคนิคในการจาคาว่า bos ในการนึกถึงองค์ประกอบของ
สารนั้นทั้งหมด
6. เทคนิคคาสาคัญ (The keyword Method)
ในบรรดาเทคนิคช่วยจาทั้งหมด เทคนิคคาสาคัญได้ชื่อว่าเป็นเทคนิคที่ยืดหยุ่นและมี
ประสิทธิภาพมากที่สุด เดิมทีแล้วเทคนิคนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยในการเรียนรู้คาศัพท์ เนื่องจากเทคนิค
เชื่อมโยง เทคนิคตาแหน่ง เทคนิคตะขอเกี่ยว ส่งผลต่อการใช้เทคนิคคาสาคัญ เทคนิคคาสาคัญแบ่ง
ออกเป็น 2 กลุ่มดังนี้ 1.เทคนิคเกี่ยวกับเสียง (Acoustic) ในการเรียนรู้คาศัพท์ขั้นตอนแรกคือการระบุ
คาหลัก หรือคาสาคัญ จากนั้นจึงนาเอาคาสาคัญซึ่งเป็นคาศัพท์ที่ได้เรียนมาเชื่อมโยงกับเสียง ทาให้เกิด
จังหวะเพื่อช่วยในการจา 2.เทคนิคการเชื่อมโยงด้วยภาพ (Imagery Link)การเชื่อมโยงภาพให้สัมพันธ์
กับคาศัพท์ ซึ่งจินตนาการภาพให้เชื่อมโยงกับความหมายของคาศัพท์ที่เรียน ดังตัวอย่างสถานการณ์
ต่อไปนี้ สมมติว่าให้ผู้เรียนเกรด 6 เรียนคาศัพท์ในวิชาศิลปะ ผู้เรียนรู้คาศัพท์เกี่ยวกับวิชานี้มากมาย
แต่มีอยู่คาหนึ่งที่ผู้เรียนไม่รู้ สมมติเป็นคาว่า captivate ผู้เรียนจึงใช้เทคนิคคาสาคัญมาช่วยในการจา
คาศัพท์ ขั้นตอนแรกคือ ผู้เรียนหาคาสาคัญหลักของคาดังกล่าว ในที่นี้ได้คาสาคัญคือ cap จากนั้น
ผู้เรียนเชื่อมคาสาคัญนั้นกับภาพ ในกรณีนี้คือ ผู้เรียนจินตนาการถึง ลุงของตนเองชื่อ บิลล์ชอบใส่หมวก
(Cap) เมื่อไรก็ตามที่เขาไปเยี่ยมคุณลุง เมื่อเล่ามาถึงตรงนี้ให้หยุดสักพักเพื่อดึงดูดความสนใจของผู้เรียน
จากนั้นจึงกล่าวเสริมว่า เรื่องเล่าของลุงบิลล์นั้นสร้างความประทับใจให้กับเขา เวลาสอบเมื่อผู้เรียนเห็น
คาว่า captivate ผู้เรียนจะนึกถึงคาสาคัญคือคาว่า cap ก็จะสามารถจาภาพของลุงบิลล์และ
ความหมายของคานั้นได้
7. เทคนิคโยดาย (Yodai Mnemonics)
เทคนิคโยดายได้รับการพัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 1920 โดยนักวิชาการชาวญี่ปุ่น
ชื่อ Masachika Nakane แต่เมื่อไม่นานมานี้เพิ่งได้รับความสนใจจากนักจิตวิทยาชาวตะวันตกหลาย
ท่าน คาว่า Yodai หมายถึง สาระสาคัญของเรื่อง เทคนิคโยดายออกแบบขึ้นมาเพื่อให้เป็นสื่อกลางทาง
20
วัจนภาษาในพูดการสะกดคาของโครงสร้างสาหรับการแก้ปัญหาการเรียนรู้คาศัพท์
ตัวอย่างเทคนิคโยดาย การสอนวิชาคณิตศาสตร์เรื่องเศษส่วนให้กับเด็กอนุบาล
เทคนิคนี้จะใช้การเปรียบเทียบกับคาที่เราคุ้นเคย ดังนั้น a fraction ถูกเปรียบให้เป็น bug with a
head and a wing ส่วนหัว (the head) ของแมลง คือตัวเศษ และ ส่วนปีก (the wing) ของแมลง คือ
ตัวส่วน โดยครูจะสอนว่าในการบวกเลขนั้นให้ผู้เรียนทาตัวส่วนให้เท่ากันก่อน ยกตัวอย่างเช่น ให้ผู้เรียน
นับหัวของแมลงได้เลยเมื่อปีกแมลงมีจานวนเท่ากัน ส่วนในการคูณ ให้ผู้เรียนนับส่วนหัวรวมกันไว้
และนับส่วนของปีกรวมกันไว้ จากนั้นก็นามาคูณกันโดยเราจะใช้สัญลักษณ์ (X) ซึ่งหมายถึง horns or
feeler และในการหารให้ผู้เรียนพลิกจานวนส่วนหัวของแมลงกลับกันกับส่วนปีกของแมลง กล่าวคือ
กลับส่วนเป็นเศษ กลับเศษเป็นส่วนนั่นเอง ซึ่งผลของการใช้เทคนิคนี้ชี้ว่าเมื่อผู้เรียนใช้เทคนิคโยดาย
ผู้เรียนประสบผลสาเร็จมากกว่าเทคนิคดั้งเดิม จะเห็นได้ว่าผู้เรียนใช้เทคนิคนี้โดยนับ หัว (a head)
และ ปีก (a wing) ของแมลงแทนการใช้เศษส่วน การบวก การคูณ การหาร และอื่นๆ
Solso (1998 : 276-283) กล่าวว่าวิธีการจดจามีมากมายหลายวิธี ผู้กล่าวปราศรัยของ
กรีกและโรมันก็เคยใช้เทคนิคตาแหน่งในศาสนาที่มีการใช้ลูกประคาหรือสาหรับนักสวดที่ใช้ในการ
ท่องจาบทสวดที่เป็นรูปแบบทางการต่างๆ แต่ละรุ่นของชาวพื้นเมืองอเมริกันได้ถ่ายทอดพิธีต่างๆ
และปรัชญาตลอดจนการจดจาเรื่องราวต่างๆ และการพูดปากต่อปากของชาวพื้นเมืองในประวัติศาสตร์
อย่างกว้างขวางถูกเติมเต็มด้วยการจดจาโดยการใช้รูปภาพที่ชัดเจนมาช่วยในการจดจาคาศัพท์ เทคนิค
ช่วยจามีหลายประเภทดังนี้
1. เทคนิคตาแหน่ง (Loci)
ในช่วงแรก ๆ สมาชิกสภาของกรีกก็เคยใช้ต้นเสาซึ่งเรียกวิธีนี้ว่า เทคนิคตาแหน่ง
มาช่วยในการจดจาเพื่อการพูด Deomonticus ได้เสนอตาบลทางตะวันตก ที่เริ่มพูดปราศรัยโดยการ
มองดูเสาด้านซ้ายที่ได้เขียนคาลงไป เช่น คาว่า THEATER ที่ทาให้นึกถึงสิ่งที่จะโต้แย้งเกี่ยวกับ Greek
Theater ภายในอาคาร เสาต่อไปเขียนคาว่า FISHES ที่เป็นส่วนหนึ่งที่เพิ่มแนวคิดเกี่ยวกับ fishing
เสาต่อไปเขียนคาว่า war ลงไปซึ่งผู้ปราศรัยจะต้องพูดขึ้นมาอย่างฉับพลันในหัวข้อนั้นๆ เป็นการใช้เพื่อ
นึกถึงคาตอบโดยพยายามจินตนาการว่าอาจารย์เขียนไว้ที่ใดในกระดาน Cicero ใน De Oratore ได้
อธิบายวิธีการที่เกี่ยวกับเรื่องราวของ Deomonticus นักกวีชาวกรีก ผู้เขียนบทกลอนสรรเสริญขุนนาง
โรมัน และสาธยายในงานเลี้ยง ผู้คนจานวนมากมารวมตัวกัน เรื่องก็ดาเนินไป เวลานั้น Deomonticus
ได้ถูกเรียกตัวเข้ามาหลังจากถ่ายทอดกลอนของเขา ขณะที่เขาอยู่ข้างนอก อาคารได้พังลงมา และคร่า
ชีวิตผู้มาร่วมงานมากมาย เหตุการณ์ร้ายแรงเหล่านี้ส่งผลทาลายร้ายแรงแม้กระทั่งญาติของเขาแขนขาก็
ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ อย่างไรก็ตามเขาได้เข้าไปในซากปรกหักพังและสามารถระบุว่าแต่ละคนมาจาก
ส่วนใดของงานเลี้ยง เขาได้รื้อฟื้นความจาของเขาเกี่ยวกับชื่อคนในความสัมพันธ์กับสถานที่ซึ่งทาให้เขา
สามารถนึกย้อนถึงข้อมูลได้
เทคนิคตาแหน่งประกอบไปด้วยขั้นตอนดังต่อไปนี้
1. การระบุถึงสถานที่ที่คุ้นเคยที่ได้จัดเรียงไว้
2. การคิดสร้างภาพสิ่งที่สามารถนึกได้ให้เกี่ยวกับสถานที่
3. การนึกย้อนข้อมูลโดยการพิจารณาสถานที่ที่ทาให้นึกถึงคาที่เคยจดจาไว้
ยกตัวอย่างกลุ่มคาต่อไปนี้
21
แถวทางด้านซ้ายมือเป็นรายการสินค้า และแถวทางด้านขวามือเป็น
สถานที่
Hotdogs driveway
Cat food garage interior
Tomatoes front door
Banana coat closet shelf
Whiskey kitchen sink
สถานที่ได้ถูกจัดเรียงไว้แล้วและมีหน้าที่ในการจินตนาการภาพที่แปลก
ประหลาดเข้าไปในรายการสินค้าให้เกี่ยวข้องกับสถานที่ Bower ได้อธิบายกระบวนการนี้ โดยภาพแรก
จินตนาการถึง giant hot dog rolling down the driveway ภาพที่สองจินตนาการถึง a cat eating
noisily in the garage ภาพที่สามจินตนาการถึง ripe tomatoes splattering over the front door
ภาพที่สี่จินตนาการถึง bunches of bananas swinging from the closet shelf ภาพที่ห้า
จินตนาการถึง a bottle of whisky gurgling down the kitchen sink และสุดท้ายจินตนาการ
ภาพในใจที่เราคุ้นเคยให้เชื่อมโยงเข้ากับรายการสินค้าเบื้องต้น
2. เทคนิคตะขอเกี่ยว (Peg Word System)
คาตะขอเกี่ยวเป็นเทคนิคการจาที่มีหลายรูปแบบ แต่หลักพื้นฐานคือการเรียนรู้
รูปแบบของคาต่างๆในความแตกต่างของระบบพื้นฐาน หัวข้อที่จะเรียนรู้มีชุดของจังหวะในการจาเป็นคู่
เช่น
One is a bun.
Two is a shoe.
Three is a tree.
Four is a door.
Five is hive.
Six is a stick.
Seven is a heaven.
Eight is a gate.
Nine is a line.
Ten is a hen.
หลังจากได้เรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ตะขอเกี่ยวคา สิ่งหนึ่งที่สามารถทาได้คือการ
จินตนาการความสันพันธ์ระหว่างคาที่แสดงไว้เข้ากับคาที่นึกย้อนได้ ยกตัวอย่างเช่น คาว่า elephant
เป็นคาที่นึกย้อนได้ให้สัมพันธ์กับคาว่า bun (จาว่า One is a bun.) ถ้าหากจินตนาการภาพได้แปลกยิ่ง
จะทาให้จาได้ดีกว่าภาพธรรมดา เช่น จินตนาการถึง elephant burger ในลักษณะ a great elephant
is squeezed into small hamburger bun. โดยจา One is a bun.หรือถ้าคาที่นึกย้อนได้คือคาว่า
lion สามารถจินตนาการภาพให้เกี่ยวข้องกับคาตะขอคาว่า shoe เช่น จินตนาการว่า a lion’s
wearing tennis shoes หรือคิดถึงคาตะขอเกี่ยวคาว่า shoe โดยจินตนาการถึง cat’s paws
outfitted with shoes
22
3. เทคนิคคาสาคัญ (Keyword Method)
Solso (1988 : 280 - 281) กล่าวว่า เทคนิคคาสาคัญไว้ว่า การพูดคาต่างประเทศ
กับคาสาคัญนั้นมีความเกี่ยวโยงกันกับการแปลภาษาอังกฤษ ดังนั้นการนาเข้ามารวมกันจะต้อง
ประกอบด้วยคาสาคัญที่เหมือนกับคาต่างประเทศและรูปภาพที่จินตนาการขึ้นจะต้องจะต้องมี
ความสัมพันธ์กันระหว่างคาสาคัญและคาที่แท้จริงของภาษาอังกฤษ เช่นคาว่า pato ในภาษาสเปน
แปลว่า duck และ pato มีการออกเสียงเหมือนคาว่า pot-o การใช้คาว่า pot เป็นคาสาคัญสามารถ
จินตนาการได้ว่า a duck with a pot over its head หรือพิจารณาคาภาษารัสเซียคาว่า zronok
ซึ่งหมายถึง bell (Zronok เสียงเหมือน zrahn- oak โดยการเน้นพยางค์ตัวสุดท้าย การใช้คาว่า oak
เป็นคาสาคัญจินตนาการภาพถึง an oak tree with bells as acorns
4. ระบบข้อมูล (Organizational Schemes)
ทุกระบบของเทคนิคช่วยจามีพื้นฐานมาจากโครงสร้างของข้อมูลเพื่อง่ายต่อการ
จดจาและการระลึกข้อมูล เทคนิคแบบแผนระบบข้อมูลมาจากสถานที่ เวลา ความสัมพันธ์ระหว่างเสียง
และตัวอักษร เสียง ภาพ สิ่งหนึ่งที่มีผลต่อเทคนิคช่วยจาคือ การจัดข้อมูลเข้าในรูปแบบที่มีความหมายที่
สามารถนามาใช้ระลึกข้อมูลได้
เช่น การลองนึกย้อนถึงคาในหัวข้อที่กาหนดให้ 2 นาที
Bird hill web smoke
Boy home hand wool
Bread nail glass vegetable
Church nurse apple train
Tiger pepper grass star
หลังจาก 2 นาที เพิ่มรายการคาศัพท์ตามหัวข้อที่กาหนดให้ใช้เวลา 4 นาที แล้วให้
พยายามจาคา กลุ่มอื่นๆ ก็ให้คาเหมือนกัน เรียนเวลาเท่ากัน และงานเดียวกัน แต่ให้คนละเงื่อนไขโดย
กลุ่มที่ 2 ให้วาดภาพเกี่ยวกับคาศัพท์และใช้ภาพนั้นช่วยในการจดจา กลุ่มที่ 3 ให้จาคาเดียวกันโดยอ่าน
ทวนซ้าตามเรื่องราวที่ให้นาเข้าไปรวมให้เป็นเรื่องราวเดียวกัน ดังตัวอย่างเรื่องราวต่อไปนี้
The fantastic trip
Instead of being in church, where he belonged, the boy was
hiding on the hill. He had bare feet, although the nurse told him he might step on a
nail. In his hand was an apple on which, from time to time, he sprinkled black
pepper.
While a spider spun its web over his head, he dreamed of running away from
home. The thread of this thought went like this. He would hide on a train until he got
to the coast. From there he’d fly to faraway star on a magic carpet or rubbing an
enchanted glass.
Once there he would marry the queen, lie on the grass, and never comb his
hair or eat vegetable. If he got bored, he’d hunt a tiger for fun and watch the smoke
shoot from his gun.
23
But before the boy could finish the daydream, he began to grow tired. As he
started to feed bread crumbs to a nearby bird, he saw a sheep with soft wool. He lay
down on it and fell asleep.
และกลุ่มที่ 4 ให้จาคาศัพท์โดยจัดกลุ่มคาตามความหมาย ซึ่งผู้สอนสามารถช่วยให้
ผู้เรียนจดจาคาศัพท์ได้ โดยใช้อักษรตัวแรกของกลุ่มดังต่อไปนี้รวมกันเป็น B. F. NAPP ดังหมวดหมู่คา
ดังนี้ Body Parts Food Nature
feet bread hill
hand pepper grass
hair apple smoke
nail vegetable star
Animal life Places Processed Things
boy church glass
nurse home wool
queen train carpet
bird
tiger
Sternberg (2006 : 200) ได้กล่าวถึงประเภทของเทคนิคช่วยจาว่ามีมากมายหลาย
ประเภทดังนี้
1. การจัดหมวดหมู่ (Clustering) คือการรวบรวมรายการสิ่งของให้เป็นหมวดหมู่
ยกตัวอย่างเช่น ผู้เรียนจัดหมวดหมู่การซื้อสินค้าตามชนิดของอาหารได้เป็น ผัก ผลไม้ และ เนื้อ เป็นต้น
2. การเชื่อมโยงรูปภาพ (Interactive Image) คือการที่ผู้เรียนจินตนาการถึงรูปภาพ
ของคาศัพท์นั้นเชื่อมโยงกับรูปภาพของคาศัพท์อีกคาหนึ่งให้มีความสัมพันธ์กัน เช่น ผู้เรียนต้องการจะ
ซื้อ ถุงเท้า แอบเปิ้ล และ กรรไกร ผู้เรียนอาจจินตนาการว่า ผู้เรียนกาลังใช้กรรไกรตัดถุงเท้า ซึ่งข้างใน
ถุงเท้ามีแอบเปิ้ลอยู่
3. เทคนิคตะขอเกี่ยว (Keyword Method) คือ การเชื่อมโยงระหว่างรูปภาพของ
คาศัพท์กับรูปภาพของกลุ่มลาดับคาให้มีความสัมพันธ์กัน โดยที่กลุ่มลาดับคาดังกล่าวคือ “One is a
bun” “Two is a shoe” “Three is a tree” เป็นต้น ยกตัวอย่างเช่น หากผู้เรียนต้องการที่จะซื้อถุง
เท้า แอปเปิ้ล และกรรไกร ผู้เรียนอาจจินตนาการถึงรูปภาพของแอปเปิ้ลอยู่ระหว่างขนมปัง 2 ชื้น ถุง
เท้าอยู่ในรองเท้า และกรรไกรกาลังถูกใช้ในการตัดต้นไม้
4. เทคนิคตาแหน่ง (Loci) คือ การที่ผู้เรียนจินตนาถึงการเดินไปในสถานที่ต่าง ๆ ซึ่ง
เป็นสถานที่ ๆ ผู้เรียนรู้จักเป็นอย่างดี จากนั้นผู้เรียนเชื่อมโยงแต่ละสถานที่กับคาศัพท์แต่ละคาที่ผู้เรียน
ต้องการจะจา ยกตัวอย่างเช่น ผู้เรียนจินตนาการถึงเส้นทางที่ผู้เรียนใช้ไปโรงเรียน ซึ่งมีสถานที่ 3 แห่ง
คือ บ้านที่มีรูปร่างแปลกประหลาด ต้นไม้ และ สนามเบสบอล เมื่อรวมเข้ากับคาศัพท์ที่ต้องการจะจา
ผู้เรียนอาจจินตนาการถึง ถุงเท้าอันใหญ่แขวนอยู่ที่บ้านรูปทรงแปลกบริเวณปล่องไฟ กรรไกรกาลังตัด
ต้นไม้ และแอปเปิ้ลวางอยู่ที่สนามเบสบอล
5. เทคนิคตัวย่อ (Acronyms) คือ การที่ผู้เรียนย่อคาศัพท์หรือประโยคเป็นตัวอักษร
โดยที่ตัวอักษรแต่ละตัวแทนคาศัพท์หรือข้อมูลอื่น ๆ ได้ เช่น UK แทน United Kingdom
24
6. เทคนิคการสร้างประโยคที่ความหมายช่วยจา (Acrostics) คือ การที่ผู้เรียนสร้าง
ประโยคในการช่วยจา เช่น ผู้เรียนสร้างประโยค “every good boy does fine” ในการช่วยจาชื่อของ
ตัวโน๊ตที่มีเสียงสูงในบทเพลง
7. เทคนิคคาสาคัญ คือ การที่ผู้เรียนสร้างภาพการเชื่อมโยงระหว่างเสียงและ
ความหมายของคาศัพท์ต่างประเทศกับเสียงและความหมายของคาศัพท์ที่ผู้เรียนคุ้นเคย ยกตัวอย่างเช่น
หากผู้เรียนต้องการจาคาศัพท์คาว่า libro ซึ่งหมายถึง book ในภาษาสเปน ผู้เรียนอาจเชื่อมโยงคาว่า
libro กับ ห้องสมุด (library) จากนั้นผู้เรียนจินตนาการถึง เทพีเสรีภาพกาลังถือสมุดขนาดใหญ่แทนการ
ถือคบเพลิง
Galotti (2008 :297-299) ได้เสนอเทคนิคช่วยจาที่เกี่ยวกับการใช้รูปภาพดังนี้
1. เทคนิคตาแหน่ง คือ เทคนิคที่ผู้เรียนจะจินตนาการถึงภาพของสถานที่หลาย ๆ แห่ง
อย่างเป็นลาดับต่อเนื่องกัน โดยที่สถานที่แต่ละแห่งจะมีสิ่งของที่ผู้เรียนต้องการจาวางอยู่ในสถานที่แต่
ละแห่งนั้น ยกตัวอย่างเช่น หากผู้เรียนต้องการจดจาสิ่งต่าง ๆ เช่น แทบเลต ปากกา กระดาษปริ๊นงาน
หนังสือ และเครื่องคิดเลข ผู้เรียนจะใช้เทคนิคตาแหน่งในการจดจาสิ่งของทั้งหมดเหล่านี้ ขั้นแรกผู้เรียน
จินตนาการถึงภาพที่ผู้เรียนกาลังเดินผ่านทางเดินห้องทางานซึ่งเป็นสถานที่แรก ผู้เรียนจะเจอสิ่งของชิ้น
แรกซึ่งคือแทบเลตพิงอยู่ประตู ขั้นที่สอง ผู้เรียนสารวจที่โต๊ะทางานและพบว่ามีปากกาวางอยู่บนแผ่น
จดหมาย ขั้นที่สาม ผู้เรียนเดินออกไปที่ห้องโถง ระหว่างทางบริเวณทางลงบันไดผู้เรียนพบกระดาษปริ๊น
งานวางอยู่ที่หัวบันได ขั้นที่สี่ ผู้เรียนเดินออกมานอกอาคาร ผ่านต้นโอ๊คต้นใหญ่ไปทางซ้าย และผู้เรียน
มองเห็นหนังเล่มหนึ่งอยู่บนรั้ว ขั้นสุดท้าย ผู้เรียนกาลังจะเดินเข้าไปในห้องสภานักเรียน (Student
union) ผู้เรียนจะมองเห็นเครื่องคิดเลขห้อยอยู่ที่ประตูเข้าห้อง เมื่อผู้เรียนต้องการจะจาสิ่งของเหล่านี้
ผู้เรียนจะจินตนาการว่ากาลังเดินไปเส้นทางเดิมและสังเกตสิ่งของต่าง ๆ ตามเส้นทางที่เดินมา
ภาพตัวอย่างการจาสิ่งของโดยใช้เทคนิคตาแหน่ง สิ่งของที่ต้องการจาคือ ไส้กรอกแดง อาหารแมว กล้วย
มะเขือเทศ เหล้า ส่วนสถานที่คือ ถนนหน้าบ้าน โรงเก็บรถ ประตูหน้าบ้าน ตู้เสื้อผ้า และอ่างน้าใน
ห้องครัว
ภาพประกอบ 1 เทคนิคตาแหน่ง (Galotti. (2008 : 297)
Chapter 2 fixed to print
Chapter 2 fixed to print
Chapter 2 fixed to print
Chapter 2 fixed to print
Chapter 2 fixed to print
Chapter 2 fixed to print
Chapter 2 fixed to print
Chapter 2 fixed to print
Chapter 2 fixed to print
Chapter 2 fixed to print
Chapter 2 fixed to print
Chapter 2 fixed to print
Chapter 2 fixed to print
Chapter 2 fixed to print
Chapter 2 fixed to print
Chapter 2 fixed to print
Chapter 2 fixed to print
Chapter 2 fixed to print
Chapter 2 fixed to print
Chapter 2 fixed to print
Chapter 2 fixed to print
Chapter 2 fixed to print
Chapter 2 fixed to print
Chapter 2 fixed to print

More Related Content

What's hot

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยมผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ssusere4367d
 
E-Book_Intensive_Reading_Chapter2
E-Book_Intensive_Reading_Chapter2E-Book_Intensive_Reading_Chapter2
E-Book_Intensive_Reading_Chapter2
Oraya Chongtangsatchakul
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการnootsaree
 
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
กีรตยา นิยมคุณ
 
009 รายงาน
009 รายงาน009 รายงาน
009 รายงาน
Piyarerk Bunkoson
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
SAKANAN ANANTASOOK
 
การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียน
การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียนการพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียน
การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียน
worapong jinwong
 
การตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย
การตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัยการตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย
การตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เผยแพร่ผลงาน เล่ม 1ocx
เผยแพร่ผลงาน เล่ม 1ocxเผยแพร่ผลงาน เล่ม 1ocx
เผยแพร่ผลงาน เล่ม 1ocx
Pimchanok Teerasawet
 
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
Kritsadin Khemtong
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
Boonlert Aroonpiboon
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
KruBeeKa
 
Pali and Sanskrit in Thai
Pali   and   Sanskrit  in  ThaiPali   and   Sanskrit  in  Thai
Pali and Sanskrit in Thai
sureeniphachaiseeha
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่าน
candy109
 

What's hot (19)

ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยมผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวังวิชาภาษามัธยม
 
E-Book_Intensive_Reading_Chapter2
E-Book_Intensive_Reading_Chapter2E-Book_Intensive_Reading_Chapter2
E-Book_Intensive_Reading_Chapter2
 
บทที่ ๓
บทที่ ๓บทที่ ๓
บทที่ ๓
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
บทที่ ๒.๒
บทที่ ๒.๒บทที่ ๒.๒
บทที่ ๒.๒
 
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
ตัวชี้วัด ม.๑ ม.๒ ม.๓
 
009 รายงาน
009 รายงาน009 รายงาน
009 รายงาน
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงานชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า  ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
ชุดกิจกรรม เรื่อง รายงานการศึกษาค้นคว้า ชุด รูปแบบและจุดมุ่งหมายของรายงาน
 
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
8 การเขียนเชิงวิชาการ(238 262)
 
การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียน
การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียนการพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียน
การพัฒนาทักษะการอ่านจับใจความสำคัญภาษาอังกฤษของนักเรียน
 
การตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย
การตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัยการตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย
การตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย
 
เผยแพร่ผลงาน เล่ม 1ocx
เผยแพร่ผลงาน เล่ม 1ocxเผยแพร่ผลงาน เล่ม 1ocx
เผยแพร่ผลงาน เล่ม 1ocx
 
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
การเขียนบทที่ 1 บทนำของปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย (Introduction)
 
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษวิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
วิจัยเรื่องการอ่านภาษาอังกฤษ
 
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทยมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
 
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
04 แบบ ว-1ย-1ด-วณิชชา-แผนย่อย
 
Pali and Sanskrit in Thai
Pali   and   Sanskrit  in  ThaiPali   and   Sanskrit  in  Thai
Pali and Sanskrit in Thai
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่าน
 

Similar to Chapter 2 fixed to print

ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
กัลยณัฏฐ์ สุวรรณไตรย์
 
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2kruthirachetthapat
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
Kobwit Piriyawat
 
8. ภาษาอังกฤษ
8. ภาษาอังกฤษ8. ภาษาอังกฤษ
8. ภาษาอังกฤษnang_phy29
 
รายงานการพัฒนาตนเองครูพิริยา
รายงานการพัฒนาตนเองครูพิริยารายงานการพัฒนาตนเองครูพิริยา
รายงานการพัฒนาตนเองครูพิริยา
kruliew
 
รายงานค่ายวิชาการ
รายงานค่ายวิชาการรายงานค่ายวิชาการ
รายงานค่ายวิชาการsomthawin
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
Thidarat Termphon
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
Krudoremon
 
รายงานการพัฒนาตนเองครูพิริยา
รายงานการพัฒนาตนเองครูพิริยารายงานการพัฒนาตนเองครูพิริยา
รายงานการพัฒนาตนเองครูพิริยา
kruliew
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...Kobwit Piriyawat
 
01 คำอธิบายรายวิชา
01 คำอธิบายรายวิชา01 คำอธิบายรายวิชา
01 คำอธิบายรายวิชา
sowaluck tantrakul
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมSutasinee Jakaew
 

Similar to Chapter 2 fixed to print (20)

Sirirat 49
Sirirat 49Sirirat 49
Sirirat 49
 
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
 
บทที่ ๒.๑
บทที่ ๒.๑บทที่ ๒.๑
บทที่ ๒.๑
 
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
ม1 วิเคราะห์หลักสูตร 2
 
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
แผนการจัดการเรียนรู้ เรื่องสถานะของสาร รายการครูมืออาชีพ ตอนครูหัดบิน ครูกอบว...
 
8. ภาษาอังกฤษ
8. ภาษาอังกฤษ8. ภาษาอังกฤษ
8. ภาษาอังกฤษ
 
รายงานการพัฒนาตนเองครูพิริยา
รายงานการพัฒนาตนเองครูพิริยารายงานการพัฒนาตนเองครูพิริยา
รายงานการพัฒนาตนเองครูพิริยา
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
Botkwam
BotkwamBotkwam
Botkwam
 
รายงานค่ายวิชาการ
รายงานค่ายวิชาการรายงานค่ายวิชาการ
รายงานค่ายวิชาการ
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
รายงานการพัฒนาตนเองครูพิริยา
รายงานการพัฒนาตนเองครูพิริยารายงานการพัฒนาตนเองครูพิริยา
รายงานการพัฒนาตนเองครูพิริยา
 
Web
WebWeb
Web
 
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
การขับเคลื่อนโรงเรียนนนทรีวิทยา สู่ระบบโรงเรียนมาตรฐานสากล โดย ครูกอบวิทย์ พิ...
 
1
11
1
 
01 คำอธิบายรายวิชา
01 คำอธิบายรายวิชา01 คำอธิบายรายวิชา
01 คำอธิบายรายวิชา
 
3 lang
3 lang3 lang
3 lang
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 

More from gradgrad gradgrad

5 the black cat
5 the black cat5 the black cat
5 the black cat
gradgrad gradgrad
 
4 a curious dream
4 a curious dream4 a curious dream
4 a curious dream
gradgrad gradgrad
 
3 the bride comes to the yellow sky
3 the  bride comes to the yellow sky3 the  bride comes to the yellow sky
3 the bride comes to the yellow sky
gradgrad gradgrad
 
2 the gift of the magi
2 the gift of the magi2 the gift of the magi
2 the gift of the magi
gradgrad gradgrad
 
1 the fat of the land
1 the fat of the land1 the fat of the land
1 the fat of the land
gradgrad gradgrad
 
Character analysis
Character analysisCharacter analysis
Character analysis
gradgrad gradgrad
 
6 rip van winkle
6 rip van winkle6 rip van winkle
6 rip van winkle
gradgrad gradgrad
 
Chapter 1 fixed to print
Chapter 1 fixed to printChapter 1 fixed to print
Chapter 1 fixed to print
gradgrad gradgrad
 
Chapter 3 fixed to print
Chapter 3 fixed to printChapter 3 fixed to print
Chapter 3 fixed to print
gradgrad gradgrad
 
Final reflection gardner 4 en
Final reflection gardner 4 enFinal reflection gardner 4 en
Final reflection gardner 4 en
gradgrad gradgrad
 
Reading reflection gardner 4 en
Reading reflection gardner 4 enReading reflection gardner 4 en
Reading reflection gardner 4 en
gradgrad gradgrad
 
Listening reflect paper pepgard 4 en
Listening reflect paper   pepgard 4 enListening reflect paper   pepgard 4 en
Listening reflect paper pepgard 4 en
gradgrad gradgrad
 
Writing reflect paper pepgard 4 en - draft 2
Writing reflect paper   pepgard 4 en  - draft 2Writing reflect paper   pepgard 4 en  - draft 2
Writing reflect paper pepgard 4 en - draft 2
gradgrad gradgrad
 

More from gradgrad gradgrad (13)

5 the black cat
5 the black cat5 the black cat
5 the black cat
 
4 a curious dream
4 a curious dream4 a curious dream
4 a curious dream
 
3 the bride comes to the yellow sky
3 the  bride comes to the yellow sky3 the  bride comes to the yellow sky
3 the bride comes to the yellow sky
 
2 the gift of the magi
2 the gift of the magi2 the gift of the magi
2 the gift of the magi
 
1 the fat of the land
1 the fat of the land1 the fat of the land
1 the fat of the land
 
Character analysis
Character analysisCharacter analysis
Character analysis
 
6 rip van winkle
6 rip van winkle6 rip van winkle
6 rip van winkle
 
Chapter 1 fixed to print
Chapter 1 fixed to printChapter 1 fixed to print
Chapter 1 fixed to print
 
Chapter 3 fixed to print
Chapter 3 fixed to printChapter 3 fixed to print
Chapter 3 fixed to print
 
Final reflection gardner 4 en
Final reflection gardner 4 enFinal reflection gardner 4 en
Final reflection gardner 4 en
 
Reading reflection gardner 4 en
Reading reflection gardner 4 enReading reflection gardner 4 en
Reading reflection gardner 4 en
 
Listening reflect paper pepgard 4 en
Listening reflect paper   pepgard 4 enListening reflect paper   pepgard 4 en
Listening reflect paper pepgard 4 en
 
Writing reflect paper pepgard 4 en - draft 2
Writing reflect paper   pepgard 4 en  - draft 2Writing reflect paper   pepgard 4 en  - draft 2
Writing reflect paper pepgard 4 en - draft 2
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (10)

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 

Chapter 2 fixed to print

  • 1. 7 บทที่ 2 เอกสาร และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง กลุ่มผู้วิจัยค้นคว้า การส่งเสริมการจดจาคาศัพท์ภาษาอังกฤษโดยใช้เทคนิคช่วยจา กลุ่มผู้วิจัย ได้ศึกษาเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง โดยแบ่งเป็นหัวข้อดังนี้ 1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ 2. เทคนิคช่วยจา 3. คาศัพท์และการสอนคาศัพท์ 4. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 255 นี้ จัดทาขึ้นสาหรับท้องถิ่นและ สถานศึกษาได้นาไปใช้เป็นกรอบและทิศทางในการจัดทาหลักสูตรสถานศึกษา และจัดการเรียนการสอน เพื่อพัฒนาเด็กและเยาวชนไทยทุกคนในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานให้มีคุณภาพด้านความรู้ และทักษะที่ จาเป็นสาหรับการดารงชีวิตในสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง และแสวงหาความรู้เพื่อพัฒนาตนเองอย่าง ต่อเนื่องตลอดชีวิต (กระทรวงศึกษาธิการ. 2551 ) 1. ความสาคัญในการเรียนภาษาต่างประเทศ ในสังคมปัจจุบัน การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศทีความสาคัญและจาเป็นอย่างยิ่งใน ชีวิตประจาวันเนื่องจากเป็นเครื่องมือสาคัญในการติดต่อสื่อสาร การแสวงหาความรู้ การประกอบ อาชีพ การสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับวัฒนธรรมและวิสัยทัศน์ของชุมชนโลก และตระหนักถึงความ หลากหลายทางวัฒนธรรมและมุมมองของสังคมโลก นามาซึ่งไมตรีจิตและความร่วมมือระหว่างประเทศ ต่าง ๆ ช่วยพัฒนาให้ผู้เรียนมีความเข้าใจในตนเองและผู้อื่นดีขึ้น เรียนรู้และเข้าใจความแตกต่างของ ภาษาและวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ประเพณี การคิด สังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครอง มีเจต คติที่ดีต่อการใช้ภาษาต่างประเทศ และใช้ภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสารได้ รวมถึงเข้าองค์ความรู้ ต่าง ๆ ได้ง่ายและกว้างขึ้น และมีวิสัยทัศน์ในการดาเนินชีวิต ภาษาต่างประเทศที่เป็นสาระการเรียนรู้พื้นฐาน ซึ่งกาหนดให้เรียนตลอดหลักสูตร แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน คือ ภาษาอังกฤษ ส่วนภาษาต่างประเทศอื่น เช่น ภาษาฝรั่งเศส เยอรมัน จีน ญี่ปุ่น อาหรับ บาลี และภาษาต่างประเทศเพื่อนบ้าน หรือ ภาษาอื่น ๆ ให้อยู่ในดุลพินิจของ สถานศึกษาที่จะจัดทารายวิชาและการเรียนรู้ตามความเหมาะสม 2. เรียนรู้อะไรในภาษาต่างประเทศ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมุ่งหวังให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อภาษาต่างประเทศ สามารถใช้ภาษาต่างประเทศ สื่อสารในสถานการณ์ต่าง ๆ แสวงหาความรู้ ประกอบอาชีพ และศึกษา ต่อในระดับที่สูงขึ้น รวมทั้งมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องราวและวัฒนธรรมอันหลากหลายของประชาคมโลก
  • 2. 8 และสามารถถ่ายทอดความคิดและวัฒนธรรมไทยไปยังสังคมโลกได้อย่างสร้างสรรค์ ประกอบด้วย สาระสาคัญ ดังนี้ 1. ภาษาเพื่อการสื่อสาร การใช้ภาษาต่างประเทศในการฟัง-พูด-อ่าน-เขียน แลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความคิดเห็น ตีความ นาเสนอข้อมูล ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ และสร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลอย่างเหมาะสม 2. ภาษาและวัฒนธรรม การใช้ภาษาต่างประเทศตามวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ความสัมพันธ์ ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา ภาษาและ วัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับวัฒนธรรมไทย และนาไปใช้อย่างเหมาะสม 3. ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น การใช้ภาษาต่างประเทศในการ เชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น เป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ ของตน 4. ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก การใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ ต่าง ๆ ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ชุมชน และสังคมโลก เป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ ประกอบอาชีพ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก 3. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร แสดงความรู้สึก และความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็น ในเรื่องต่าง ๆ โดยการพูดและการเขียน สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของ ภาษา และนาไปใช้ ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษาและ วัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการ เรียนรู้อื่น และเป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก
  • 3. 9 4. คุณภาพผู้เรียน จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ ๓ ปฏิบัติตามคาขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจง และคาอธิบายที่ฟังและอ่าน อ่านออกเสียง ข้อความ ข่าว โฆษณา นิทาน และบทร้อยกรองสั้น ๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน ระบุ/เขียนสื่อที่ไม่ใช่ ความเรียงรูปแบบต่าง ๆ สัมพันธ์กับประโยคและข้อความที่ฟังหรืออ่าน เลือก/ระบุหัวข้อเรื่อง ใจความ สาคัญ รายละเอียดสนับสนุน และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ พร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องต่าง ๆ ใกล้ตัว สถานการณ์ ข่าว เรื่องที่อยู่ในความสนใจของสังคมและสื่อสารอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม ใช้คาขอร้อง คาชี้แจง และ คาอธิบาย ให้คาแนะนาอย่างเหมาะสม พูดและเขียนแสดงความต้องการ เสนอและให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือ พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังหรืออ่านอย่างเหมาะสม พูดและเขียนบรรยาย ความรู้สึกและความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ กิจกรรม ประสบการณ์ และข่าว/เหตุการณ์ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบอย่างเหมาะสม พูดและเขียนบรรยายเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์/เรื่อง/ประเด็น ต่าง ๆ ที่อยู่ในความสนใจของสังคม พูดและเขียนสรุปใจความสาคัญ/แก่นสาระ หัวข้อเรื่องที่ได้จากการ วิเคราะห์เรื่อง/ข่าว/เหตุการณ์/สถานการณ์ที่อยู่ในความสนใจ พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ กิจกรรม ประสบการณ์ และเหตุการณ์ พร้อมให้เหตุผลประกอบ เลือกใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางเหมาะกับบุคคลและโอกาส ตามมารยาท สังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา อธิบายเกี่ยวกับชีวิตความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและประเพณี ของเจ้าของภาษา เข้าร่วม/จัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจ เปรียบเทียบ และอธิบายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยค ชนิดต่าง ๆ และการลาดับคาตามโครงสร้างประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย เปรียบเทียบ และ อธิบายความเหมือนและความแตกต่างระหว่างชีวิตความเป็นอยู่และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา กับของไทย และนาไปใช้อย่างเหมาะสม ค้นคว้า รวบรวม และสรุปข้อมูล/ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น จากแหล่งการเรียนรู้ และนาเสนอด้วยการพูดและการเขียน ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา ชุมชน และสังคม ใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/ค้นคว้า รวบรวม และสรุปความรู้/ข้อมูลต่าง ๆ จาก สื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่น เป็นภาษาต่างประเทศ มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (เน้นการฟัง-พูด-อ่าน-เขียน) สื่อสารตามหัวเรื่อง เกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อม อาหาร เครื่องดื่ม เวลาว่างและนันทนาการ สุขภาพ และสวัสดิการ การซื้อ-ขาย ลมฟ้าอากาศ การศึกษาและอาชีพ การเดินทางท่องเที่ยว การบริการ สถานที่ ภาษา และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภายในวงคาศัพท์ประมาณ 2,100-2,250 คา (คาศัพท์ที่ เป็นนามธรรมมากขึ้น)
  • 4. 10 ใช้ประโยคผสมและประโยคซับซ้อน (Complex Sentences) สื่อความหมายตาม บริบทต่าง ๆ ในการสนทนาทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ 5. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 ดังตาราง1-8 ตาราง 1 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. ปฏิบัติตามคาขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจง และ คาอธิบายที่ฟังและอ่าน คาขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจง และคาอธิบาย ในการประดิษฐ์ การ บอกทิศทาง ป้ายประกาศต่าง ๆ การใช้อุปกรณ์ - Passive Voice ที่ใช้ในโครงสร้างประโยคง่าย ๆ เช่น is/are + past participle - คาสันธาน)conjunction( เช่น and/ but/ or/ before/ after/ because etc. - ตัวเชื่อม )connective words( เช่น First,… Second,…Third,… Fourth,… Next,… Then,… Finally,… etc. 2. อ่านออกเสียงข้อความ ข่าว โฆษณา และบทร้อยกรองสั้น ๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน ข้อความ ข่าว โฆษณา และบทร้อยกรอง การใช้พจนานุกรม หลักการ อ่านออกเสียง เช่น - การออกเสียงพยัญชนะต้นคาและพยัญชนะท้ายคา สระเสียงสั้น สระเสียงยาว สระประสม - การออกเสียงเน้นหนัก-เบา ในคาและกลุ่มคา - การออกเสียงตามระดับเสียงสูง-ต่า ในประโยค - การออกเสียงเชื่อมโยงในข้อความ - การแบ่งวรรคตอนในการอ่าน - การอ่านบทร้อยกรองตามจังหวะ
  • 5. 11 ตาราง 1 (ต่อ) ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 3. ระบุและเขียนสื่อที่ไม่ใช่ ความเรียง รูปแบบต่าง ๆ ให้ สัมพันธ์กับประโยค และ ข้อความที่ฟังหรืออ่าน ประโยค ข้อความ และความหมายเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อม อาหาร เครื่องดื่ม เวลาว่างและนันทนาการ สุขภาพและ สวัสดิการ การซื้อ-ขาย ลมฟ้าอากาศ การศึกษาและอาชีพ การ เดินทางท่องเที่ยว การบริการ สถานที่ ภาษา และวิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี เป็นวงคาศัพท์สะสมประมาณ 1,400-1,550 คา (คาศัพท์ ที่เป็นรูปธรรมและนามธรรม) การตีความ/ถ่ายโอนข้อมูลให้สัมพันธ์กับสื่อที่ไม่ใช่ความเรียง เช่น สัญลักษณ์ เครื่องหมาย กราฟ แผนภูมิ ตาราง ภาพสัตว์ สิ่งของ บุคคล สถานที่ต่าง ๆ โดยใช้ Comparison of adjectives/ adverbs/ Contrast : but, although/ Quantity words เช่น many/ much/ a lot of/ lots of/ some/ any /a few/ few/ a little/ little etc. 4. เลือก/ระบุหัวข้อเรื่อง ใจความสาคัญ รายละเอียด สนับสนุน และแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและ อ่านจากสื่อประเภทต่าง ๆ พร้อมทั้งให้เหตุผลและ ยกตัวอย่างประกอบ การจับใจความสาคัญ เช่น หัวข้อเรื่อง ใจความสาคัญ รายละเอียด สนับสนุน จากสื่อสิ่งพิมพ์และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น หนังสือพิมพ์ วารสาร วิทยุ โทรทัศน์ เว็บไซด์บนอินเทอร์เน็ต คาถามเกี่ยวกับ ใจความสาคัญของเรื่อง เช่น ใคร ทาอะไร ที่ไหน เมื่อไร อย่างไร ทาไม ใช่หรือไม่ - Yes/No Question - Wh-Question - Or-Question etc. ประโยคที่ใช้ในการแสดงความคิดเห็น การให้เหตุผลและการ ยกตัวอย่าง เช่น I think…/ I feel…/ I believe…/ I agree/disagree…/ I don’t believe…/ I have no idea… - if clauses - so…that/such…that - คาสันธาน )conjunctions( and/ but/ or/ because/ so/ before/ after etc. - Infinitive pronouns :some/ any/ someone/ anyone/ everyone/ one/ ones etc. - Tenses : present simple/ present continuous/ present perfect/ past simple/ future tense etc. - Simple sentence/ Compound sentence/ Complex sentence
  • 6. 12 ตาราง 2 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร แสดงความรู้สึก และความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. สนทนาและเขียนโต้ตอบ ข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เรื่อง ต่าง ๆ ใกล้ตัว สถานการณ์ ข่าว เรื่องที่อยู่ในความสนใจ ของสังคมและสื่อสารอย่าง ต่อเนื่องและเหมาะสม ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารระหว่างบุคคล เช่น การทักทาย กล่าวลา ขอบคุณ ขอโทษ ชมเชย การพูดแทรกอย่างสุภาพ การชักชวน การแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เรื่องใกล้ตัว สถานการณ์ต่าง ๆ ในชีวิตประจาวัน การสนทนา/เขียนข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและบุคคล ใกล้ตัว สถานการณ์ ข่าว เรื่องที่อยู่ในความสนใจในชีวิตประจาวัน 2. ใช้คาขอร้อง ให้คาแนะนา คาชี้แจง และคาอธิบายอย่า เหมาะสม คาขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจง คาอธิบาย ที่มีขั้นตอนซับซ้อน 3. พูดและเขียนแสดงความ ต้องการ เสนอและให้ความ ช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธ การให้ความช่วยเหลือใน สถานการณ์ต่าง ๆ อย่าง เหมาะสม ภาษาที่ใช้ในการแสดงความต้องการ เสนอและให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์ต่าง ๆ เช่น Please…/…, please./ I’d like…/ I need…/ May/Can/Could…?/ Yes,../Please do./ Certainly./ Yes, of course./ Sure./ Go right ahead./ Need some help?/ What can I do to help?/ Would you like any help?/ I’m afraid…/ I’m sorry, but…/ Sorry, but… etc. 4. พูดและเขียนเพื่อขอและให้ ข้อมูล อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ เรื่องที่ฟังหรืออ่านอย่าง เหมาะสม คาศัพท์ สานวน ประโยค และข้อความที่ใช้ในการขอและให้ข้อมูล อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังหรือ อ่าน 5. พูดและเขียนบรรยาย ความรู้สึก และความคิดเห็น ของตนเองเกี่ยวกับ เรื่องต่างๆ กิจกรรม ประสบการณ์ และ ข่าว/เหตุการณ์ พร้อมทั้งให้ เหตุผลประกอบอย่างเหมาะสม ภาษาที่ใช้ในการแสดงความรู้สึก ความคิดเห็น และให้เหตุผลประกอบ เช่น ชอบ ไม่ชอบ ดีใจ เสียใจ มีความสุข เศร้า หิว รสชาติ สวย น่า เกลียด เสียงดัง ดี ไม่ดี จากข่าว เหตุการณ์ สถานการณ์ ใน ชีวิตประจาวัน เช่น Nice./ Very nice./ Well done!/ Congratulations on... / I like…because…/ I love… because… / I feel… because…I think…/ I believe…/ I agree/disagree…/ I’m afraid …/ I don’t like… I don’t believe…/ I have no idea…/ Oh no! etc.
  • 7. 13 ตาราง 3 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความ คิดเห็นในเรื่องต่าง ๆ โดยการพูด และการเขียน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. พูดและเขียนบรรยาย เกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ / เรื่อง/ ประเด็นต่าง ๆ ที่อยู่ใน ความสนใจของสังคม การบรรยายเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์/ประเด็นที่ อยู่ในความสนใจของสังคม เช่น การเดินทาง การรับประทานอาหาร การเล่นกีฬา/ดนตรี การฟังเพลง การอ่านหนังสือ การท่องเที่ยว การศึกษา สภาพสังคม เศรษฐกิจ 2. พูดและเขียนสรุปใจความ สาคัญ/ แก่นสาระ หัวข้อเรื่อง ที่ได้จากการวิเคราะห์เรื่อง/ ข่าว/เหตุการณ์/ สถานการณ์ที่ อยู่ในความสนใจของสังคม การจับใจความสาคัญ/แก่นสาระ หัวข้อเรื่อง การวิเคราะห์เรื่อง/ข่าว/ เหตุการณ์/สถานการณ์ที่อยู่ในความสนใจ เช่น ประสบการณ์ เหตุการณ์ สถานการณ์ต่าง ๆ ภาพยนตร์ กีฬา ดนตรี เพลง 3. พูดและเขียนแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์ และเหตุการณ์ พร้อมทั้งให้เหตุผลประกอบ การแสดงความคิดเห็น และการให้เหตุผลประกอบเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์ และเหตุการณ์ ตาราง 4 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของ เจ้าของภาษา และนาไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. เลือกใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทาง เหมาะกับ บุคคลและโอกาส ตามมารยาท สังคม และวัฒนธรรมของ เจ้าของภาษา การเลือกใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางในการสนทนา ตาม มารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา เช่น การขอบคุณ ขอ โทษ การชมเชย การใช้สีหน้าท่าทางประกอบ การพูด ขณะแนะนา ตนเอง การสัมผัสมือ การโบกมือ การแสดงความ รู้สึกชอบ/ไม่ชอบ การกล่าวอวยพร การแสดงอาการตอบรับหรือปฏิเสธ 2. อธิบายเกี่ยวกับชีวิตความ เป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและ ประเพณีของเจ้าของภาษา ชีวิตความเป็นอยู่ ขนบธรรมเนียมและประเพณีของเจ้าของภาษา 3. เข้าร่วม/จัดกิจกรรมทาง ภาษาและวัฒนธรรมตามความ สนใจ กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม เช่น การเล่นเกม การร้องเพลง การเล่านิทาน บทบาทสมมุติ วันขอบคุณพระเจ้า วันคริสต์มาส วัน ขึ้นปีใหม่ วันวาเลนไทน์
  • 8. 14 ตาราง 5 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษา และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใช้อย่างถูกต้องและ เหมาะสม ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. เปรียบเทียบและอธิบาย ความเหมือนและความแตกต่าง ระหว่างการออกเสียงประโยค ชนิดต่าง ๆ และการลาดับคา ตามโครงสร้างประโยคของ ภาษาต่างประเทศและ ภาษาไทย การเปรียบเทียบและการอธิบายความเหมือน/ความแตกต่างระหว่าง การออกเสียงประโยคชนิดต่าง ๆ ของเจ้าของภาษากับของไทย การ ใช้เครื่องหมายวรรคตอนและการลาดับคาตามโครงสร้างประโยคของ ภาษาต่างประเทศและภาษาไทย 2. เปรียบเทียบและอธิบาย ความเหมือนและความแตกต่าง ระหว่างชีวิตความเป็นอยู่และ วัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับ ของไทย และนาไปใช้อย่าง เหมาะสม การเปรียบเทียบและการอธิบายความเหมือนและความแตกต่าง ระหว่างชีวิตความเป็นอยู่และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับของไทย การนาวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาไปใช้ ตาราง 6 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่ม สาระการเรียนรู้อื่น และเป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. ค้นคว้า รวบรวม และสรุป ข้อมูล/ ข้อเท็จจริงที่เกี่ยวข้อง กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นจาก แหล่งเรียนรู้ และนาเสนอด้วย การพูดและการเขียน การค้นคว้า การรวบรวม การสรุป และการนาเสนอข้อมูล/ข้อเท็จจริง ที่เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
  • 9. 15 ตาราง 7 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่าง ๆ ทั้งใน สถานศึกษา ชุมชน และสังคม ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. ใช้ภาษาสื่อสารใน สถานการณ์จริง/สถานการณ์ จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา ชุมชน และสังคม การใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นใน ห้องเรียน สถานศึกษา ชุมชน และสังคม ตาราง 8 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 3 ที่สอดคล้องกับมาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษา ต่อ การประกอบอาชีพ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 1. ใช้ภาษาต่างประเทศในการ สืบค้น/ค้นคว้า รวบรวม และ สรุปความรู้/ข้อมูลต่าง ๆ จาก สื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ในการศึกษาต่อและประกอบ อาชีพ การใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/การค้นคว้าความรู้/ข้อมูลต่าง ๆ จากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ 2. เผยแพร่ /ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่น เป็น ภาษาต่างประเทศ การใช้ภาษาต่างประเทศในการเผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสาร ของโรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่น เช่น การทาหนังสือเล่มเล็กแนะนา โรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่น การทาแผ่นปลิว ป้ายคาขวัญ คาเชิญ ชวนแนะนา โรงเรียนและสถานที่สาคัญในชุมชนและท้องถิ่น การ นาเสนอข้อมูลข่าวสารในโรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่นเป็น ภาษาอังกฤษ 6. คาอธิบายรายวิชา คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ สาระการเรียนรู้พื้นฐาน รหัสวิชา อ 23101 วิชาภาษาอังกฤษ 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เวลา 60 ชั่วโมง จาหน่วยหน่วยกิต 1.5 หน่วย มีคาอธิบายรายวิชาดังนี้ ฝึกทักษะการปฏิบัติตาม คาขอร้อง คาแนะนา และคาชี้แจง ที่ฟังและอ่าน การอ่าน ออกเสียงข้อความ ข่าว โฆษณา และบทร้อยกรองสั้นๆ ถูกต้องตามหลักการอ่าน การสนทนาและ เขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง เรื่องต่าง ๆ ใกล้ตัว เศรษฐกิจพอเพียง และสถานการณ์ต่าง ๆ ข่าว เรื่องที่อยู่ในความสนใจของสังคม และสื่อสารอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม การใช้คาขอร้อง
  • 10. 16 ให้คาแนะนา คาชี้แจง และคาอธิบายอย่างเหมาะสม การพูดและเขียนแสดงความต้องการขอความ ช่วยเหลือ ตอบรับ และปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์ต่าง ๆ การพูดและเขียนบรรยาย เกี่ยวกับตนเองกิจวัตรประจาวัน ประสบการณ์และข่าว / เหตุการณ์ เรื่อง / ประเด็นต่าง ๆ ที่อยู่ใน ความสนใจของสังคม การพูด/เขียนสรุปใจความสาคัญ/แก่นสาระและหัวข้อเรื่อง/ ข่าว / เหตุการณ์ ที่อยู่ในความสนใจของสังคม การเลือกใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางสุภาพ เหมาะสมกับบุคคล และโอกาส ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา การเปรียบเทียบและอธิบายความ เหมือนและความแตกต่างระหว่างการออกเสียงประโยคชนิดต่าง ๆ และการลาดับคาตามโครงสร้าง ประโยคของภาษาต่างประเทศและภาษาไทย การค้นคว้า รวบรวม และสรุปข้อมูล/ข้อเท็จจริงที่ เกี่ยวข้องกับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นจากแหล่งการเรียนรู้และนาเสนอด้วยการพูด/การเขียน การใช้ ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียนและสถานศึกษาและชุมชน โดยใช้กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ใช้ภาษาในการสื่อสาร ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน สถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม เห็นคุณค่าของการเรียนภาษาต่างประเทศ มีนิสัย ใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีความกระตือรือร้น มีมารยาทในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน มีคุณธรรม จริยธรรม มีสัมมาคารวะ และมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาภาษาต่างประเทศ คาอธิบายรายวิชากลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ สาระการเรียนรู้พื้นฐาน รหัสวิชา อ 23102 วิชาภาษาอังกฤษ 5 ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 เวลา 60 ชั่วโมง จาหน่วยหน่วยกิต 1.5 หน่วย มีคาอธิบายรายวิชาดังนี้ ฝึกทักษะระบุและ เขียนสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่าง ๆ ให้สัมพันธ์กับประโยคและ ข้อความที่ฟังหรืออ่าน เลือก/ระบุหัวข้อเรื่อง ใจความสาคัญ บอกรายละเอียดสนับสนุน และแสดง ความเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังและอ่านพร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่าง การพูดและเขียนเพื่อขอและให้ ข้อมูลบรรยายและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่องที่ฟังหรืออ่าน การพูดและเขียนแสดงความรู้สึกและ ความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่าง ๆ กิจกรรมต่าง เศรษฐกิจพอเพียง และประสบการณ์ พร้อม ทั้งให้เหตุผล ประกอบอย่างเหมาะสมอย่างเหมาะสม การพูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ กิจกรรมประสบการณ์และเหตุการณ์ พร้อมทั้งให้เหตุผล ประกอบ อธิบายเกี่ยวกับขนบธรรมเนียม และ ประเพณีของเจ้าของภาษา การเข้าร่วม/กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมตามความสนใจการ เปรียบเทียบความเหมือนและความแตกต่างระหว่างชีวิตความเป็นอยู่และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา กับของไทย และนาไปใช้อย่างเหมาะสม การใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/ค้นคว้าความรู้/ข้อมูล ต่าง ๆ จากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่าง ๆ ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ การเผยแพร่/ ประชาสัมพันธ์ข้อมูลข่าวสารของโรงเรียนเป็นภาษาต่างประเทศ โดยใช้กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการสร้างความคิดรวบยอด เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ใช้ภาษาในการสื่อสาร ทักษะการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน สถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างถูกต้อง เหมาะสม เห็นคุณค่าของการเรียนภาษาต่างประเทศ มีนิสัยใฝ่รู้ใฝ่เรียน มีความกระตือรือร้น มีมารยาทในการฟัง การพูด การอ่าน การเขียน มีคุณธรรม จริยธรรม มีสัมมาคารวะ และมีเจตคติที่ดีต่อการเรียนวิชาภาษาต่างประเทศ
  • 11. 17 เทคนิคช่วยจา 1. ความหมาย Glover, Ronning and Bruning (1990 : 118) ให้ความหมายของเทคนิคช่วยจาว่า เทคนิคช่วยจาเป็นเทคนิคที่ช่วยให้จาข้อมูลต่าง ๆ ได้ เทคนิคช่วยจามีหลักการทางานเป็นคู่ที่เชื่อมโยง ระหว่างข้อมูลกับสิ่งที่เรียนรู้เพื่อให้ข้อมูลน่าจดจายิ่งขึ้น นอกจากนั้นเทคนิคช่วยจายังเป็นเทคนิคสาหรับ การจัดทาระบบข้อมูลใหม่อย่างละเอียดเพื่อช่วยในการจา Galotti (2008 : 297) ให้ความหมายของเทคนิคช่วยจาว่าเทคนิคช่วยคาหมายถึงสิ่งที่ช่วย เพิ่มโอกาสให้ผู้เรียนสามารถจดจาคาศัพท์ได้ดีขึ้น โดยเฉพาะอย่างยิ่งช่วยให้การเรียกคืนข้อมูลดียิ่งขึ้น Solso (2011 : 179) ให้ความหมายของเทคนิคช่วยจาว่าเทคนิคช่วยจาหมายถึงเทคนิค หรือเครื่องมือที่ช่วยในการจดจาข้อมูลใหม่ได้ดียิ่งขึ้น และยังสามารถช่วยในการระลึกถึงข้อมูลที่เก็บไว้ได้ ดีเช่นเดียวกัน Bakken and Simpson (2011 : 1) ให้ความหมายของเทคนิคช่วยจาว่าเทคนิคช่วยจา หมายถึง กระบวนการที่เป็นระบบสาหรับการเสริมสร้างการจดจาข้อมูลและทาให้ข้อมูลมีความหมาย ยิ่งขึ้น ทาให้เข้าถึงข้อมูลให้ดียิ่งขึ้น ซึ่งหากเข้าใจข้อมูลได้ดีแล้ว จะเป็นเรื่องง่ายมากที่จะจดจาข้อมูล หรือระลึกถึงข้อมูลในภายหลัง Mastropieri and Scruggs (2012 : 8) ให้ความหมายของเทคนิคช่วยจาว่าเทคนิคช่วยจา หมายถึง เทคนิคที่ช่วยในการจดจาข้อมูลโดยการใช้รูปภาพ คา จังหวะทานองในการกระตุ้นการระลึก ข้อมูล โดยใช้รูปภาพ คา จังหวะทานองเพื่อเชื่อมโยงข้อมูล 2. ประเภทของเทคนิคช่วยจา Glover, Ronning and Bruning (1990 : 119-126) ได้แบ่งประเภทของเทคนิคช่วยจา ดังนี้ 1. เทคนิคตะขอเกี่ยว (The Peg Method) เทคนิคนี้ผู้เรียนจดจาข้อมูลในรูปแบบของ “ตะขอ” ตะขอที่ว่านี้คือกลุ่มของข้อมูลซึ่งได้เกี่ยวกันไว้ เทคนิคตะขอเกี่ยววิธีที่นิยมมากที่สุด คือ การใช้ คาสัมผัสง่ายๆ ให้คล้องจองกัน ดังเห็นได้จากสัมผัสดังต่อไปนี้ One is a bun. Two is a shoe. Three is a tree. Four is a door. Five is a hive. Six is a sticks. Seven is heaven. Eight is a gate. Nine is a pine. Ten is a hen. เมื่อเทคนิคนี้ใช้สัมผัสข้างต้น ขั้นตอนแรกคือสร้างภาพของวัตถุให้สัมพันธ์กับคา สัมผัสในแต่ละข้อ ยกตัวอย่างเช่น
  • 12. 18 -ใช้สัมผัสในข้อแรก One is a bun. ผู้เรียนต้องการจาคาศัพท์คาว่า pickles ผู้เรียนสามารถ จินตนาการถึง ผักดอง (pickles) ถูกยัดไส้อยู่ในขนมปัง (bun) -ใช้สัมผัสในข้อสอง Two is a shoe. ผู้เรียนต้องจาคาว่า loaf จึงให้ผู้เรียนจินตนาการถึง Loaf of bread ถูกดันเข้าไปในรองเท้าราวกับว่าก้อนขนมปังนั่งอยู่ในรองเท้า (shoe) -ใช้สัมผัสในข้อสาม Three is a tree. ผู้เรียนต้องจาคาว่า milk จึงให้ผู้เรียนจินตนาการถึงมี ต้นไม้ (tree) ใหญ่ตนหนึ่งที่แผ่กิ่งก้านสาขาออกลูกเป็นแก้วนม (milk) -ใช้สัมผัสในข้อสี่ Four is a door. ผู้เรียนต้องจาคาว่า oranges จึงให้ผู้เรียนจินตนาการถึงส้ม (orange) เป็นลูกบิดประตู และเมื่อเวลาเราเปิดประตูผลส้มจะกลิ้งหล่นไปตามพื้น -ใช้สัมผัสในข้อห้า Five is a hive. ผู้เรียนต้องจาคาว่า lightbulbs จึงให้ผู้เรียนจินตนาการถึง ภาพของรวงผึ้ง (beehive) ที่ส่องแสงวูบวาบเหมือนหลอดไฟ หลังจากที่ผู้เรียนได้จินตนาการรายการคาศัพท์ใหม่ซึ่งสัมพันธ์กับคาสัมผัสของเทคนิค ตะขอเกี่ยวแล้ว ผู้เรียนจะประสบผลสาเร็จที่แท้จริงเมื่อถึงเวลาระลึกข้อมูล กล่าวคือ ผู้เรียนท่องคา สัมผัสอย่างง่ายนั้นจากนั้นภาพแต่ละภาพที่ผู้เรียนจินตนาการไว้จะปรากฏออกมาเป็นคาศัพท์ ซึ่งเป็น กระบวนการท่องจาสัมผัสง่ายๆที่ระลึกคาศัพท์ข้างต้นทั้งหมด 2. เทคนิคตาแหน่ง (The Method of Loci) เทคนิคตาแหน่งเป็นเทคนิคที่มีชื่อเสียงมากที่สุดในสมัยกรีกโบราณ ที่มาของเทคนิค ตาแหน่งมาจากเรื่องราวของกวีผู้หนึ่งชื่อ Simonides เขาได้มาร่วมงานเลี้ยงแห่งหนึ่ง จากนั้นก็ถูกเรียก ตัวไปข้างนอก ในขณะที่เขาอยู่ด้านนอกงานเลี้ยงนั้น ทันใดนั้นอาคารก็พังทลายลงมา เป็นสาเหตุให้คนที่ อยู่ในงานเลี้ยงนั้นเสียชีวิตทั้งหมด อย่างไรก็ตาม Simonides สามารถจาตาแหน่งของบุคคลที่อยู่ภายใน งานเลี้ยงนั้นได้ ดังนั้นชื่อของเทคนิคตาแหน่ง มาจากที่ Simonides ใช้สถานที่ในการระลึกบุคคลนั้นๆ ในการใช้เทคนิคตาแหน่งเพื่อเรียนเรื่องใหม่ ตาแหน่งที่ผู้เรียนเลือกต้องเป็นสถานที่ง่ายต่อการจิตนาการ ถึง เช่น sofa, coffee table, window, television and armchair ตัวอย่างสถานการณ์ในการใช้ เทคนิคตาแหน่ง เช่น สมมติสถานการณ์ให้ผู้เรียนต้องจดจาชื่อคนที่เป็นที่นิยม ได้แก่ Lee, Jackson, Stuart, Forrest and Johnston ผู้เรียนสามารถจินตนาการว่า คนที่ชื่อ Lee นั่งอยู่บนโซฟา ในขณะที Jackson พาดขาที่ใส่รองเท้าไว้บนโต๊ะกาแฟ ส่วน Stuart กาลังมองออกไปนอกหน้าต่าง Forrest กาลัง ปรับคลื่นโทรทัศน์ และ Johnston กาลังนั่งอยู่ที่เก้าอี้ และเมื่อถึงเวลาในการระลึกข้อมูล ให้ผู้เรียนนึก ย้อนกลับไปยังตาแหน่งที่เราได้สร้างจุดไว้ก็จะระลึกภาพตาแหน่งของคนๆนั้น เทคนิคตาแหน่งนี้สามารถ ใช้ตาแหน่งเดิมซ้าหลายครั้ง ซึ่งก็ยังคงมีประสิทธิภาพในการช่วยจาเสมอ 3. เทคนิคคาเชื่อมโยง (The Link Method) เทคนิคคาเชื่อมโยงเหมาะสาหรับการเรียนรู้รายการของสิ่งต่างๆมากที่สุด เทคนิค ดังกล่าวนี้ ผู้เรียนใช้รูปภาพในการจาสิ่งที่อยู่ในรายการ ซึ่งภาพแต่ละภาพถูกจินตนาการให้สัมพันธ์กับ สิ่งของ ยกตัวอย่างเช่น เมื่อผู้เรียนต้องจาว่าจะนาสิ่งของดังต่อไปนี้ไปโรงเรียนในวันพรุ่งนี้เช้า ได้แก่ homework, lab notebook, chemistry text, goggles, lab apron and pencil ผู้เรียนสามารถ จินตนาการถึงฉากหนึ่งที่มีใบงาน (Homework Paper) ถูกสอดไว้ในคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊ก (Lab Notebook) ซึ่งข้างๆคอมพิวเตอร์โน๊ตบุ๊กจะมีหนังสือเรียนวิชาเคมี (Chemistry Text) วางอยู่และมี แว่นตา (Goggles) วางอยู่ข้างๆ ถัดจากนั้นมีวัตถุชิ้นหนึ่งที่ถูกห่อหุ้มด้วยผ้ากันเปื้อน (Lab Apron) ซึ่ง
  • 13. 19 ผูกติดกับดินสอ (Pencil) เพื่อจะทาโบว์อย่างสวยงาม ในวันรุ่งขึ้น เมื่อผู้เรียนพยายามที่จะนึกว่าต้องนา สิ่งใดไปโรงเรียนบ้าง ภาพที่สร้างขึ้นจะเชื่อมโยงกันทาให้ผู้เรียนระลึกถึงสิ่งของได้ทั้งหมด 4. เทคนิคการเล่าเรื่อง (Stories Method) เทคนิคเล่าเรื่องเป็นการสร้างเรื่องราวจากสิ่งที่เรียนรู้ ในการใช้วิธีนี้ผู้เรียนนา คาศัพท์ที่เรียนมาจัดกลุ่มเข้าด้วยกันแล้วสร้างเป็นเรื่องราว ดังตัวอย่างสถานการณ์ต่อไปนี้ สมมติว่า ผู้เรียนต้องนาสิ่งที่จะนามาโรงเรียน อันได้แก่ กรรไกร ไม้บรรทัด เข็มทิศ ไม้โปรแทรคเตอร์ และดินสอ ผู้เรียนสามารถแต่งเรื่องราวจากสิ่งของเหล่านี้เพื่อช่วยในการจาสิ่งของได้ทั้งหมด “The king drew a pencil line with this ruler before he cut the line with scissors. Then he measured an angle with a protractor and marked the point with a compass.” จากเรื่องราวดังกล่าวสร้าง มาจากสิ่งของที่เราต้องจา การแต่งเรื่องขึ้นมาช่วยให้เราจาสิ่งที่จะเรียนรู้ได้ดี 5. เทคนิคอักษรตัวแรกมีลักษณะคล้ายคลึงกันเทคนิคเล่าเรื่อง แต่เทคนิคนี้จะใช้อักษร ตัวแรกของคามาทาให้เป็นตัวอักษรย่อ หรือ คาๆหนึ่ง คาย่อที่มาจากตัวอักษรแรกของคาจะช่วยให้จา คาศัพท์โดยผู้เรียนระลึกข้อมูลซึ่งสัมพันธ์กับอักษรย่อที่ได้กาหนดไว้ ยกตัวอย่างเช่น สมมติว่าผู้เรียนใน ระดับชั้นมัธยมต้องจาคาว่า borax ซึ่งมีองค์ประกอบคือ boron, oxygen and sodium ผู้เรียน สามารถดึงอักษรตัวแรกจากคาดังกล่าว จะได้คาว่า bos หลังจากนั้น เมื่อผู้เรียนระลึกข้อมูลใน องค์ประกอบของคาว่า borax ผู้เรียนจะใช้เทคนิคในการจาคาว่า bos ในการนึกถึงองค์ประกอบของ สารนั้นทั้งหมด 6. เทคนิคคาสาคัญ (The keyword Method) ในบรรดาเทคนิคช่วยจาทั้งหมด เทคนิคคาสาคัญได้ชื่อว่าเป็นเทคนิคที่ยืดหยุ่นและมี ประสิทธิภาพมากที่สุด เดิมทีแล้วเทคนิคนี้ถูกพัฒนาขึ้นเพื่อช่วยในการเรียนรู้คาศัพท์ เนื่องจากเทคนิค เชื่อมโยง เทคนิคตาแหน่ง เทคนิคตะขอเกี่ยว ส่งผลต่อการใช้เทคนิคคาสาคัญ เทคนิคคาสาคัญแบ่ง ออกเป็น 2 กลุ่มดังนี้ 1.เทคนิคเกี่ยวกับเสียง (Acoustic) ในการเรียนรู้คาศัพท์ขั้นตอนแรกคือการระบุ คาหลัก หรือคาสาคัญ จากนั้นจึงนาเอาคาสาคัญซึ่งเป็นคาศัพท์ที่ได้เรียนมาเชื่อมโยงกับเสียง ทาให้เกิด จังหวะเพื่อช่วยในการจา 2.เทคนิคการเชื่อมโยงด้วยภาพ (Imagery Link)การเชื่อมโยงภาพให้สัมพันธ์ กับคาศัพท์ ซึ่งจินตนาการภาพให้เชื่อมโยงกับความหมายของคาศัพท์ที่เรียน ดังตัวอย่างสถานการณ์ ต่อไปนี้ สมมติว่าให้ผู้เรียนเกรด 6 เรียนคาศัพท์ในวิชาศิลปะ ผู้เรียนรู้คาศัพท์เกี่ยวกับวิชานี้มากมาย แต่มีอยู่คาหนึ่งที่ผู้เรียนไม่รู้ สมมติเป็นคาว่า captivate ผู้เรียนจึงใช้เทคนิคคาสาคัญมาช่วยในการจา คาศัพท์ ขั้นตอนแรกคือ ผู้เรียนหาคาสาคัญหลักของคาดังกล่าว ในที่นี้ได้คาสาคัญคือ cap จากนั้น ผู้เรียนเชื่อมคาสาคัญนั้นกับภาพ ในกรณีนี้คือ ผู้เรียนจินตนาการถึง ลุงของตนเองชื่อ บิลล์ชอบใส่หมวก (Cap) เมื่อไรก็ตามที่เขาไปเยี่ยมคุณลุง เมื่อเล่ามาถึงตรงนี้ให้หยุดสักพักเพื่อดึงดูดความสนใจของผู้เรียน จากนั้นจึงกล่าวเสริมว่า เรื่องเล่าของลุงบิลล์นั้นสร้างความประทับใจให้กับเขา เวลาสอบเมื่อผู้เรียนเห็น คาว่า captivate ผู้เรียนจะนึกถึงคาสาคัญคือคาว่า cap ก็จะสามารถจาภาพของลุงบิลล์และ ความหมายของคานั้นได้ 7. เทคนิคโยดาย (Yodai Mnemonics) เทคนิคโยดายได้รับการพัฒนาขึ้นในปี ค.ศ. 1920 โดยนักวิชาการชาวญี่ปุ่น ชื่อ Masachika Nakane แต่เมื่อไม่นานมานี้เพิ่งได้รับความสนใจจากนักจิตวิทยาชาวตะวันตกหลาย ท่าน คาว่า Yodai หมายถึง สาระสาคัญของเรื่อง เทคนิคโยดายออกแบบขึ้นมาเพื่อให้เป็นสื่อกลางทาง
  • 14. 20 วัจนภาษาในพูดการสะกดคาของโครงสร้างสาหรับการแก้ปัญหาการเรียนรู้คาศัพท์ ตัวอย่างเทคนิคโยดาย การสอนวิชาคณิตศาสตร์เรื่องเศษส่วนให้กับเด็กอนุบาล เทคนิคนี้จะใช้การเปรียบเทียบกับคาที่เราคุ้นเคย ดังนั้น a fraction ถูกเปรียบให้เป็น bug with a head and a wing ส่วนหัว (the head) ของแมลง คือตัวเศษ และ ส่วนปีก (the wing) ของแมลง คือ ตัวส่วน โดยครูจะสอนว่าในการบวกเลขนั้นให้ผู้เรียนทาตัวส่วนให้เท่ากันก่อน ยกตัวอย่างเช่น ให้ผู้เรียน นับหัวของแมลงได้เลยเมื่อปีกแมลงมีจานวนเท่ากัน ส่วนในการคูณ ให้ผู้เรียนนับส่วนหัวรวมกันไว้ และนับส่วนของปีกรวมกันไว้ จากนั้นก็นามาคูณกันโดยเราจะใช้สัญลักษณ์ (X) ซึ่งหมายถึง horns or feeler และในการหารให้ผู้เรียนพลิกจานวนส่วนหัวของแมลงกลับกันกับส่วนปีกของแมลง กล่าวคือ กลับส่วนเป็นเศษ กลับเศษเป็นส่วนนั่นเอง ซึ่งผลของการใช้เทคนิคนี้ชี้ว่าเมื่อผู้เรียนใช้เทคนิคโยดาย ผู้เรียนประสบผลสาเร็จมากกว่าเทคนิคดั้งเดิม จะเห็นได้ว่าผู้เรียนใช้เทคนิคนี้โดยนับ หัว (a head) และ ปีก (a wing) ของแมลงแทนการใช้เศษส่วน การบวก การคูณ การหาร และอื่นๆ Solso (1998 : 276-283) กล่าวว่าวิธีการจดจามีมากมายหลายวิธี ผู้กล่าวปราศรัยของ กรีกและโรมันก็เคยใช้เทคนิคตาแหน่งในศาสนาที่มีการใช้ลูกประคาหรือสาหรับนักสวดที่ใช้ในการ ท่องจาบทสวดที่เป็นรูปแบบทางการต่างๆ แต่ละรุ่นของชาวพื้นเมืองอเมริกันได้ถ่ายทอดพิธีต่างๆ และปรัชญาตลอดจนการจดจาเรื่องราวต่างๆ และการพูดปากต่อปากของชาวพื้นเมืองในประวัติศาสตร์ อย่างกว้างขวางถูกเติมเต็มด้วยการจดจาโดยการใช้รูปภาพที่ชัดเจนมาช่วยในการจดจาคาศัพท์ เทคนิค ช่วยจามีหลายประเภทดังนี้ 1. เทคนิคตาแหน่ง (Loci) ในช่วงแรก ๆ สมาชิกสภาของกรีกก็เคยใช้ต้นเสาซึ่งเรียกวิธีนี้ว่า เทคนิคตาแหน่ง มาช่วยในการจดจาเพื่อการพูด Deomonticus ได้เสนอตาบลทางตะวันตก ที่เริ่มพูดปราศรัยโดยการ มองดูเสาด้านซ้ายที่ได้เขียนคาลงไป เช่น คาว่า THEATER ที่ทาให้นึกถึงสิ่งที่จะโต้แย้งเกี่ยวกับ Greek Theater ภายในอาคาร เสาต่อไปเขียนคาว่า FISHES ที่เป็นส่วนหนึ่งที่เพิ่มแนวคิดเกี่ยวกับ fishing เสาต่อไปเขียนคาว่า war ลงไปซึ่งผู้ปราศรัยจะต้องพูดขึ้นมาอย่างฉับพลันในหัวข้อนั้นๆ เป็นการใช้เพื่อ นึกถึงคาตอบโดยพยายามจินตนาการว่าอาจารย์เขียนไว้ที่ใดในกระดาน Cicero ใน De Oratore ได้ อธิบายวิธีการที่เกี่ยวกับเรื่องราวของ Deomonticus นักกวีชาวกรีก ผู้เขียนบทกลอนสรรเสริญขุนนาง โรมัน และสาธยายในงานเลี้ยง ผู้คนจานวนมากมารวมตัวกัน เรื่องก็ดาเนินไป เวลานั้น Deomonticus ได้ถูกเรียกตัวเข้ามาหลังจากถ่ายทอดกลอนของเขา ขณะที่เขาอยู่ข้างนอก อาคารได้พังลงมา และคร่า ชีวิตผู้มาร่วมงานมากมาย เหตุการณ์ร้ายแรงเหล่านี้ส่งผลทาลายร้ายแรงแม้กระทั่งญาติของเขาแขนขาก็ ไม่สามารถเคลื่อนไหวได้ อย่างไรก็ตามเขาได้เข้าไปในซากปรกหักพังและสามารถระบุว่าแต่ละคนมาจาก ส่วนใดของงานเลี้ยง เขาได้รื้อฟื้นความจาของเขาเกี่ยวกับชื่อคนในความสัมพันธ์กับสถานที่ซึ่งทาให้เขา สามารถนึกย้อนถึงข้อมูลได้ เทคนิคตาแหน่งประกอบไปด้วยขั้นตอนดังต่อไปนี้ 1. การระบุถึงสถานที่ที่คุ้นเคยที่ได้จัดเรียงไว้ 2. การคิดสร้างภาพสิ่งที่สามารถนึกได้ให้เกี่ยวกับสถานที่ 3. การนึกย้อนข้อมูลโดยการพิจารณาสถานที่ที่ทาให้นึกถึงคาที่เคยจดจาไว้ ยกตัวอย่างกลุ่มคาต่อไปนี้
  • 15. 21 แถวทางด้านซ้ายมือเป็นรายการสินค้า และแถวทางด้านขวามือเป็น สถานที่ Hotdogs driveway Cat food garage interior Tomatoes front door Banana coat closet shelf Whiskey kitchen sink สถานที่ได้ถูกจัดเรียงไว้แล้วและมีหน้าที่ในการจินตนาการภาพที่แปลก ประหลาดเข้าไปในรายการสินค้าให้เกี่ยวข้องกับสถานที่ Bower ได้อธิบายกระบวนการนี้ โดยภาพแรก จินตนาการถึง giant hot dog rolling down the driveway ภาพที่สองจินตนาการถึง a cat eating noisily in the garage ภาพที่สามจินตนาการถึง ripe tomatoes splattering over the front door ภาพที่สี่จินตนาการถึง bunches of bananas swinging from the closet shelf ภาพที่ห้า จินตนาการถึง a bottle of whisky gurgling down the kitchen sink และสุดท้ายจินตนาการ ภาพในใจที่เราคุ้นเคยให้เชื่อมโยงเข้ากับรายการสินค้าเบื้องต้น 2. เทคนิคตะขอเกี่ยว (Peg Word System) คาตะขอเกี่ยวเป็นเทคนิคการจาที่มีหลายรูปแบบ แต่หลักพื้นฐานคือการเรียนรู้ รูปแบบของคาต่างๆในความแตกต่างของระบบพื้นฐาน หัวข้อที่จะเรียนรู้มีชุดของจังหวะในการจาเป็นคู่ เช่น One is a bun. Two is a shoe. Three is a tree. Four is a door. Five is hive. Six is a stick. Seven is a heaven. Eight is a gate. Nine is a line. Ten is a hen. หลังจากได้เรียนรู้เกี่ยวกับการใช้ตะขอเกี่ยวคา สิ่งหนึ่งที่สามารถทาได้คือการ จินตนาการความสันพันธ์ระหว่างคาที่แสดงไว้เข้ากับคาที่นึกย้อนได้ ยกตัวอย่างเช่น คาว่า elephant เป็นคาที่นึกย้อนได้ให้สัมพันธ์กับคาว่า bun (จาว่า One is a bun.) ถ้าหากจินตนาการภาพได้แปลกยิ่ง จะทาให้จาได้ดีกว่าภาพธรรมดา เช่น จินตนาการถึง elephant burger ในลักษณะ a great elephant is squeezed into small hamburger bun. โดยจา One is a bun.หรือถ้าคาที่นึกย้อนได้คือคาว่า lion สามารถจินตนาการภาพให้เกี่ยวข้องกับคาตะขอคาว่า shoe เช่น จินตนาการว่า a lion’s wearing tennis shoes หรือคิดถึงคาตะขอเกี่ยวคาว่า shoe โดยจินตนาการถึง cat’s paws outfitted with shoes
  • 16. 22 3. เทคนิคคาสาคัญ (Keyword Method) Solso (1988 : 280 - 281) กล่าวว่า เทคนิคคาสาคัญไว้ว่า การพูดคาต่างประเทศ กับคาสาคัญนั้นมีความเกี่ยวโยงกันกับการแปลภาษาอังกฤษ ดังนั้นการนาเข้ามารวมกันจะต้อง ประกอบด้วยคาสาคัญที่เหมือนกับคาต่างประเทศและรูปภาพที่จินตนาการขึ้นจะต้องจะต้องมี ความสัมพันธ์กันระหว่างคาสาคัญและคาที่แท้จริงของภาษาอังกฤษ เช่นคาว่า pato ในภาษาสเปน แปลว่า duck และ pato มีการออกเสียงเหมือนคาว่า pot-o การใช้คาว่า pot เป็นคาสาคัญสามารถ จินตนาการได้ว่า a duck with a pot over its head หรือพิจารณาคาภาษารัสเซียคาว่า zronok ซึ่งหมายถึง bell (Zronok เสียงเหมือน zrahn- oak โดยการเน้นพยางค์ตัวสุดท้าย การใช้คาว่า oak เป็นคาสาคัญจินตนาการภาพถึง an oak tree with bells as acorns 4. ระบบข้อมูล (Organizational Schemes) ทุกระบบของเทคนิคช่วยจามีพื้นฐานมาจากโครงสร้างของข้อมูลเพื่อง่ายต่อการ จดจาและการระลึกข้อมูล เทคนิคแบบแผนระบบข้อมูลมาจากสถานที่ เวลา ความสัมพันธ์ระหว่างเสียง และตัวอักษร เสียง ภาพ สิ่งหนึ่งที่มีผลต่อเทคนิคช่วยจาคือ การจัดข้อมูลเข้าในรูปแบบที่มีความหมายที่ สามารถนามาใช้ระลึกข้อมูลได้ เช่น การลองนึกย้อนถึงคาในหัวข้อที่กาหนดให้ 2 นาที Bird hill web smoke Boy home hand wool Bread nail glass vegetable Church nurse apple train Tiger pepper grass star หลังจาก 2 นาที เพิ่มรายการคาศัพท์ตามหัวข้อที่กาหนดให้ใช้เวลา 4 นาที แล้วให้ พยายามจาคา กลุ่มอื่นๆ ก็ให้คาเหมือนกัน เรียนเวลาเท่ากัน และงานเดียวกัน แต่ให้คนละเงื่อนไขโดย กลุ่มที่ 2 ให้วาดภาพเกี่ยวกับคาศัพท์และใช้ภาพนั้นช่วยในการจดจา กลุ่มที่ 3 ให้จาคาเดียวกันโดยอ่าน ทวนซ้าตามเรื่องราวที่ให้นาเข้าไปรวมให้เป็นเรื่องราวเดียวกัน ดังตัวอย่างเรื่องราวต่อไปนี้ The fantastic trip Instead of being in church, where he belonged, the boy was hiding on the hill. He had bare feet, although the nurse told him he might step on a nail. In his hand was an apple on which, from time to time, he sprinkled black pepper. While a spider spun its web over his head, he dreamed of running away from home. The thread of this thought went like this. He would hide on a train until he got to the coast. From there he’d fly to faraway star on a magic carpet or rubbing an enchanted glass. Once there he would marry the queen, lie on the grass, and never comb his hair or eat vegetable. If he got bored, he’d hunt a tiger for fun and watch the smoke shoot from his gun.
  • 17. 23 But before the boy could finish the daydream, he began to grow tired. As he started to feed bread crumbs to a nearby bird, he saw a sheep with soft wool. He lay down on it and fell asleep. และกลุ่มที่ 4 ให้จาคาศัพท์โดยจัดกลุ่มคาตามความหมาย ซึ่งผู้สอนสามารถช่วยให้ ผู้เรียนจดจาคาศัพท์ได้ โดยใช้อักษรตัวแรกของกลุ่มดังต่อไปนี้รวมกันเป็น B. F. NAPP ดังหมวดหมู่คา ดังนี้ Body Parts Food Nature feet bread hill hand pepper grass hair apple smoke nail vegetable star Animal life Places Processed Things boy church glass nurse home wool queen train carpet bird tiger Sternberg (2006 : 200) ได้กล่าวถึงประเภทของเทคนิคช่วยจาว่ามีมากมายหลาย ประเภทดังนี้ 1. การจัดหมวดหมู่ (Clustering) คือการรวบรวมรายการสิ่งของให้เป็นหมวดหมู่ ยกตัวอย่างเช่น ผู้เรียนจัดหมวดหมู่การซื้อสินค้าตามชนิดของอาหารได้เป็น ผัก ผลไม้ และ เนื้อ เป็นต้น 2. การเชื่อมโยงรูปภาพ (Interactive Image) คือการที่ผู้เรียนจินตนาการถึงรูปภาพ ของคาศัพท์นั้นเชื่อมโยงกับรูปภาพของคาศัพท์อีกคาหนึ่งให้มีความสัมพันธ์กัน เช่น ผู้เรียนต้องการจะ ซื้อ ถุงเท้า แอบเปิ้ล และ กรรไกร ผู้เรียนอาจจินตนาการว่า ผู้เรียนกาลังใช้กรรไกรตัดถุงเท้า ซึ่งข้างใน ถุงเท้ามีแอบเปิ้ลอยู่ 3. เทคนิคตะขอเกี่ยว (Keyword Method) คือ การเชื่อมโยงระหว่างรูปภาพของ คาศัพท์กับรูปภาพของกลุ่มลาดับคาให้มีความสัมพันธ์กัน โดยที่กลุ่มลาดับคาดังกล่าวคือ “One is a bun” “Two is a shoe” “Three is a tree” เป็นต้น ยกตัวอย่างเช่น หากผู้เรียนต้องการที่จะซื้อถุง เท้า แอปเปิ้ล และกรรไกร ผู้เรียนอาจจินตนาการถึงรูปภาพของแอปเปิ้ลอยู่ระหว่างขนมปัง 2 ชื้น ถุง เท้าอยู่ในรองเท้า และกรรไกรกาลังถูกใช้ในการตัดต้นไม้ 4. เทคนิคตาแหน่ง (Loci) คือ การที่ผู้เรียนจินตนาถึงการเดินไปในสถานที่ต่าง ๆ ซึ่ง เป็นสถานที่ ๆ ผู้เรียนรู้จักเป็นอย่างดี จากนั้นผู้เรียนเชื่อมโยงแต่ละสถานที่กับคาศัพท์แต่ละคาที่ผู้เรียน ต้องการจะจา ยกตัวอย่างเช่น ผู้เรียนจินตนาการถึงเส้นทางที่ผู้เรียนใช้ไปโรงเรียน ซึ่งมีสถานที่ 3 แห่ง คือ บ้านที่มีรูปร่างแปลกประหลาด ต้นไม้ และ สนามเบสบอล เมื่อรวมเข้ากับคาศัพท์ที่ต้องการจะจา ผู้เรียนอาจจินตนาการถึง ถุงเท้าอันใหญ่แขวนอยู่ที่บ้านรูปทรงแปลกบริเวณปล่องไฟ กรรไกรกาลังตัด ต้นไม้ และแอปเปิ้ลวางอยู่ที่สนามเบสบอล 5. เทคนิคตัวย่อ (Acronyms) คือ การที่ผู้เรียนย่อคาศัพท์หรือประโยคเป็นตัวอักษร โดยที่ตัวอักษรแต่ละตัวแทนคาศัพท์หรือข้อมูลอื่น ๆ ได้ เช่น UK แทน United Kingdom
  • 18. 24 6. เทคนิคการสร้างประโยคที่ความหมายช่วยจา (Acrostics) คือ การที่ผู้เรียนสร้าง ประโยคในการช่วยจา เช่น ผู้เรียนสร้างประโยค “every good boy does fine” ในการช่วยจาชื่อของ ตัวโน๊ตที่มีเสียงสูงในบทเพลง 7. เทคนิคคาสาคัญ คือ การที่ผู้เรียนสร้างภาพการเชื่อมโยงระหว่างเสียงและ ความหมายของคาศัพท์ต่างประเทศกับเสียงและความหมายของคาศัพท์ที่ผู้เรียนคุ้นเคย ยกตัวอย่างเช่น หากผู้เรียนต้องการจาคาศัพท์คาว่า libro ซึ่งหมายถึง book ในภาษาสเปน ผู้เรียนอาจเชื่อมโยงคาว่า libro กับ ห้องสมุด (library) จากนั้นผู้เรียนจินตนาการถึง เทพีเสรีภาพกาลังถือสมุดขนาดใหญ่แทนการ ถือคบเพลิง Galotti (2008 :297-299) ได้เสนอเทคนิคช่วยจาที่เกี่ยวกับการใช้รูปภาพดังนี้ 1. เทคนิคตาแหน่ง คือ เทคนิคที่ผู้เรียนจะจินตนาการถึงภาพของสถานที่หลาย ๆ แห่ง อย่างเป็นลาดับต่อเนื่องกัน โดยที่สถานที่แต่ละแห่งจะมีสิ่งของที่ผู้เรียนต้องการจาวางอยู่ในสถานที่แต่ ละแห่งนั้น ยกตัวอย่างเช่น หากผู้เรียนต้องการจดจาสิ่งต่าง ๆ เช่น แทบเลต ปากกา กระดาษปริ๊นงาน หนังสือ และเครื่องคิดเลข ผู้เรียนจะใช้เทคนิคตาแหน่งในการจดจาสิ่งของทั้งหมดเหล่านี้ ขั้นแรกผู้เรียน จินตนาการถึงภาพที่ผู้เรียนกาลังเดินผ่านทางเดินห้องทางานซึ่งเป็นสถานที่แรก ผู้เรียนจะเจอสิ่งของชิ้น แรกซึ่งคือแทบเลตพิงอยู่ประตู ขั้นที่สอง ผู้เรียนสารวจที่โต๊ะทางานและพบว่ามีปากกาวางอยู่บนแผ่น จดหมาย ขั้นที่สาม ผู้เรียนเดินออกไปที่ห้องโถง ระหว่างทางบริเวณทางลงบันไดผู้เรียนพบกระดาษปริ๊น งานวางอยู่ที่หัวบันได ขั้นที่สี่ ผู้เรียนเดินออกมานอกอาคาร ผ่านต้นโอ๊คต้นใหญ่ไปทางซ้าย และผู้เรียน มองเห็นหนังเล่มหนึ่งอยู่บนรั้ว ขั้นสุดท้าย ผู้เรียนกาลังจะเดินเข้าไปในห้องสภานักเรียน (Student union) ผู้เรียนจะมองเห็นเครื่องคิดเลขห้อยอยู่ที่ประตูเข้าห้อง เมื่อผู้เรียนต้องการจะจาสิ่งของเหล่านี้ ผู้เรียนจะจินตนาการว่ากาลังเดินไปเส้นทางเดิมและสังเกตสิ่งของต่าง ๆ ตามเส้นทางที่เดินมา ภาพตัวอย่างการจาสิ่งของโดยใช้เทคนิคตาแหน่ง สิ่งของที่ต้องการจาคือ ไส้กรอกแดง อาหารแมว กล้วย มะเขือเทศ เหล้า ส่วนสถานที่คือ ถนนหน้าบ้าน โรงเก็บรถ ประตูหน้าบ้าน ตู้เสื้อผ้า และอ่างน้าใน ห้องครัว ภาพประกอบ 1 เทคนิคตาแหน่ง (Galotti. (2008 : 297)