SlideShare a Scribd company logo
1 of 34
Download to read offline
6
บทที่ 2
เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ในการวิจัยครั้งนี้กลุ่มผู้วิจัยได้ค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะนาเสนอตามลาดับ
ดังต่อไปนี้
1. เอกสารที่เกี่ยวข้อง
1.1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศ
1.2. การเขียนภาษาอังกฤษ
1.3. การเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย
2. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
2.1. งานวิจัยในประเทศ
2.2 งานวิจัยต่างประเทศ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
กระทรวงศึกษาธิการ (2551 : 228 - 243) ได้กาหนดกลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้พื้นฐานหนึ่งใน 8 กลุ่มสาระตามหลักสูตรการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งสรุปสาระสาคัญดังนี้
1. สาระสาคัญกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาต่างประเทศ
สาระสาคัญกลุ่มสาระภาษาต่างประเทศกาหนดได้ดังนี้
1.1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร การใช้ภาษาต่างประเทศในการฟัง-พูด-อ่าน-เขียน
แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึกและแสดงความคิดเห็น ตีความ นาเสนอข้อมูล ความคิด
รวบยอดและความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ และสร้างความสาพันธ์ระหว่างบุคคลอย่างเหมาะสม
1.2 ภาษาและวัฒนธรรม การใช้ภาษาต่างประเทศตามวัฒนธรรมของเจ้าภาษา
ความสัมพันธ์ ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาภาษา
และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับวัฒนธรรมไทย และนาไปใช้อย่างเหมาะสม
1.3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น การใช้ภาษาต่างประเทศ
ในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นเป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้
และเปิดโลกทัศน์ของตน
1.4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก การใช้ภาษาต่างประเทศใน
สถานการณ์ต่างๆ ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ชุมชน และสังคมโลก เป็นเครื่องมือพื้นฐาน
ในการศึกษาต่อ ประกอบอาชีพ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก
2. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 5 แบ่งได้ดังนี้
7
สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร
มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ
และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล
มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูล
ข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด
และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพูดและการเขียน
สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของ
ภาษา และนาไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ
มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษา
และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น
มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระ
การเรียนรู้อื่น และเป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน
สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา
ชุมชน และสังคม
มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ
การประกอบอาชีพ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก

3. คุณภาพผู้เรียน
คุณภาพผู้เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มี
ดังนี้
3.1 ปฏิบัติตามคาแนะนาในคู่มือการใช้งานต่างๆ คาชี้แจง คาอธิบาย และ
คาบรรยายที่ฟังและอ่าน อ่านออกเสียงข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรอง และบทละคร
สั้นถูกต้องตามหลักการอ่าน อธิบายและเขียนประโยคและข้อความสัมพันธ์กับสื่อที่ไม่ใช่ความเรียง
รูปแบบต่างๆ ที่อ่าน รวมทั้งระบุและเขียนสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่างๆ สัมพันธ์กับประโยคและ
ข้อความที่ฟังหรืออ่านจับใจความสาคัญ วิเคราะห์ความ สรุปความ ตีความ และแสดงความคิดเห็น
จากการฟังและอ่านเรื่องที่เป็นสารคดีและบันเทิงคดีพร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
3.2 สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องต่างๆ ใกล้ตัว
ประสบการณ์ สถานการณ์ข่าว/เหตุการณ์ ประเด็นที่อยู่ในความสนใจและสื่อสารอย่างต่อเนื่องและ
8
เหมาะสม เลือกและใช้คาขอร้อง คาชี้แจง คาอธิบาย และให้คาแนะนา พูดและเขียนแสดงความ
ต้องการ เสนอและให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์จาลอง
หรือสถานการณ์จริงอย่างเหมาะสม พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ
และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง/ประเด็น/ข่าว/เหตุการณ์ที่ฟังและอ่านอย่างเหมาะสม พูดและ
เขียนบรรยายความรู้สึกและแสดงความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ กิจกรรม ประสบการณ์
และข่าว/เหตุการณ์อย่างมีเหตุผล
3.3 พูดและเขียนนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง/ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์
เรื่องและประเด็นต่างๆ ตามความสนใจ พูดและเขียนสรุปใจความสาคัญ แก่นสาระที่ได้จากการ
วิเคราะห์เรื่อง กิจกรรม ข่าว เหตุการณ์ และสถานการณ์ตามความสนใจ พูดและเขียนแสดงความ
คิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์ และเหตุการณ์ทั้งในท้องถิ่น สังคม และโลก พร้อมทั้งให้
เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
3.4 เลือกใช้ภาษาน้าเสียงและกิริยาท่าทางเหมาะกับระดับของบุคคล เวลา
โอกาสและสถานที่ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา อธิบาย/อภิปรายวิถีชีวิต
ความคิด ความเชื่อ และที่มาของขนบธรรมเนียมและประเพณีของเจ้าของภาษา เข้าร่วม แนะนา
และจัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมอย่างเหมาะสม
3.5 อธิบาย/เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างโครงสร้างประโยค ข้อความ สานวน
คาพังเพย สุภาษิตและบทกลอนของภาษาต่างประเทศและภาษาไทยวิเคราะห์/อภิปรายความเหมือนและ
ความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิตความเชื่อ และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับของไทยและนาไปใช้อย่างมี
เหตุผล
3.6 ค้นคว้า/สืบค้น บันทึก สรุป และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ และนาเสนอด้วยการพูดและการเขียน
3.7 ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน
สถานศึกษา ชุมชน และสังคม
3.8 ใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/ค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ และสรุป
ความรู้/ข้อมูลต่างๆ จากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ เผยแพร่/
ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่น/ประเทศชาติ เป็นภาษาต่างประเทศ
3.9 มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (เน้นการฟัง-พูด-อ่าน-เขียน) สื่อสารตาม
หัวเรื่องเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อม อาหาร เครื่องดื่ม ความสัมพันธ์ระหว่าง
บุคคล เวลาว่างและนันทนาการ สุขภาพและสวัสดิการ การซื้อ-ขาย ลมฟ้าอากาศ การศึกษาและ
อาชีพ การเดินทางท่องเที่ยว การบริการ สถานที่ ภาษา และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภายในวง
คาศัพท์ประมาณ 3,600 - 3,750 คา (คาศัพท์ที่มีระดับการใช้แตกต่างกัน)
3.10 ใช้ประโยคผสมและประโยคซับซ้อนสื่อความหมายตามบริบทต่างๆ ในการ
สนทนาทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ
4. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ดังตาราง 1-8
ตาราง 1 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
9
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่สอดคล้องกับ มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟัง
และอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล
ตัวชี้วัด
1. ปฏิบัติตามคาแนะนาในการใช้
คู่มือการใช้งานต่างๆ คาชี้แจง
คาอธิบาย และคาบรรยายที่ฟัง
และอ่าน

สาระการเรียนรู้แกนกลาง
คาแนะนา คาชี้แจง คาอธิบาย คาบรรยาย เช่น ประกาศ
เตือนภัยต่างๆ ยาและการใช้ยา การใช้อุปกรณ์และสิ่งของ
การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
-Modal verb : should/ought to/ need/ have to/ must
+ verb ที่เป็น infinitive without to เช่น You should
have it after meal. (Active Voice)/
The does must be divided. (Passive Voice)
-Direct/Indirect Speech
-คาสันธาน (conjunction) and/but/or/so/not only…but
also/both…and/as well as/after/because etc.

ตาราง 1 (ต่อ)
ตัวชี้วัด

2. อ่านออกเสียง ข้อความ ข่าว
ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรอง
และบทละครสั้น (skit) ถูกต้องตาม
หลักการอ่าน

สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตัวเชื่อม (connective words) เช่น
First,...Second,...Third,...Fourth,…Next,…Then,…
Finally,…ect.

ข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรอง และบท
ละครสั้นการใช้พจนานุกรมหลักการอ่านออกเสียง เช่น
- การออกเสียงพยัญชนะต้นคาและพยัญชนะท้ายคา สระ
เสียงสั้น สระเสียงยาว สระประสม
- การออกเสียงเน้นหนักเบาในคาและกลุ่มคา
- การออกเสียงตามระดับเสียงสูง-ต่าในประโยค
- การออกเสียงเชื่อมโยงในข้อความ
- การแบ่งวรรคตอนในการอ่าน
- การอ่านบทร้อยกรองตามจังหวะ
10
3. อธิบายและเขียนประโยคและ
ข้อความให้สัมพันธ์กับสื่อที่ไม่ใช่
ความเรียงรูปแบบต่างๆที่อ่าน
รวมทั้งระบุและเขียนสื่อที่ไม่ใช่ความ
เรียงต่างๆ ให้สัมพันธ์กับประโยค
และข้อความที่ฟังหรืออ่าน

ประโยคและข้อความ การตีความ/ถ่ายโยนข้อมูลให้สัมพันธ์
กับสื่อที่ไม่ใช่ความเรียง เช่น ภาพ แผนผัง กราฟ แผนภูมิ
ตาราง อักษรย่อ จากกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ด้วยการพูด
และการเขียนอธิบาย โดยใช้ Comparison of
adjective/adverb/Contrast : but, although, however,
in spite of…/Logical connectives เช่น caused by/
followed by/consist of etc.

ตาราง 1 (ต่อ)
ตัวชี้วัด
4. จับใจความสาคัญ วิเคราะห์ความ
สรุปความ ตีความ และแสดงความ
คิดเห็นจากการฟังและอ่านเรื่องที่เป็นสาร
คดี และบันเทิงคดี พร้อมทั้งให้เหตุผล
และยกตัวอย่างประกอบ

สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เรื่องที่เป็นสารคดีและบันเทิงคดี การจับใจความสาคัญ
การสรุปความ การวิเคราะห์ความการตีความ การใช้
skimming/scanning/guessing/context clue
ประโยคที่ใช้ในการแสดงความคิดเห็นการให้เหตุผลและ
การยกตัวอย่างเช่น I believe…/ I agree with…
but…/ Well, I must say…/ What do you think of
/about…?/I think/don’t think…?/ What’s your
opinion about…?/ In my opinion…/
- if clauses
- so…that/such…that
- too to…/enough to…
- on the other hand,…
- other (s)/another/the other (s)
- คาสันธาน (conjunctions) because/and/so/but/
however/because of/due to/owing to etc.
- Infinitive pronouns : some, any, someone,
anyone, everyone, one, ones, etc.
- Tenses : present simple/present continuous/
present perfect/past simple/future tense, etc.
- Simple sentence/Compound
11
sentence/Complex sentence

ตาราง 2 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่สอดคล้องกับ มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษา
ในการ แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด
1. สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับ
ตนเองและเรื่องต่างๆใกล้ตัว ประสบการณ์
สถานการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ ประเด็นที่อยู่
ในความสนใจของสังคม และสื่อสารอย่าง
ต่อเนื่องและเหมาะสม

สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารระหว่างบุคคล เช่น การทักทาย
กล่าวลา ขอบคุณ ขอโทษชมเชย การพูดแทรกอย่าง
สุภาพ การชักชวน การแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับ
ตนเอง เรื่องใกล้ตัว สถานการณ์ต่างๆ ใน
ชีวิตประจาวัน การสนทนา/เขียนข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง
และบุคคลใกล้ตัวประสบการณ์ สถานการณ์ต่างๆ
ข่าวเหตุการณ์ ประเด็นที่อยู่ในความสนใจของสังคม

2. เลือกและใช้คาขอร้อง ให้คาแนะนา คา
ชี้แจง คาอธิบายอย่างคล่องแคล่ว
3. พูดและเขียนแสดงความต้องการเสนอ
ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือ
ในสถานการณ์จาลอง หรือสถานการณ์จริง
อย่างเหมาะสม

คาขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจง คาอธิบาย ที่มี
ขั้นตอนซับซ้อน
ภาษาที่ใช้ในการแสดงความต้องการ เสนอและให้
ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้
ความช่วยเหลือในสถานการณ์ต่างๆ เช่น
Please…/…, please./ I’d like…/ I need…/
May/Can/Could…?/Would you please…?Yes,../
Please do. /Certainly./ Yes, of course./Sure./
12

4. พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล
บรรยาย อธิบายเปรียบเทียบ และแสดง
ความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง/ประเด็น/ข่าว/
เหตุการณ์ที่ฟังและอ่านอย่างเหมาะสม

Need some help?/ What can I do to help?/
Would you like me to help you?/ If you need
anything, please…/ Is there anything I can do?/
I’ll do it for you./ I’m afraid…/ I’m sorry, but…/
Sorry, but…etc.
คาศัพท์ สานวน ประโยคและข้อความที่ใช้ในการขอ
และให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบและ
แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็น/ข่าว/เหตุการณ์
ที่ฟังและอ่าน

ตาราง 2 (ต่อ)
ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง

5. พูดและเขียนบรรยายความรู้สึกและแสดง
ความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ
กิจกรรม ประสบการณ์ และข่าว/
เหตุการณ์อย่างมีเหตุผล

ภาษาที่ใช้ในการแสดงความรู้สึก ความคิดเห็น และ
ให้เหตุผลประกอบ เช่น ชอบ ไม่ชอบ ดีใจ เสียใจ
มีความสุข เศร้า หิว รสชาติ สวย น่าเกลียด เสียง
ดัง ดี ไม่ดี จากข่าว เหตุการณ์ สถานการณ์
ในชีวิตประจาวันเช่น
Nice. /Very nice. /Well done! /Congratulations
on…
I like… because…/ I love… because…/
I feel… because…/I think…/I believe…/
I agree/disagree…/ I’m afraid I don’t like…/
I don’t believe…/I have no idea…/ Oh no!
etc.

ตาราง 3 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่สอดคล้องกับ มาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอข้อมูลข่าวสาร
ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพูดและการเขียน
ตัวชี้วัด

สาระการเรียนรู้แกนกลาง
13
1. พูดและเขียนนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับ
ตนเอง/ ประสบการณ์ ข่าว/ เหตุการณ์
เรื่อง และประเด็นต่างๆตามความเหมาะ
สนใจของสังคม
2. พูดและเขียนสรุปใจความสาคัญ/ แก่น
สาระที่ได้จากการวิเคราะห์เรื่อง กิจกรรม
ข่าว เหตุการณ์และสถานการณ์ตามความ
สนใจ
ตาราง 3 (ต่อ)

การนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/
เหตุการณ์ เรื่องและประเด็นที่อยู่ในความสนใจของ
สังคม เช่น การเดินทาง การรับประทานอาหาร
การเล่นกีฬา/ดนตรี การดูภาพยนตร์ การฟังเพลง
การเลี้ยงสัตว์การอ่านหนังสือ การท่องเที่ยว การศึกษา
สภาพสังคม เศรษฐกิจ
การจับใจความสาคัญ/แก่นสาระ
การวิเคราะห์เรื่อง กิจกรรม ข่าวเหตุการณ์
และสถานการณ์ตามความสนใจ

ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
3. พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ การแสดงความคิดเห็นการให้เหตุผลประกอบ
กิจกรรม ประสบการณ์ และเหตุการณ์
และยกตัวอย่างเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์
ทั้งในท้องถิ่น สังคม และโลก พร้อมทั้งให้ และเหตุการณ์ในท้องถิ่น สังคม และโลก
เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ
ตาราง 4 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่สอดคล้องกับ มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษา
กับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนาไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ
ตัวชี้วัด
1. เลือกใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทาง
เหมาะกับระดับของบุคคล โอกาส และ
สถานที่ ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรม
ของเจ้าของภาษา

2. อธิบาย/อภิปรายวิถีชีวิต ความคิดความ
เชื่อ และที่มาของขนบธรรมเนียม และ
ประเพณีของเจ้าของภาษา
3. เข้าร่วม แนะนา และจัดกิจกรรมทาง
ภาษาและวัฒนธรรมอย่างเหมาะสม

สาระการเรียนรู้แกนกลาง
การเลือกใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางในการ
สนทนา ระดับของภาษา มารยาทสังคมและ
วัฒนธรรมของเจ้าของภาษาเช่น การขอบคุณ
ขอโทษ การชมเชย การใช้สีหน้าท่าทางประกอบ
การพูดขณะแนะนาตนเอง การสัมผัสมือ การโบกมือ
การแสดงความ รู้สึกชอบ/ไม่ชอบ การกล่าวอวยพร
การแสดงอาการตอบรับหรือปฏิเสธ
วิถีชีวิต ความคิด ความเชื่อ และที่มาของ
ขนบธรรมเนียม และประเพณีของเจ้าของภาษา
กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม เช่น การเล่นเกม
การร้องเพลง การเล่านิทาน/เรื่องจากภาพยนตร์
14
บทบาทสมมุติ ละครสั้น วันขอบคุณพระเจ้า
วันคริสต์มาส วันขึ้นปีใหม่วันวาเลนไทน์

ตาราง 5 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่สอดคล้องกับ มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความ
แตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย
และนามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
ตัวชี้วัด
1. อธิบาย/เปรียบเทียบความแตกต่าง
ระหว่างโครงสร้างประโยค ข้อความ
สานวน คาพังเพย สุภาษิตและบทกลอน
ของภาษา ต่างประเทศและภาษาไทย
2. วิเคราะห์/อภิปรายความเหมือนและ
ความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิตความเชื่อ
และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับของไทย
และนาไปใช้อย่างมีเหตุผล

สาระการเรียนรู้แกนกลาง
การอธิบาย/การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง
โครงสร้างประโยค ข้อความ สานวน คาพังเพย
สุภาษิต และบทกลอนของภาษาต่างประเทศและ
ภาษาไทย
การวิเคราะห์/การอภิปรายความเหมือนและความ
แตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรม
ของเจ้าของภาษากับของไทยการนาวัฒนธรรม
ของเจ้าของภาษาไปใช้

ตาราง 6 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่สอดคล้องกับ มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการ
เชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และเป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้
และเปิดโลกทัศน์ของตน
ตัวชี้วัด
1. ค้นคว้า/สืบค้น บันทึก สรุป และแสดง
ความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ
กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น จากแหล่งเรียนรู้
ต่างๆ และ นาเสนอด้วยการพูด
และการเขียน

สาระการเรียนรู้แกนกลาง
การค้นคว้า/การสืบค้น การบันทึกการสรุป การแสดง
ความคิดเห็น และนาเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่ม
สาระการเรียนรู้อื่นจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ
15
ตาราง 7 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่สอดคล้องกับ มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศ
ในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม
ตัวชี้วัด
1. ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/
สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน
สถานศึกษา ชุมชน และสังคม

สาระการเรียนรู้แกนกลาง
การใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์
จาลองเสมือนจริงที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา
ชุมชน และสังคม

ตาราง 8 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่สอดคล้องกับ มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็น
เครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อการประกอบอาชีพ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก
ตัวชี้วัด
1. ใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/
ค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ และสรุป
ความรู้/ข้อมูลต่างๆ จากสื่อและแหล่งการ
เรียนรู้ต่างๆ ในการศึกษาต่อและประกอบ
อาชีพ
2. เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสาร
ของโรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่น/
ประเทศชาติ เป็นภาษาต่างประเทศ

สาระการเรียนรู้แกนกลาง
การใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/การค้นคว้า
ความรู้/ข้อมูลต่างๆจากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ
ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ
การใช้ภาษาอังกฤษในการเผยแพร่/ประชาสัมพันธ์
ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่น/
ประเทศชาติ เช่น การทาหนังสือเล่มเล็กแนะนา
โรงเรียน ชุมชน ท้องถิ่น/ประเทศชาติ การทาแผ่น
ปลิว ป้ายคาขวัญ คาเชิญชวนแนะนาโรงเรียน
สถานที่สาคัญในชุมชนและท้องถิ่น/ประเทศชาติ การ
นาเสนอข้อมูลข่าวสารในโรงเรียน ชุมชน ท้องถิ่น/
ประเทศชาติเป็นภาษาอังกฤษ

5. โครงสร้างหลักสูตร
กระทรงศึกษาธิการ (2551 : 23-24) กาหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรียนปีละ 240 ชั่วโมง
การกาหนดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐาน และเพิ่มเติมดังนี้
ระดับประถมศึกษา สามารถปรับเวลาเรียนพื้นฐานของแต่ละกลุ่มสาระ
การเรียนรู้ได้ตามความเหมาะสม ทั้งนี้ต้องมีเวลาเรียนรวมตามที่กาหนดไว้ในโครงสร้างเวลาเรียน
พื้นฐาน และผู้เรียนต้องมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กาหนด
16
ระดับมัธยมศึกษาต้องจัดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐานให้เป็นไปตามที่กาหนด
และสอดคล้องกับเกณฑ์การจบหลักสูตร
สาหรับเวลาเรียนเพิ่มเติมทั้งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาให้จัดเป็น
รายวิชาเพิ่มเติม หรือกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน
กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่กาหนดไว้ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 จานวน 360 ชั่วโมง
นั้น เป็นเวลาสาหรับปฏิบัติกิจกรรมแนะแนวกิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคมและ
สาธารณประโยชน์ในส่วนกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ให้สถานศึกษาจัดสรรเวลาให้ผู้เรียน
ได้ปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้
ระดับประถมศึกษา (ป.1-6)
รวม 6 ปี จานวน 60 ชั่วโมง
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-3)
รวม 3 ปี จานวน 54 ชั่วโมง
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) รวม 3 ปี จานวน 60 ชั่วโมง
6. คาอธิบายรายวิชา
กระทรวงศึกษาธิการ (2544 : 200) กาหนดคาอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการ
เรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีดังนี้
เข้าใจ น้าเสียง ความรู้สึกของผู้พูด คาสั่ง คาขอร้อง คาแนะนา ความแตกต่าง
ด้านภาษา วัฒนธรรม ประเพณี อ่านออกเสียงบทความได้ถูกต้องตามหลักการอ่านออกเสียงและ
เหมาะสมกับเนื้อหาที่อ่าน ตีความ วิเคราะห์ ข้อความ ข้อมูล ข่าวสาร บทความ สารคดี บันเทิง
คดี สื่อที่เป็นความเรียงและไม่ใช่ความเรียงในแบบต่างๆ จากสื่อสิ่งพิมพ์หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในหัวข้อ
ต่างๆเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เวลาว่างและ
สวัสดิการ การศึกษาและอาชีพ การซื้อขาย ลมฟ้าอากาศ การบริการ สถานที่ วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยี ใช้ภาษาตามมารยาททางสังคม สร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล แสดงความคิดเห็น
ความต้องการ อธิบาย บรรยาย แลกเปลี่ยนความรู้ และให้เหตุผลเกี่ยวกับเรื่องราวต่าง ๆ เหตุการณ์
ในอดีต ปัจจุบันและอนาคต โดยใช้ประโยชน์จากสื่อ เทคโนโลยี สื่อการเรียนทางภาษา และผลจาก
การฝึกทักษะต่างๆ แสวงหาวิธีการเรียนที่เหมาะสมกับตนเอง สามารถนาเสนอข้อมูล ความคิดรวบ
ยอดและความคิดเห็น เจรจาโน้มน้าว ต่อรองเกี่ยวกับประสบการณ์และเหตุการณ์ต่างๆในท้องถิ่น
ด้วยวิธีการที่หลากหลายอย่างสร้างสรรค์และมีประสิทธิภาพ นาเสนอบทกวีหรือบทละครสั้น โดยใช้
เค้าโครงตามแนวคิดของเจ้าของภาษาด้วยความเพลิดเพลิน เข้าร่วมกิจกรรม เปรียบเทียบ และนา
ความรู้ด้านภาษา วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อไปใช้อย่างมีวิจารณญาณ เห็นประโยชน์ของการรู้
ภาษาอังกฤษในการแสวงหาความรู้เพื่อขยายโลกทัศน์ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย การเข้าสู่สังคม
และอาชีพ สามารถใช้ภาษาสื่อสารในรูปแบบต่างๆตามสถานการณ์ในสถานศึกษาและชุมชน
7. หน่วยการเรียนรู้ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5
กระทรวงศึกษาธิการ (2544 : 200) กาหนดหน่วยการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้
ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ดังนี้
Unit 1 : Myself
- Sports
- Hobbies
- Indoor/ Outdoor Game
17
Unit
Unit
Unit
Unit
Unit
Unit
Unit
-

2 : Community
Role in Community
3 : Personal Relationship
Personal Traits
Social Life
4 : Environment
How to Preserve Environment
5 : Occupation
Like and Dislike
Hope
Future Career
6 : Health
Measure and Weight
Hoe to Keep Fit
7 : Travel
Places : Attractive Places
Entertainment Brochure
Shopping : Souvenir Market
Accommodation :Service, Food and Drink, Hotel, Home Stay
8 : Science and Technology
Impacts

7. การวัดและการประเมินผล
กรมวิชาการ (2544 : 245-253) ได้ทาการประเมินความสามารถในการใช้ภาษา
เพื่อการสื่อสาร และพบว่าควรจะประเมินความสามารถในการสื่อสารอย่างแท้จริง ไม่ควรแยกการใช้
ภาษาออกจากสถานการณ์และควรวัดให้ครอบคลุมในทุกๆ ด้าน นั่นคือ ต้องประเมินความรู้ทั้งที่
เป็นเนื้อหาทางภาษาซึ่งประกอบด้วย เสียง คาศัพท์ โครงสร้าง ไวยากรณ์ รวมถึงการประเมินด้าน
ความสามารถหรือประสิทธิภาพซึ่งหมายถึง ทักษะการนาความรู้ไปใช้และประเมินขอบข่ายในการใช้
ภาษา นั่นคือสมรรถภาพในการสื่อสารซึ่งหมายถึง ทักษะในการปรับตัวของผู้เรียนในสถานการณ์ต่างๆ
ของการสื่อสาร ซึ่งในการประเมินนั้นต้องคานึงถึงความสามารถและประสบการณ์ของผู้เรียนด้วย
และได้จาแนกรูปแบบของเกณฑ์การประเมินออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้
7.1 เกณฑ์ในการประเมินแบบภาพรวม (Holistic Rating Scales)
เป็นการประเมินการให้คะแนนโดยพิจารณาจากภาพรวมของผลงานนั้นๆ
การนาองค์ประกอบที่สาคัญซึ่งเป็นผลงานที่คาดหวังมาจัดทาและบรรยายถึงลักษณะของแต่ละเกณฑ์
การประเมินไว้ด้วย ซึ่งเป็นการประเมินในภาพรวมที่แสดงให้เห็นถึงคุณภาพทีเป็นรูปธรรมได้ชัดเจน
่
และในแต่ละระดับนั้นก็ได้กาหนดคะแนนสาหรับงานหรือการปฏิบัตินั้นๆ ด้วยเหมาะที่จะนามาใช้
18
ในการประเมินทักษะการเขียน ทักษะการพูด เช่น ในการประเมินการใช้ภาษาสาหรับการเขียน
แบบตอบไม่จากัดมีองค์ประกอบที่สาคัญ ได้แก่ การเลือกคาศัพท์ การสื่อความ ความต่อเนื่อง
ความเชื่อมโยง เครื่องหมายวรรคตอน ฯลฯ กล่าวคือ สามารถตรวจสอบความสามารถในการสื่อ
ความหมาย ความต่อเนื่องของแนวคิด ความคิดสร้างสรรค์ และความสละสลวยของภาษาได้
7.2 เกณฑ์การประเมินแยกส่วน (Analytic Rating Scales)
เกณฑ์การประเมินแยกส่วน คือ แนวทางการให้คะแนนโดยพิจารณาจากแต่ละ
ส่วนของงานที่มีลักษณะการตอบที่จากัด ซึงแต่ละส่วนจะต้องกาหนดแนวทางในการให้คะแนน
่
โดยมีคานิยามหรือคาอธิบายลักษณะของงานในส่วนนั้นๆ ในแต่ละระดับให้ชัดเจน กล่าวคือ
กาหนดการพิจารณาเป็นประเด็นต่างๆ แยกกันในงานชิ้นเดียวซึ่งผู้สอนจะสามารถเปรียบเทียบงานนั้น
ได้โดยตรงกับเกณฑ์ที่กาหนด และส่วนใหญ่จะพิจารณาไม่เกิน 4 ด้าน
นอกจากนี้ยังมีการสร้างเกณฑ์การประเมินทางภาษา ซึ่งมีแนวทางต่างๆ ดังนี้
7.3 เกณฑ์การปฏิบัติ (Pragmatic Criteria) ประเด็นที่ควรนามาพิจารณาได้แก่
การปฏิบัติตนของผู้เรียนที่แสดงถึงความสามารถทางด้านภาษา เช่น การวาดภาพตามคาสั่งที่ได้อ่าน
หรือฟัง หรืออาจจะเป็นการใช้ภาษาเพื่อการสื่อความถึงสิ่งที่เขาควรปฏิบัติ เช่น ใช้ภาษาเขียนลาดับ
ขั้นตอนการทางานของตนเองได้
7.4 เกณฑ์ทางภาษา (Linguistic Criteria) ควรให้ครอบคลุมทั้งการใช้รูปคาศัพท์
รูปแบบประโยค ความถูกต้องในการออกเสียงสาหรับพูด และการเรียบเรียงประโยค
7.5 เกณฑ์ทางวัฒนธรรม (Culture Criteria) ต้องคานึงถึงขนบธรรมเนียมประเพณี
และแนวปฏิบัติอันเป็นวัฒนธรรมที่แสดงออกทางภาษา เช่น การต้อนรับ การขอบคุณ ขอโทษ
หรือระดับภาษา เป็นต้น
7.6 เกณฑ์ด้านยุทธศาสตร์การสื่อสาร (Strategic Criteria) ควรได้พิจารณา
ยุทธศาสตร์ของผู้สอนที่จะทาให้การสื่อสารดาเนินไปอย่างราบรื่น เกิดความเข้าใจกันตามจุดมุ่งหมาย
ยุทธศาสตร์ต่างๆ เหล่านี้ ได้แก่ ภาษาท่าทาง การใช้ภาษาเทียบเคียง ภาษาที่เป็นเอกลักษณ์
เฉพาะตัว สภาวะทางอารมณ์
การเขียนภาษาอังกฤษ
1. ความหมายของการเขียน
วินเกอร์สกี เบอร์เนอร์ และบาโลร์ก (Wingersky, Boerner and Balogh. 1995 :
2) ได้กล่าวถึงความหมายของการเขียนไว้ว่า การเขียนเป็นกระบวนการรวบรวมและจัดระเบียบ
ความคิดของผู้ส่งสาร โดยมีการถ่ายทอดสารที่ต้องการสื่อผ่านทางการเขียนลงไปในกระดาษ เพื่อ
สื่อสารกับผู้รับสารนั้นก็คือผู้อ่าน ในทักษะการเขียนจะมีโอกาสสื่อสารผิดพลาดได้น้อยกว่าการพูด
เพราะการเขียนสามารถแก้ไขจัดการเกี่ยวกับความคิดและสารที่จะสื่อออกไปให้สมบรูณ์ได้ แต่การพูด
ผู้รับสารสามารถรับสารได้ทางน้าเสียง คาพูด และการแสดงออกทางใบหน้าของผู้พูด ซึ่งเป็นการยาก
ต่อการแก้ไข และทาให้เกิดการสื่อสารที่ผิดพลาดได้ทุกเมื่อ
แกรแฮมม และ เพอร์ริน (Graham and Perin. 2007 : 3) ได้ให้ความหมายของ
ทักษะการเขียนไว้ว่าทักษะการเขียนคือทักษะที่ใช้คาดการณ์ผลการเรียนรู้และความสาเร็จของการศึกษา
19
และเป็นปัจจัยพื้นฐานอย่างหนึ่งในการมีส่วนร่วมในสังคม และเศรษฐกิจโลก การเขียนที่ดีไม่ใช่เป็น
เพียงทางเลือกหนึ่งของผู้เรียน แต่เป็นถึงสิ่งที่จาเป็นสิ่งหนึ่ง ควบคูไปกับทักษะการอ่านเพื่อความเข้าใจ
่
แล้ว
โชวราฟา (Shourafa. 2012 : 235) ได้กล่าวว่าการเขียนเป็นทักษะที่ก่อให้เกิดผล
ทางการเรียนรู้ทักษะหนึ่งจากสี่ทักษะของภาษาอังกฤษ การเขียนเป็นความสามารถในการเข้าใจในเรื่อง
ของโครงสร้างไวยากรณ์ คาศัพท์ ความคิด ศิลปะการใช้ถ้อยคา และส่วนอื่นๆของการใช้ภาษา
การเขียนสามารถพัฒนาการรู้ภาษาของผู้เรียนได้จากกคาศัพท์ ประโยค และส่วนประกอบอื่นๆของ
การเขียนซึ่งใช้ในการสื่อสารความคิดซึ่งกันและกัน
2. ความสาคัญของการเขียน
ไมเลส (Myles. 2002 : 1) กล่าวว่าการเขียนเป็นทักษะที่สาคัญในการบ่งบอกถึง
ความสามารถผ่านการบอกเล่าข้อมูลออกมาเป็นชิ้นงานในรูปแบบของการพรรณนา การบรรยาย
หรือการเปลี่ยนแปลงข้อมูลให้เป็นเนื้อหาในรูปแบบใหม่ในการเขียนแบบชี้แจงอธิบาย หรือการเขียน
โต้แย้งเปรียบเทียบ ยิ่งไปกว่านั้นการฝึกฝนทักษะการเขียนเป็นสิ่งสาคัญเพราะทักษะการเขียนเป็น
ทักษะที่ไม่สามารถได้มาโดยธรรมชาติ แต่เป็นทักษะที่ต้องได้รับการเรียนรู้ หรือการถ่ายทอดโดยการ
ฝึกฝน จากการจัดตั้งสภาพแวดล้อมการเรียนการสอนตามรูปแบบ หรือในสภาพแวดล้อมอื่นๆ
ทักษะการเขียนต้องได้รับการฝึกฝน และเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ ทั้งในและนอกห้องเรียน
แกรแฮมม และเพอร์ริน (Graham and Perin. 2007 : 9) อธิบายว่าทักษะการ
เขียนเป็นสิ่งได้รับความสนใจ และถูกนามาพิจารณาในบริบทส่วนมากของชีวิต เช่น โรงเรียน
ที่ทางาน และชุมชน และการพิจารณาในแต่ละบริบทนั้นได้มีความเหลื่อมล้า แต่ไม่ได้อยู่ในลักษณะ
และความต้องการเดียวกัน ดังนั้นผู้เขียนที่มีความชานาญต้องสามารถปรับการเขียนให้มีความยืดหยุ่น
ในแต่ละบริบทจึงจะสามารถได้ประโยชน์จากการเขียนได้
โชวราฟา (Shourafa. 2012 : 235) ได้กล่าวไว้ว่าทักษะการเขียนเป็นทักษะที่สาคัญ
ในการเรียนต่อในระดับสูงสาหรับผู้เรียนภาษอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ ซึ่งไม่ใช่เพียงแค่หนทางใน
การติดต่อสื่อสารในการแบ่งปันวิสัยทัศน์ และความคิดเท่านั้นแต่ยังเป็นทักษะที่จาเป็นต่อการเรียน
ระดับสูงขึนไป
้
3. หลักการและขั้นตอนการสอนการเขียน
ฮาร์มเมอร์ (Harmer. 2012 : 128 - 133) ได้อธิบายถึงการเรียนรู้ภาษาอังกฤษไว้ว่า
ในการเรียนรู้เมื่อเกิดข้อผิดพลาดในการพูดภาษาอังกฤษ จะสามารถแก้ไขให้ถูกต้องอย่างรวดเร็วได้ด้วย
ตนเอง หรือ พูดในสิ่งสิ่งที่เหมือนกันในสิ่งเดียวกันในทางที่แตกต่างกัน แต่เมื่อเขียนนั้นจาเป็นต้องมี
ความแม่นยาและถูกต้องมากขึ้น ผู้เรียนจาเป็นต้องเรียนรู้แนวทักษะวิธีการในการเขียนอย่างประสบ
ผลสาเร็จ ในปัจจุบันถึงแม้ผู้คนมากมายจะใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ทางโทรศัพท์สาหรับการเขียน
ติดต่อสื่อสาร แต่ก็ยังพบสาเหตุมากมายในการเขียนด้วยลายมือ และผู้เรียนบางคนค้นหาบทเรียน
ภาษาอังกฤษที่แตกต่างกันออกไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าผู้เรียนเลือกทางการเขียนในภาษาของผู้เรียน
(สัญลักษณ์ที่ใช้) เป็นภาษาที่แตกต่างกันนอกจากที่จะเลือกใช้ภาษาอังกฤษ ผู้สอนจึงจาเป็นต้องให้
ผู้เรียนฝึกฝนในการเขียนข้อมูลตัวอักษร โดยการใช้กระดาษที่มีเส้นเพื่อที่จะช่วยให้ผู้เรียนทาตาม
ตัวอย่างซึ่งเป็นการเขียนแบบลายมือ เมื่อเริ่มการเขียนในภาษาแรกคนเรามักจะคิดเสมอว่าการพูดจะ
20
เกิดขึ้นก่อนที่จะลงมือทา และมักจะตรวจสอบว่าในการเขียนนั้นสมบูรณ์ ก่อนที่จะวางกระดาษหรือ
บัตรคาในซองกระดาษ หรือกดส่งทางคอมพิวเตอร์ซึ่งหลักการสอนเขียนมีดังนี้
- การวางแผนการเขียนนั้นผู้เรียนควรคิดก่อนเสมอว่าต้องการจะเขียน หรือสื่อสาร
สิ่งใดระหว่างผู้เขียนและผู้อ่าน รวมไปถึงจุดประสงค์ของการเขียนบันทึก
- การเขียนฉบับร่าง
- การทบทวนฉบับร่าง และแก้ไขก่อนที่จะเขียนครั้งสุดท้าย
- กระบวนการเขียนไม่ได้พูดถึงเฉพาะทิศทางการเขียน ผู้เรียนสามารถเริ่มต้น
การเขียน การคิด และการวางแผนใหม่ได้ กระบวนการเขียนเป็นกระบวนการเล็กๆ คล้ายกับวงล้อ
นั่นก็หมายถึงการหมุนรอบๆ และข้ามไปในทิศทางที่หลากหลาย
- การเขียนต้องมีการทบทวนแก้ไข เพราะในการเขียนนั้นอาจเกิดข้อผิดพลาดทั้งการ
สื่อสาร และข้อผิดพลาดทางภาษา
- ผู้สอนกระตุ้นนักเรียนให้มีความระมัดระวังในการเขียน โดยอาจให้ผู้เรียนวางแผน
ในสิ่งที่กาลังจะพูด ผู้เรียนสามารถอภิปรายความคิดโดยการค้นหาความคิดในอินเตอร์เน็ตหรือใน
ห้องสมุดโรงเรียนและจดบันทึกบนกระดาษหรือบนหน้าจอได้
- ผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนในการทบทวนหรือแก้ไขในสิ่งที่เขียนไปก่อนการเขียนฉบับ
สุดท้าย สิ่งนี้คือความสาคัญของการฝึกฝนการทาข้อสอบ ผู้เรียนจาเป็นต้องตรวจสอบผ่านทางคาตอบ
ของตนเอง
- ผู้ให้ผู้เรียนตรวจสอบรายชื่อที่จะใช้ในขณะที่กาลังทบทวนงานเขียน ตัวอย่างเช่น
ถ้าเขียนจดหมายอิเล็กทรอนิกส์นั้น อาจจะให้ผู้เรียนทาตามสิ่งที่กาหนดให้
แบรนด์วิค และแมคไนท์ (Brandvik and Mcknight. 2011 : 90) ได้กล่าวไว้ว่า
ขั้นตอนการสอนการเขียนมีหลายขั้นตอน คือ ขั้นก่อนการเขียน การร่าง การแก้ไขและปรับปรุง
และขั้นนาเสนอผลงานดังนี ้
1. ขั้นก่อนการเขียน เป็นขั้นการเตรียมตัวก่อนการเขียนร่าง เป็นการช่วยให้ผู้เขียน
รวบรวมความคิดและทาตามกระบวนการเขียน ควรใช้กิจกรรมที่หลากหลายสาหรับขั้นก่อนการเขียน
เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้ค้นหาข้อมูลและรวบรวมความคิดในหัวข้อของตนเอง
2. ขั้นการร่าง งานเขียนที่ประสบความสาหรับนั้นส่วนใหญ่จะต้องผ่านการร่าง
หลายครั้ง ในการร่างงานเขียนครั้งแรกผู้เรียนจะต้องรีบเขียนความคิดของตนเองลงไปในรูปแบบ
การร่าง หลังจากนั้นคือการรวบรวมข้อมูลโดยไม่ต้องกังวลเกี่ยวกับความถูกต้องของการเขียนมากนัก
3. ขั้นการแก้ไขและปรับปรุง การแก้ไขคือการกลับไปมองงานเขียนอีกครั้งหนึ่ง
หลังจากที่ร่างงานเขียนแรกเสร็จแล้ว ผู้เขียนจะต้องกลับมาอ่านงานเขียนอีกครั้งหนึ่ง ในขั้นนี้ผู้เขียน
จะต้องตรวจสอบรูปแบบประโยค ไวยากรณ์ และคาศัพท์เพื่อความถูกต้อง
4. ขั้นน้าเสนอ ผู้เรียนส่วนใหญ่จะเขียนงานเขียนเพื่อส่งผู้สอนเท่านั้น แต่ในปัจจุบัน
เราควรสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้นาเสนองานเขียนของตนเองแก้ผู้ชมอื่นๆ เช่น อ่านให้เพื่อนๆใน
ชั้นเรียนฟัง อ่านให้เพื่อนในกลุ่มฟัง หรืออ่านในที่สาธารณะต่างๆ
4. การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาการสอนการเขียน
21
แบรนด์วิค และแมคไนท์ (Brandvik and Mcknight. 2011 : 93) กล่าวว่าถึงแม้ว่า
เราจะกระตุ้นผู้เรียนให้เขียนงานเขียนที่ผู้เรียนเลือกหัวข้อด้วยตนเอง แต่ก็ควรจะมีรูปแบบของการ
เขียนกาหนดให้ผู้เรียนได้เขียนอย่างชัดเจน ผู้เรียนส่วนใหญ่มักจะชอบเขียนงานเขียนแบบแสดง
ความรู้สึกและเขียนบรรยายเรื่องส่วนตัว ผู้สอนไม่ควรที่จะกีดกันสิ่งเหล่านี้ เพราะว่ารูปแบบการเขียน
นี้จะสร้างความคล่องแคล่วในการเขียนและเป็นพื้นฐานของการเขียนรูปแบบอื่นๆ การใช้คาศัพท์เฉพาะ
ทางในการแยกประเภทการเขียนอาจจะทาให้สับสน เพราะบางครั้งการเขียนนั้นแบ่งตามวัตถุประสงค์
หรือบางครั้งแบ่งตามรูปแบบและลักษณะการบรรยาย มี 4 วิธี คือ การบรรยาย การพรรณนา
การอธิบาย และการจูงใจ ดังนี้
1. การเขียนแสดงความรู้สึก เป็นการเขียนที่ไม่เน้นโครงสร้างมากนัก เช่น การเขียน
วารสาร บันทึกประจาวัน แฟ้มบันทึก เรียงความที่ไม่เป็นทางการ ความทรงจา และบันทึกความทรง
จาให้กาลังใจ
2. การเขียนแบบมีโครงสร้าง เป็นการเขียนตามรูปแบบมาตรฐาน เช่น จดหมาย
สมัครงาน จดหมายแสดงความยินดี และใบสมัครงานต่างๆ เช่น การสื่อสารทางธุรกิจ และบัตรเชิญ
การเขียนเชิงความคิดสร้างสรรค์ มีจุดมุ่งหมายเพื่อความสุขและความบันเทิงและจะเน้นที่ภาษาและ
พล็อตเรื่อง ได้แก่ เขียนเพลง นิทาน กลอน ปริศนา เรื่องตลก เรียงความ หรือจดหมาย
3. การเขียนเชิงข้อมูล เป็นการเขียนที่เน้นการอธิบายข้อมูลต่างๆ เช่น การเขียน
รายงาน จดหมาย การโฆษณา วิจัย ข้อสอบ เรียงความ และบทความในหนังสือพิมพ์
4. การเขียนโน้มน้าวใจ มีจุดมุ่งหมายในการเขียนเพื่อสร้างอิทธิพลในมุมมองต่างๆ
แก่ผู้อ่าน เช่น การเขียนรายงาน บทบรรณาธิการ จดหมาย งานวิจัย การโฆษณา หรือการเขียน
เรียงความ
ฮาร์มเมอร์ (Harmer. 2010 : 117 - 120) ได้แนะนากิจกรรมเพื่อพัฒนาการสอน
เขียนเพิ่มเติมดังนี้
1. การเขียนแบบเร่งด่วน เป็นอีกหนึ่งวิธีในการสร้างนิสัยของการเขียนที่เร่งด่วน
เนื่องจากเป็นไปได้ที่เด็ก วัยรุ่น หรือผู้ใหญ่ ซึ่งเป็นผู้เขียนที่ไม่สมัครใจ กิจกรรมการเขียนแบบเร่งด่วน
จาพวกนี้ ซึ่งผู้เรียนจะเขียนทันทีในการพูดตอบตามคาขอร้องของผู้สอน ตัวอย่างเช่น ผู้สอนให้เขียน
ตามคาสั่งโดยผู้สอนจะเขียนครึ่งประโยค แล้วให้ผู้เรียนเติมให้สมบูรณ์และถูกต้อง ตัวอย่างเช่น
“ My favorite relative is ……….” หรือ “I will never forget the time I ………”
จากนั้นผู้สอนให้ผู้เรียนเขียนสองประโยคซึ่งเกี่ยวกับหัวข้อในตอนนี้ ผู้สอนอาจให้คาในประโยค 3 คา
แล้วให้ผู้เรียนเติมลงในประโยคอย่างรวดเร็วถ้าเป็นไปได้
2. การใช้ดนตรีและรูปภาพ ดนตรีและรูปภาพเป็นกิจกรรมอย่างหนึ่งที่กระตุ้นที่ดี
มาก ไม่ว่าจะเป็นทั้งการเขียนและการพูด ตัวอย่างเช่น ผู้สอนสามารถเล่นท่อนจังหวะของเพลง และ
ให้ผู้เรียนเรียนจินตนาการ จากนั้นให้ผู้เรียนเขียนฉากภาพยนตร์ที่คิดว่าเป็นการเล่นดนตรีคลอ
(ขั้นนี้สามารถทาเสร็จได้หลังจากที่ผู้เรียนดูแบบตามบทภาพยนตร์แล้ว) ผู้สอนสามารถเขียนประโยค
แรกจากเนื้อเรื่อง จากนั้นให้ผู้เรียนเติมเนื้อเรื่องให้สมบูรณ์ (ทั้งนี้มาจากเพลงที่ผู้สอนเปิด) จากนั้นให้
ผู้เรียนเขียนประโยคแรกอีกครั้ง แล้วให้ผู้เรียนเขียนเรื่องราวที่แตกต่างกัน (เพราะว่าดนตรีที่ได้ยินจะ
แตกต่างกันมาก) จากนั้นให้ผู้เรียนอ่านเรื่องราวทั้งหมด แล้วให้เพื่อทายว่าเพลงที่ได้ยินสร้าง
22
แรงบันดาลใจอย่างไร รูปภาพสื่อถึงความเป็นไปได้อย่างมากผู้สอนอาจให้ผู้เรียนเขียนถึงการพรรณนา
รูปภาพต่อหนึ่งกลุ่มจากนั้นให้เพื่อนในห้องเดาว่าเป็นรูปไหน โดยผู้เรียนสามารถเขียนไปรษณียบัตรจาก
สิ่งที่ผู้สอนได้ให้ผู้เรียนก่อนหน้านี้แล้ว จากนั้นผู้สอนอาจให้ผู้เรียนดูรูปคนและเขียนโดยใช้ความรู้สึก
ภายในของตนเองเกี่ยวกับลักษณะ หรือเขียนในสมุดบันทึกประจาวันของผู้เรียน ซึงกิจกรรมทั้งหมดนี้
่
ได้ออกแบบให้ผู้เรียนได้เขียนอย่างอิสระในแนวเดียวกัน
3. หนังสือพิมพ์และนิตยสาร เป็นลักษณะที่มีเนื้อหาแตกต่างกันที่สามารถค้นพบใน
หนังสือพิมพ์และนิตยสาร เป็นแนวทางที่เป็นไปได้สาหรับการวิเคราะห์จาแนกประเภท ตามมาด้วย
การเขียนโดยมีการจาแนก ตัวอย่างเช่น ผู้สอนอาจให้ผู้เรียนดูบทความที่แตกต่างกัน แล้วให้ผู้เรียน
วิเคราะห์พาดหัวข่าว ตีความ และสรุปบทความทั้งหมด จากนั้นให้ผู้เรียนเขียนบทความเกี่ยวกับความ
จริงหรือจินตนาการในข่าวที่ผู้เรียนสนใจ สาหรับระดับที่สูงสุด ครูสามารถให้ผู้เรียนดูเนื้อเรื่องเดียวกัน
จานวนมาก โดยเป็นรูปแบบลักษณะการประกาศในที่ที่แตกต่างกัน และให้ผู้เรียนเลือกเขียน
รายละเอียดหนึ่งเรื่องหรือเรื่องอื่นๆ ผู้สอนสามารถทาในลักษณะการวิเคราะห์จาแนกแบบเดียวกันใน
หนังสือพิมพ์ ตัวอย่างเช่น ผู้สอนสามารถยืนยันในกรอบของการวิเคราะห์และผู้เรียนจะสามารถเรียนรู้
ได้อย่างมากมายจากการวิเคราะห์ประเภท และสามารถทาตามได้ในลักษณะเดียวกัน
4. หนังสือเล่มเล็กและหนังสือแนะนา ผู้สอนสามารถให้ผู้เรียนดูหนังสือเล่มเล็กที่
หลากหลาย ตัวอย่างเช่น บ้านเมือง บันเทิง เพื่อนามาสู่การวิเคราะห์ ผู้เรียนสามารถเขียนหนังสือ
เล่มเล็กของตนหรือหนังสือแนะนาบ้านเมือง โดยใช้การวิเคราะห์นี้ช่วยผู้เรียน ผู้เรียนอาจจะสนุกกับ
การเขียนหนังสือเล่มเล็กและหนังสือแนะนาสาหรับการออกแบบส่วนตัวของเขา
5. กวีนิพนธ์ ผู้สอนหลายคนชอบให้ผู้เรียนเขียนบทกวี เพราะว่าอาจจะทาให้ผู้เรียน
ประทับใจในตัวเอง อีกทั้งยังมีการคิดวิเคราะห์บทกวีอีกด้วย แต่ผู้สอนควรจะให้รูปแบบแก่ผู้เรียนเพื่อ
ช่วยในการเขียน ผู้สอนอาจให้ผู้เรียนเขียนโคลงกระทู้ ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนได้ฝึกเขียนตัวอักษรของบทกวี
หรือผู้สอนอาจให้กรอบที่เป็นประโยคหรือรูปแบบในการเขียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถทาตามได้
การเขียนบทกวีเป็นลักษณะที่จัดไว้เฉพาะสาหรับผู้เรียนซึ่งค่อนข้างจะเก่งและผู้เรียนระดับสูง
6. การเขียนแบบร่วมมือ ผู้เรียนจะได้รับการผูกเรื่องจากหนังสือมากมาย
ตัวอย่างเช่น ผู้สอนให้ผู้เรียนสร้างคาบนกระดาน โดยที่แต่ละแถวถูกเขียนขึ้นโดยผู้เรียนคนละคน
และผู้สอนสามารถให้ผู้เรียนนั่งเป็นวงกลม โดยแต่ละกลุ่มจะมีกระดาษหนึ่งแผ่น โดยคนแรกเขียนแถว
แรกแล้วส่งกระดาษไปให้คนถัดไป คนต่อมาเขียนอีกหนึ่งประโยคจนถึงคนสุดท้าย จากนั้นให้ทุกคน
ร่วมกันเขียนเรื่องราวทั้งหมด นอกจากนี้ผู้เรียนสามารถเขียนบนจอคอมพิวเตอร์ได้อีกด้วย
7. การเขียนถึงเพื่อนในชั้นเรียนรายบุคคล การสัมภาษณ์ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างในการเขียนถึงเพื่อนในชั้นเรียนรายบุคคล ผู้เรียนสามารถเขียนจดหมาย
อิเล็กทรอนิกส์ หรือข้อความสั้นต่างๆมาเป็นคาตอบได้ ในการทากิจกรรมนี้ผู้เรียนควรอยู่ภายใต้
การดูแลของผู้สอน เช่น ในการสนทนาผ่านอินเตอร์เน็ต เป็นต้น
8. การเขียนในรูปแบบต่างๆ การเขียนมีรูปแบบมากมายหลากหลาย ผู้สอนอาจจะ
ให้ผู้เรียนเขียนพรรณนารายบุคคลและเรื่องราวอื่นๆ ผู้สอนอาจเตรียมการเขียนที่ผู้เรียนคนอื่นๆได้เขียน
ผ่านมาแล้วให้กับผู้เรียน หรือใช้เป็นแนวทางในการเขียน ผู้สอนสามารถวิเคราะห์บทแรกของนวนิยาย
จากนั้นให้ผู้เรียนเขียนในภาษาของตนเอง ผู้สอนอาจให้ผู้เรียนเขียนเรื่องราวให้สมบูรณ์ สาหรับ
23
กิจกรรมที่หลากหลายอาจให้ผู้เรียนคิดร่วมกันก่อนที่จะทาภาระงาน การระดมความคิดก็เป็นอีกปัจจัย
หนึ่งที่จะทาให้เกิดความประสบผลสาเร็จในการเขียนของผู้เรียน
ฮาร์มเมอร์ (Harmer. 2012 : 128 - 133) กล่าวว่าการเรียนการสอนการเขียน
ควรมีการกระตุ้นการเขียนโดยการใช้กิจกรรม ผู้เรียนหลายคนไม่สนุกกับการเขียนเป็นอย่างมาก
และภาระงานที่หนักทาให้เขาไม่สะดวกสบายและไม่กระตือรือร้นกับมัน ดังนั้นกิจกรรมที่ใช้ในการเรียน
การสอนควรเป็นสิ่งที่น่าสนใจ และกระตุ้นการเรียนรู้โดยกิจกรรมการเขียนที่สามารถกระตุ้นการเขียน
มีดังต่อไปนี้
1. การเขียนร่วมกันของผู้เรียน มีกิจกรรมมากมายที่ก่อให้เกิดการร่วมมือกันในการ
เขียนดังนี้
- ผู้สอนให้ผู้เรียนเขียนประโยคส่งต่อนักเรียนอีกคน โดยการพับกระดาษและส่งไป
ยังผู้เรียนคนถัดไปโดยที่ไม่สามารถมองเห็นว่าคนที่เขียนก่อนหน้านี้เขียนอะไร ตัวอย่างเช่น ผู้เรียนA
เขียนในช่องแรก (เช่น Peter) แล้วพับกระดาษชิ้นนั้นส่งไปยังผู้เรียน B ซึ่งผู้เรียน B เขียนว่า
Sally. จากนั้นกระดาษก็ส่งต่อไปยังผู้เรียน C โดยผู้เรียน C เขียนสถานที่ที่พวกเขาพบกัน
ตัวอย่างเช่น at the swimming pool จากนั้นกระดาษก็ส่งไปที่ผู้เรียนคนถัดไปเพื่อเขียนเรื่องราว
ต่อไป เมื่อกิจกรรมนี้สิ้นสุด กระดาษจะเปิดออก แล้วผู้เรียนทุกคนจะเห็นทั้งหมด
- ผู้เรียนนั่งเป็นวงกลม และแต่ละคนจะมีกระดาษว่าง จากนั้นเราจะบอกให้เขียน
ตามประโยค เช่น When he opened his eyes that morning, he did not know
where he was. จากนั้นผู้สอนจะถามว่าเขียนประโยคถัดไปที่อยู่ในเรื่องราว เมือผู้เรียนได้เขียน
่
ประโยคแล้วจะส่งต่อไปยังผู้เรียนคนถัดไป ผู้เรียนแต่ละคนจะเขียนประโยคเรื่องราวที่อยู่ข้างหน้าพวก
เขา สาหรับแต่ละประโยคที่เขียนขึ้นใหม่ก็จะส่งต่อไปยังผู้เรียนคนถัดไปอีกครั้ง เมื่อกระดาษถูกส่งไป
ด้านหลังจนครบจึงให้เขียนสรุปเรื่องราวทั้งหมด
- ผู้เรียนทางานเป็นกลุ่ม จากนั้นผู้สอนจะให้ประโยคโต้แย้ง เช่น Everyone
likes football. จากนั้นก็ช่วยกันเขียนประโยคที่ถูกต้องที่ทุกคนในกลุ่มเห็นด้วย
- ผู้สอนให้ผู้เรียนเขียนจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ถึงผู้อื่น ถ้าผู้เรียนไม่สามารถเข้าถึง
คอมพิวเตอร์ได้ ผู้สอนจะให้แผ่นกระดาษที่เป็นหน้าต่างของการเขียนจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แทน
- ผู้สอนรับข้อมูลจากผู้เรียน โดยให้ผู้เรียนใช้โทรศัพท์มือถือ ในการจัดเตรียมการ
การประชุม
- ผู้เรียนใช้เรื่องราว WIKI ที่สมบูรณ์โดยผู้เรียนแต่ละคนจะเติมประโยคใน
เรื่องราวต้นฉบับ (อาจจะให้แต่ละคนใช้สีที่แตกต่างกัน) ผู้เรียนสามารถทากิจกรรมนี้บนกระดานได้อีก
ด้วย (อาจเป็นกลุ่มก็ได้) ผู้เรียนแต่ละคนเขียนเรื่องราวทีละประโยคจนเสร็จ
- ผู้เรียนแต่งเรื่องราวโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ เช่น TWITTER ซึ่งผู้เรียนแน่ใจใน
การใช้ตัวอักษรในแต่ละครั้ง
- ผู้สอนให้ผู้เรียนยืนเป็นคนแรกและคนสุดท้าย ในกลุ่มจะต้องเขียนว่า อะไรมา
อยู่ระหว่างประโยคของผู้เรียน
- ผู้เรียนวิ่งเขียนตามคาบอกหรือตะโกนแล้วเขียนตามคาบอก
2. การใช้รูปภาพเพื่อช่วยกระตุ้นความสามารถทางการเขียน ดังตัวอย่างกิจกรรม
ต่อไปนี้
Chapter 2
Chapter 2
Chapter 2
Chapter 2
Chapter 2
Chapter 2
Chapter 2
Chapter 2
Chapter 2
Chapter 2
Chapter 2
Chapter 2
Chapter 2
Chapter 2
Chapter 2
Chapter 2

More Related Content

What's hot

มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศBoonlert Aroonpiboon
 
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60Supaporn Khiewwan
 
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสปายด์ 'ดื้อ
 
การตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย
การตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัยการตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย
การตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัยDr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
การจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืนการจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืนSupaporn Khiewwan
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศSupaporn Khiewwan
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560Supaporn Khiewwan
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมSupaporn Khiewwan
 
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์Supaporn Khiewwan
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศSupaporn Khiewwan
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...Totsaporn Inthanin
 
บทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมาย
บทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมายบทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมาย
บทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมายenoomtoe
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8sawitri555
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8amphaiboon
 

What's hot (18)

มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศมาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
มาตรฐานและตัวชี้วัดกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
 
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
ส่วนประกอบของรายงานและโครงงานม.4 60
 
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
สาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลาง
 
การตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย
การตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัยการตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย
การตั้งชื่อเรื่องปริญญานิพนธ์ วิทยานิพนธ์ และงานวิจัย
 
Chapter 3
Chapter 3Chapter 3
Chapter 3
 
การจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืนการจัดเก็บและค้นคืน
การจัดเก็บและค้นคืน
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศ
 
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
 
การเขียนรายงาน
การเขียนรายงานการเขียนรายงาน
การเขียนรายงาน
 
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
เฉลยแบบฝึกหัดทรัพยากรสารนิเทศ ม.4 2560
 
การเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรมการเขียนบรรณานุกรม
การเขียนบรรณานุกรม
 
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
เอกสารประกอบหลักสูตรอังกฤษ-ม.3
 
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
ส่วนประกอบหนังสือวารสารและหนังสือพิมพ์
 
ทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศทรัพยากรสารนิเทศ
ทรัพยากรสารนิเทศ
 
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
คู่มือการเขียนรายงาน การอ้างอิง การประกวดโครงงานวิทยาศาสตร์ สมาคมวิทยาศาสตร์ ...
 
บทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมาย
บทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมายบทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมาย
บทที่ 4 การเปรียบเทียบภาษาของผู้เรียนกับภาษาเป้าหมาย
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 
งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8งานนำเสนอบทที่8
งานนำเสนอบทที่8
 

Similar to Chapter 2

แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-fullKruBeeKa
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยwitthaya601
 
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...aphithak
 
แผนที่ 1 the student analysis
แผนที่ 1 the student analysisแผนที่ 1 the student analysis
แผนที่ 1 the student analysisTeacher Sophonnawit
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนวyutict
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมSutasinee Jakaew
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมSutasinee Jakaew
 
แผนการสอนJt308
แผนการสอนJt308แผนการสอนJt308
แผนการสอนJt308Pises Tantimala
 
presentation
presentationpresentation
presentationteeptin
 
เอกสารและร่องรอยประกอบ 13 แฟ้ม ว21
เอกสารและร่องรอยประกอบ 13 แฟ้ม ว21เอกสารและร่องรอยประกอบ 13 แฟ้ม ว21
เอกสารและร่องรอยประกอบ 13 แฟ้ม ว21arunrat bamrungchit
 
มคอ.3 historical tourism
มคอ.3  historical tourismมคอ.3  historical tourism
มคอ.3 historical tourismchickyshare
 
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdfมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdfTassanee Lerksuthirat
 
แบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Comแบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง ComPattaraporn Khantha
 

Similar to Chapter 2 (20)

แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full05 แผนงานวิจัยรวม-full
05 แผนงานวิจัยรวม-full
 
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัยแนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
แนวการเขียนรายงายเชิงวิจัย
 
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
 
แผนที่ 1 the student analysis
แผนที่ 1 the student analysisแผนที่ 1 the student analysis
แผนที่ 1 the student analysis
 
บทที่ ๒.๑
บทที่ ๒.๑บทที่ ๒.๑
บทที่ ๒.๑
 
Cแนะแนว
CแนะแนวCแนะแนว
Cแนะแนว
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
โครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอมโครงร่างโครงงานคอม
โครงร่างโครงงานคอม
 
แผนการสอนJt308
แผนการสอนJt308แผนการสอนJt308
แผนการสอนJt308
 
presentation
presentationpresentation
presentation
 
เอกสารและร่องรอยประกอบ 13 แฟ้ม ว21
เอกสารและร่องรอยประกอบ 13 แฟ้ม ว21เอกสารและร่องรอยประกอบ 13 แฟ้ม ว21
เอกสารและร่องรอยประกอบ 13 แฟ้ม ว21
 
มคอ.3 historical tourism
มคอ.3  historical tourismมคอ.3  historical tourism
มคอ.3 historical tourism
 
อาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษาอาเซียนศึกษา
อาเซียนศึกษา
 
Km1
Km1Km1
Km1
 
E-Book_Intensive_Reading_Chapter2
E-Book_Intensive_Reading_Chapter2E-Book_Intensive_Reading_Chapter2
E-Book_Intensive_Reading_Chapter2
 
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdfมาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
มาตรฐานการเผยแพร่ผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการ.pdf
 
แบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Comแบบโครงร่าง Com
แบบโครงร่าง Com
 
ASI403 course syllabus 2009-08-24
ASI403 course syllabus 2009-08-24ASI403 course syllabus 2009-08-24
ASI403 course syllabus 2009-08-24
 
OSS for Education
OSS for EducationOSS for Education
OSS for Education
 

More from Success SC Slac

More from Success SC Slac (20)

บทท 5 รวมเล_ม
บทท   5 รวมเล_มบทท   5 รวมเล_ม
บทท 5 รวมเล_ม
 
บทท 4 รวมเล_ม
บทท  4 รวมเล_มบทท  4 รวมเล_ม
บทท 4 รวมเล_ม
 
บทท 3 รวมเล_ม
บทท  3 รวมเล_มบทท  3 รวมเล_ม
บทท 3 รวมเล_ม
 
บทท 2 รวมเล_ม
บทท   2 รวมเล_มบทท   2 รวมเล_ม
บทท 2 รวมเล_ม
 
ว จ ยบทท__1 รวมเล_ม
ว จ ยบทท__1 รวมเล_มว จ ยบทท__1 รวมเล_ม
ว จ ยบทท__1 รวมเล_ม
 
Authentic material
Authentic materialAuthentic material
Authentic material
 
Writing (1)
Writing (1)Writing (1)
Writing (1)
 
Exercise 1
Exercise 1Exercise 1
Exercise 1
 
Text
TextText
Text
 
แผนเขียน 2
แผนเขียน 2แผนเขียน 2
แผนเขียน 2
 
Romeo
RomeoRomeo
Romeo
 
แผนการสอน Reading
แผนการสอน Readingแผนการสอน Reading
แผนการสอน Reading
 
Power point Speaking
Power point SpeakingPower point Speaking
Power point Speaking
 
Activity speaking
Activity speakingActivity speaking
Activity speaking
 
แผน CBI
แผน CBIแผน CBI
แผน CBI
 
แผนฟังครั้งที่ 4
แผนฟังครั้งที่ 4แผนฟังครั้งที่ 4
แผนฟังครั้งที่ 4
 
แผน Speaking
แผน Speakingแผน Speaking
แผน Speaking
 
Movie
MovieMovie
Movie
 
Text
TextText
Text
 
แผน Listening
แผน Listeningแผน Listening
แผน Listening
 

Chapter 2

  • 1. 6 บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ในการวิจัยครั้งนี้กลุ่มผู้วิจัยได้ค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง ซึ่งจะนาเสนอตามลาดับ ดังต่อไปนี้ 1. เอกสารที่เกี่ยวข้อง 1.1. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ 1.2. การเขียนภาษาอังกฤษ 1.3. การเรียนผ่านเครือข่ายไร้สาย 2. งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง 2.1. งานวิจัยในประเทศ 2.2 งานวิจัยต่างประเทศ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ กระทรวงศึกษาธิการ (2551 : 228 - 243) ได้กาหนดกลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศเป็นกลุ่มสาระการเรียนรู้พื้นฐานหนึ่งใน 8 กลุ่มสาระตามหลักสูตรการศึกษาขั้น พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ซึ่งสรุปสาระสาคัญดังนี้ 1. สาระสาคัญกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาต่างประเทศ สาระสาคัญกลุ่มสาระภาษาต่างประเทศกาหนดได้ดังนี้ 1.1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร การใช้ภาษาต่างประเทศในการฟัง-พูด-อ่าน-เขียน แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึกและแสดงความคิดเห็น ตีความ นาเสนอข้อมูล ความคิด รวบยอดและความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ และสร้างความสาพันธ์ระหว่างบุคคลอย่างเหมาะสม 1.2 ภาษาและวัฒนธรรม การใช้ภาษาต่างประเทศตามวัฒนธรรมของเจ้าภาษา ความสัมพันธ์ ความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษาภาษา และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับวัฒนธรรมไทย และนาไปใช้อย่างเหมาะสม 1.3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น การใช้ภาษาต่างประเทศ ในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่นเป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน 1.4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก การใช้ภาษาต่างประเทศใน สถานการณ์ต่างๆ ทั้งในห้องเรียนและนอกห้องเรียน ชุมชน และสังคมโลก เป็นเครื่องมือพื้นฐาน ในการศึกษาต่อ ประกอบอาชีพ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก 2. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้ สาระและมาตรฐานการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 5 แบ่งได้ดังนี้
  • 2. 7 สาระที่ 1 ภาษาเพื่อการสื่อสาร มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟังและอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนข้อมูล ข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ มาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพูดและการเขียน สาระที่ 2 ภาษาและวัฒนธรรม มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับวัฒนธรรมของเจ้าของ ภาษา และนาไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความแตกต่างระหว่างภาษา และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม สาระที่ 3 ภาษากับความสัมพันธ์กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการเชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระ การเรียนรู้อื่น และเป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน สาระที่ 4 ภาษากับความสัมพันธ์กับชุมชนและโลก มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อ การประกอบอาชีพ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก 3. คุณภาพผู้เรียน คุณภาพผู้เรียนกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ จบชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 มี ดังนี้ 3.1 ปฏิบัติตามคาแนะนาในคู่มือการใช้งานต่างๆ คาชี้แจง คาอธิบาย และ คาบรรยายที่ฟังและอ่าน อ่านออกเสียงข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรอง และบทละคร สั้นถูกต้องตามหลักการอ่าน อธิบายและเขียนประโยคและข้อความสัมพันธ์กับสื่อที่ไม่ใช่ความเรียง รูปแบบต่างๆ ที่อ่าน รวมทั้งระบุและเขียนสื่อที่ไม่ใช่ความเรียงรูปแบบต่างๆ สัมพันธ์กับประโยคและ ข้อความที่ฟังหรืออ่านจับใจความสาคัญ วิเคราะห์ความ สรุปความ ตีความ และแสดงความคิดเห็น จากการฟังและอ่านเรื่องที่เป็นสารคดีและบันเทิงคดีพร้อมทั้งให้เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ 3.2 สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับตนเองและเรื่องต่างๆ ใกล้ตัว ประสบการณ์ สถานการณ์ข่าว/เหตุการณ์ ประเด็นที่อยู่ในความสนใจและสื่อสารอย่างต่อเนื่องและ
  • 3. 8 เหมาะสม เลือกและใช้คาขอร้อง คาชี้แจง คาอธิบาย และให้คาแนะนา พูดและเขียนแสดงความ ต้องการ เสนอและให้ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือในสถานการณ์จาลอง หรือสถานการณ์จริงอย่างเหมาะสม พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง/ประเด็น/ข่าว/เหตุการณ์ที่ฟังและอ่านอย่างเหมาะสม พูดและ เขียนบรรยายความรู้สึกและแสดงความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ กิจกรรม ประสบการณ์ และข่าว/เหตุการณ์อย่างมีเหตุผล 3.3 พูดและเขียนนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง/ประสบการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ เรื่องและประเด็นต่างๆ ตามความสนใจ พูดและเขียนสรุปใจความสาคัญ แก่นสาระที่ได้จากการ วิเคราะห์เรื่อง กิจกรรม ข่าว เหตุการณ์ และสถานการณ์ตามความสนใจ พูดและเขียนแสดงความ คิดเห็นเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์ และเหตุการณ์ทั้งในท้องถิ่น สังคม และโลก พร้อมทั้งให้ เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ 3.4 เลือกใช้ภาษาน้าเสียงและกิริยาท่าทางเหมาะกับระดับของบุคคล เวลา โอกาสและสถานที่ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา อธิบาย/อภิปรายวิถีชีวิต ความคิด ความเชื่อ และที่มาของขนบธรรมเนียมและประเพณีของเจ้าของภาษา เข้าร่วม แนะนา และจัดกิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรมอย่างเหมาะสม 3.5 อธิบาย/เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างโครงสร้างประโยค ข้อความ สานวน คาพังเพย สุภาษิตและบทกลอนของภาษาต่างประเทศและภาษาไทยวิเคราะห์/อภิปรายความเหมือนและ ความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิตความเชื่อ และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับของไทยและนาไปใช้อย่างมี เหตุผล 3.6 ค้นคว้า/สืบค้น บันทึก สรุป และแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลที่เกี่ยวข้อง กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น จากแหล่งเรียนรู้ต่างๆ และนาเสนอด้วยการพูดและการเขียน 3.7 ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา ชุมชน และสังคม 3.8 ใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/ค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ และสรุป ความรู้/ข้อมูลต่างๆ จากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ เผยแพร่/ ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่น/ประเทศชาติ เป็นภาษาต่างประเทศ 3.9 มีทักษะการใช้ภาษาต่างประเทศ (เน้นการฟัง-พูด-อ่าน-เขียน) สื่อสารตาม หัวเรื่องเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อม อาหาร เครื่องดื่ม ความสัมพันธ์ระหว่าง บุคคล เวลาว่างและนันทนาการ สุขภาพและสวัสดิการ การซื้อ-ขาย ลมฟ้าอากาศ การศึกษาและ อาชีพ การเดินทางท่องเที่ยว การบริการ สถานที่ ภาษา และวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ภายในวง คาศัพท์ประมาณ 3,600 - 3,750 คา (คาศัพท์ที่มีระดับการใช้แตกต่างกัน) 3.10 ใช้ประโยคผสมและประโยคซับซ้อนสื่อความหมายตามบริบทต่างๆ ในการ สนทนาทั้งที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ 4. ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ดังตาราง 1-8 ตาราง 1 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
  • 4. 9 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่สอดคล้องกับ มาตรฐาน ต 1.1 เข้าใจและตีความเรื่องที่ฟัง และอ่านจากสื่อประเภทต่างๆ และแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล ตัวชี้วัด 1. ปฏิบัติตามคาแนะนาในการใช้ คู่มือการใช้งานต่างๆ คาชี้แจง คาอธิบาย และคาบรรยายที่ฟัง และอ่าน สาระการเรียนรู้แกนกลาง คาแนะนา คาชี้แจง คาอธิบาย คาบรรยาย เช่น ประกาศ เตือนภัยต่างๆ ยาและการใช้ยา การใช้อุปกรณ์และสิ่งของ การสืบค้นข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต -Modal verb : should/ought to/ need/ have to/ must + verb ที่เป็น infinitive without to เช่น You should have it after meal. (Active Voice)/ The does must be divided. (Passive Voice) -Direct/Indirect Speech -คาสันธาน (conjunction) and/but/or/so/not only…but also/both…and/as well as/after/because etc. ตาราง 1 (ต่อ) ตัวชี้วัด 2. อ่านออกเสียง ข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรอง และบทละครสั้น (skit) ถูกต้องตาม หลักการอ่าน สาระการเรียนรู้แกนกลาง ตัวเชื่อม (connective words) เช่น First,...Second,...Third,...Fourth,…Next,…Then,… Finally,…ect. ข้อความ ข่าว ประกาศ โฆษณา บทร้อยกรอง และบท ละครสั้นการใช้พจนานุกรมหลักการอ่านออกเสียง เช่น - การออกเสียงพยัญชนะต้นคาและพยัญชนะท้ายคา สระ เสียงสั้น สระเสียงยาว สระประสม - การออกเสียงเน้นหนักเบาในคาและกลุ่มคา - การออกเสียงตามระดับเสียงสูง-ต่าในประโยค - การออกเสียงเชื่อมโยงในข้อความ - การแบ่งวรรคตอนในการอ่าน - การอ่านบทร้อยกรองตามจังหวะ
  • 5. 10 3. อธิบายและเขียนประโยคและ ข้อความให้สัมพันธ์กับสื่อที่ไม่ใช่ ความเรียงรูปแบบต่างๆที่อ่าน รวมทั้งระบุและเขียนสื่อที่ไม่ใช่ความ เรียงต่างๆ ให้สัมพันธ์กับประโยค และข้อความที่ฟังหรืออ่าน ประโยคและข้อความ การตีความ/ถ่ายโยนข้อมูลให้สัมพันธ์ กับสื่อที่ไม่ใช่ความเรียง เช่น ภาพ แผนผัง กราฟ แผนภูมิ ตาราง อักษรย่อ จากกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น ด้วยการพูด และการเขียนอธิบาย โดยใช้ Comparison of adjective/adverb/Contrast : but, although, however, in spite of…/Logical connectives เช่น caused by/ followed by/consist of etc. ตาราง 1 (ต่อ) ตัวชี้วัด 4. จับใจความสาคัญ วิเคราะห์ความ สรุปความ ตีความ และแสดงความ คิดเห็นจากการฟังและอ่านเรื่องที่เป็นสาร คดี และบันเทิงคดี พร้อมทั้งให้เหตุผล และยกตัวอย่างประกอบ สาระการเรียนรู้แกนกลาง เรื่องที่เป็นสารคดีและบันเทิงคดี การจับใจความสาคัญ การสรุปความ การวิเคราะห์ความการตีความ การใช้ skimming/scanning/guessing/context clue ประโยคที่ใช้ในการแสดงความคิดเห็นการให้เหตุผลและ การยกตัวอย่างเช่น I believe…/ I agree with… but…/ Well, I must say…/ What do you think of /about…?/I think/don’t think…?/ What’s your opinion about…?/ In my opinion…/ - if clauses - so…that/such…that - too to…/enough to… - on the other hand,… - other (s)/another/the other (s) - คาสันธาน (conjunctions) because/and/so/but/ however/because of/due to/owing to etc. - Infinitive pronouns : some, any, someone, anyone, everyone, one, ones, etc. - Tenses : present simple/present continuous/ present perfect/past simple/future tense, etc. - Simple sentence/Compound
  • 6. 11 sentence/Complex sentence ตาราง 2 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่สอดคล้องกับ มาตรฐาน ต 1.2 มีทักษะการสื่อสารทางภาษา ในการ แลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสาร แสดงความรู้สึกและความคิดเห็นอย่างมีประสิทธิภาพ ตัวชี้วัด 1. สนทนาและเขียนโต้ตอบข้อมูลเกี่ยวกับ ตนเองและเรื่องต่างๆใกล้ตัว ประสบการณ์ สถานการณ์ ข่าว/เหตุการณ์ ประเด็นที่อยู่ ในความสนใจของสังคม และสื่อสารอย่าง ต่อเนื่องและเหมาะสม สาระการเรียนรู้แกนกลาง ภาษาที่ใช้ในการสื่อสารระหว่างบุคคล เช่น การทักทาย กล่าวลา ขอบคุณ ขอโทษชมเชย การพูดแทรกอย่าง สุภาพ การชักชวน การแลกเปลี่ยนข้อมูลเกี่ยวกับ ตนเอง เรื่องใกล้ตัว สถานการณ์ต่างๆ ใน ชีวิตประจาวัน การสนทนา/เขียนข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง และบุคคลใกล้ตัวประสบการณ์ สถานการณ์ต่างๆ ข่าวเหตุการณ์ ประเด็นที่อยู่ในความสนใจของสังคม 2. เลือกและใช้คาขอร้อง ให้คาแนะนา คา ชี้แจง คาอธิบายอย่างคล่องแคล่ว 3. พูดและเขียนแสดงความต้องการเสนอ ตอบรับและปฏิเสธการให้ความช่วยเหลือ ในสถานการณ์จาลอง หรือสถานการณ์จริง อย่างเหมาะสม คาขอร้อง คาแนะนา คาชี้แจง คาอธิบาย ที่มี ขั้นตอนซับซ้อน ภาษาที่ใช้ในการแสดงความต้องการ เสนอและให้ ความช่วยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการให้ ความช่วยเหลือในสถานการณ์ต่างๆ เช่น Please…/…, please./ I’d like…/ I need…/ May/Can/Could…?/Would you please…?Yes,../ Please do. /Certainly./ Yes, of course./Sure./
  • 7. 12 4. พูดและเขียนเพื่อขอและให้ข้อมูล บรรยาย อธิบายเปรียบเทียบ และแสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับเรื่อง/ประเด็น/ข่าว/ เหตุการณ์ที่ฟังและอ่านอย่างเหมาะสม Need some help?/ What can I do to help?/ Would you like me to help you?/ If you need anything, please…/ Is there anything I can do?/ I’ll do it for you./ I’m afraid…/ I’m sorry, but…/ Sorry, but…etc. คาศัพท์ สานวน ประโยคและข้อความที่ใช้ในการขอ และให้ข้อมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบและ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็น/ข่าว/เหตุการณ์ ที่ฟังและอ่าน ตาราง 2 (ต่อ) ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 5. พูดและเขียนบรรยายความรู้สึกและแสดง ความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรื่องต่างๆ กิจกรรม ประสบการณ์ และข่าว/ เหตุการณ์อย่างมีเหตุผล ภาษาที่ใช้ในการแสดงความรู้สึก ความคิดเห็น และ ให้เหตุผลประกอบ เช่น ชอบ ไม่ชอบ ดีใจ เสียใจ มีความสุข เศร้า หิว รสชาติ สวย น่าเกลียด เสียง ดัง ดี ไม่ดี จากข่าว เหตุการณ์ สถานการณ์ ในชีวิตประจาวันเช่น Nice. /Very nice. /Well done! /Congratulations on… I like… because…/ I love… because…/ I feel… because…/I think…/I believe…/ I agree/disagree…/ I’m afraid I don’t like…/ I don’t believe…/I have no idea…/ Oh no! etc. ตาราง 3 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่สอดคล้องกับ มาตรฐาน ต 1.3 นาเสนอข้อมูลข่าวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องต่างๆ โดยการพูดและการเขียน ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
  • 8. 13 1. พูดและเขียนนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับ ตนเอง/ ประสบการณ์ ข่าว/ เหตุการณ์ เรื่อง และประเด็นต่างๆตามความเหมาะ สนใจของสังคม 2. พูดและเขียนสรุปใจความสาคัญ/ แก่น สาระที่ได้จากการวิเคราะห์เรื่อง กิจกรรม ข่าว เหตุการณ์และสถานการณ์ตามความ สนใจ ตาราง 3 (ต่อ) การนาเสนอข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ์ ข่าว/ เหตุการณ์ เรื่องและประเด็นที่อยู่ในความสนใจของ สังคม เช่น การเดินทาง การรับประทานอาหาร การเล่นกีฬา/ดนตรี การดูภาพยนตร์ การฟังเพลง การเลี้ยงสัตว์การอ่านหนังสือ การท่องเที่ยว การศึกษา สภาพสังคม เศรษฐกิจ การจับใจความสาคัญ/แก่นสาระ การวิเคราะห์เรื่อง กิจกรรม ข่าวเหตุการณ์ และสถานการณ์ตามความสนใจ ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง 3. พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับ การแสดงความคิดเห็นการให้เหตุผลประกอบ กิจกรรม ประสบการณ์ และเหตุการณ์ และยกตัวอย่างเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ์ ทั้งในท้องถิ่น สังคม และโลก พร้อมทั้งให้ และเหตุการณ์ในท้องถิ่น สังคม และโลก เหตุผลและยกตัวอย่างประกอบ ตาราง 4 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่สอดคล้องกับ มาตรฐาน ต 2.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างภาษา กับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา และนาไปใช้ได้อย่างเหมาะสมกับกาลเทศะ ตัวชี้วัด 1. เลือกใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทาง เหมาะกับระดับของบุคคล โอกาส และ สถานที่ ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรม ของเจ้าของภาษา 2. อธิบาย/อภิปรายวิถีชีวิต ความคิดความ เชื่อ และที่มาของขนบธรรมเนียม และ ประเพณีของเจ้าของภาษา 3. เข้าร่วม แนะนา และจัดกิจกรรมทาง ภาษาและวัฒนธรรมอย่างเหมาะสม สาระการเรียนรู้แกนกลาง การเลือกใช้ภาษา น้าเสียง และกิริยาท่าทางในการ สนทนา ระดับของภาษา มารยาทสังคมและ วัฒนธรรมของเจ้าของภาษาเช่น การขอบคุณ ขอโทษ การชมเชย การใช้สีหน้าท่าทางประกอบ การพูดขณะแนะนาตนเอง การสัมผัสมือ การโบกมือ การแสดงความ รู้สึกชอบ/ไม่ชอบ การกล่าวอวยพร การแสดงอาการตอบรับหรือปฏิเสธ วิถีชีวิต ความคิด ความเชื่อ และที่มาของ ขนบธรรมเนียม และประเพณีของเจ้าของภาษา กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม เช่น การเล่นเกม การร้องเพลง การเล่านิทาน/เรื่องจากภาพยนตร์
  • 9. 14 บทบาทสมมุติ ละครสั้น วันขอบคุณพระเจ้า วันคริสต์มาส วันขึ้นปีใหม่วันวาเลนไทน์ ตาราง 5 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่สอดคล้องกับ มาตรฐาน ต 2.2 เข้าใจความเหมือนและความ แตกต่างระหว่างภาษาและวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนามาใช้อย่างถูกต้องและเหมาะสม ตัวชี้วัด 1. อธิบาย/เปรียบเทียบความแตกต่าง ระหว่างโครงสร้างประโยค ข้อความ สานวน คาพังเพย สุภาษิตและบทกลอน ของภาษา ต่างประเทศและภาษาไทย 2. วิเคราะห์/อภิปรายความเหมือนและ ความแตกต่างระหว่างวิถีชีวิตความเชื่อ และวัฒนธรรมของเจ้าของภาษากับของไทย และนาไปใช้อย่างมีเหตุผล สาระการเรียนรู้แกนกลาง การอธิบาย/การเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง โครงสร้างประโยค ข้อความ สานวน คาพังเพย สุภาษิต และบทกลอนของภาษาต่างประเทศและ ภาษาไทย การวิเคราะห์/การอภิปรายความเหมือนและความ แตกต่างระหว่างวิถีชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรม ของเจ้าของภาษากับของไทยการนาวัฒนธรรม ของเจ้าของภาษาไปใช้ ตาราง 6 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่สอดคล้องกับ มาตรฐาน ต 3.1 ใช้ภาษาต่างประเทศในการ เชื่อมโยงความรู้กับกลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น และเป็นพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู้ และเปิดโลกทัศน์ของตน ตัวชี้วัด 1. ค้นคว้า/สืบค้น บันทึก สรุป และแสดง ความคิดเห็นเกี่ยวกับข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับ กลุ่มสาระการเรียนรู้อื่น จากแหล่งเรียนรู้ ต่างๆ และ นาเสนอด้วยการพูด และการเขียน สาระการเรียนรู้แกนกลาง การค้นคว้า/การสืบค้น การบันทึกการสรุป การแสดง ความคิดเห็น และนาเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับกลุ่ม สาระการเรียนรู้อื่นจากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ
  • 10. 15 ตาราง 7 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่สอดคล้องกับ มาตรฐาน ต 4.1 ใช้ภาษาต่างประเทศ ในสถานการณ์ต่างๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม ตัวชี้วัด 1. ใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/ สถานการณ์จาลองที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา ชุมชน และสังคม สาระการเรียนรู้แกนกลาง การใช้ภาษาสื่อสารในสถานการณ์จริง/สถานการณ์ จาลองเสมือนจริงที่เกิดขึ้นในห้องเรียน สถานศึกษา ชุมชน และสังคม ตาราง 8 ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู้แกนกลางกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่สอดคล้องกับ มาตรฐาน ต 4.2 ใช้ภาษาต่างประเทศเป็น เครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาต่อการประกอบอาชีพ และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสังคมโลก ตัวชี้วัด 1. ใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/ ค้นคว้า รวบรวม วิเคราะห์ และสรุป ความรู้/ข้อมูลต่างๆ จากสื่อและแหล่งการ เรียนรู้ต่างๆ ในการศึกษาต่อและประกอบ อาชีพ 2. เผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ข้อมูล ข่าวสาร ของโรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่น/ ประเทศชาติ เป็นภาษาต่างประเทศ สาระการเรียนรู้แกนกลาง การใช้ภาษาต่างประเทศในการสืบค้น/การค้นคว้า ความรู้/ข้อมูลต่างๆจากสื่อและแหล่งการเรียนรู้ต่างๆ ในการศึกษาต่อและประกอบอาชีพ การใช้ภาษาอังกฤษในการเผยแพร่/ประชาสัมพันธ์ ข้อมูล ข่าวสารของโรงเรียน ชุมชน และท้องถิ่น/ ประเทศชาติ เช่น การทาหนังสือเล่มเล็กแนะนา โรงเรียน ชุมชน ท้องถิ่น/ประเทศชาติ การทาแผ่น ปลิว ป้ายคาขวัญ คาเชิญชวนแนะนาโรงเรียน สถานที่สาคัญในชุมชนและท้องถิ่น/ประเทศชาติ การ นาเสนอข้อมูลข่าวสารในโรงเรียน ชุมชน ท้องถิ่น/ ประเทศชาติเป็นภาษาอังกฤษ 5. โครงสร้างหลักสูตร กระทรงศึกษาธิการ (2551 : 23-24) กาหนดกรอบโครงสร้างเวลาเรียนกลุ่มสาระ การเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 เรียนปีละ 240 ชั่วโมง การกาหนดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐาน และเพิ่มเติมดังนี้ ระดับประถมศึกษา สามารถปรับเวลาเรียนพื้นฐานของแต่ละกลุ่มสาระ การเรียนรู้ได้ตามความเหมาะสม ทั้งนี้ต้องมีเวลาเรียนรวมตามที่กาหนดไว้ในโครงสร้างเวลาเรียน พื้นฐาน และผู้เรียนต้องมีคุณภาพตามมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัดที่กาหนด
  • 11. 16 ระดับมัธยมศึกษาต้องจัดโครงสร้างเวลาเรียนพื้นฐานให้เป็นไปตามที่กาหนด และสอดคล้องกับเกณฑ์การจบหลักสูตร สาหรับเวลาเรียนเพิ่มเติมทั้งในระดับประถมศึกษาและมัธยมศึกษาให้จัดเป็น รายวิชาเพิ่มเติม หรือกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน กิจกรรมพัฒนาผู้เรียนที่กาหนดไว้ในชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6 จานวน 360 ชั่วโมง นั้น เป็นเวลาสาหรับปฏิบัติกิจกรรมแนะแนวกิจกรรมนักเรียน และกิจกรรมเพื่อสังคมและ สาธารณประโยชน์ในส่วนกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ให้สถานศึกษาจัดสรรเวลาให้ผู้เรียน ได้ปฏิบัติกิจกรรม ดังนี้ ระดับประถมศึกษา (ป.1-6) รวม 6 ปี จานวน 60 ชั่วโมง ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น (ม.1-3) รวม 3 ปี จานวน 54 ชั่วโมง ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย (ม.4-6) รวม 3 ปี จานวน 60 ชั่วโมง 6. คาอธิบายรายวิชา กระทรวงศึกษาธิการ (2544 : 200) กาหนดคาอธิบายรายวิชา กลุ่มสาระการ เรียนรู้ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 มีดังนี้ เข้าใจ น้าเสียง ความรู้สึกของผู้พูด คาสั่ง คาขอร้อง คาแนะนา ความแตกต่าง ด้านภาษา วัฒนธรรม ประเพณี อ่านออกเสียงบทความได้ถูกต้องตามหลักการอ่านออกเสียงและ เหมาะสมกับเนื้อหาที่อ่าน ตีความ วิเคราะห์ ข้อความ ข้อมูล ข่าวสาร บทความ สารคดี บันเทิง คดี สื่อที่เป็นความเรียงและไม่ใช่ความเรียงในแบบต่างๆ จากสื่อสิ่งพิมพ์หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส์ในหัวข้อ ต่างๆเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน สิ่งแวดล้อม ความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เวลาว่างและ สวัสดิการ การศึกษาและอาชีพ การซื้อขาย ลมฟ้าอากาศ การบริการ สถานที่ วิทยาศาสตร์และ เทคโนโลยี ใช้ภาษาตามมารยาททางสังคม สร้างความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล แสดงความคิดเห็น ความต้องการ อธิบาย บรรยาย แลกเปลี่ยนความรู้ และให้เหตุผลเกี่ยวกับเรื่องราวต่าง ๆ เหตุการณ์ ในอดีต ปัจจุบันและอนาคต โดยใช้ประโยชน์จากสื่อ เทคโนโลยี สื่อการเรียนทางภาษา และผลจาก การฝึกทักษะต่างๆ แสวงหาวิธีการเรียนที่เหมาะสมกับตนเอง สามารถนาเสนอข้อมูล ความคิดรวบ ยอดและความคิดเห็น เจรจาโน้มน้าว ต่อรองเกี่ยวกับประสบการณ์และเหตุการณ์ต่างๆในท้องถิ่น ด้วยวิธีการที่หลากหลายอย่างสร้างสรรค์และมีประสิทธิภาพ นาเสนอบทกวีหรือบทละครสั้น โดยใช้ เค้าโครงตามแนวคิดของเจ้าของภาษาด้วยความเพลิดเพลิน เข้าร่วมกิจกรรม เปรียบเทียบ และนา ความรู้ด้านภาษา วัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อไปใช้อย่างมีวิจารณญาณ เห็นประโยชน์ของการรู้ ภาษาอังกฤษในการแสวงหาความรู้เพื่อขยายโลกทัศน์ จากแหล่งข้อมูลที่หลากหลาย การเข้าสู่สังคม และอาชีพ สามารถใช้ภาษาสื่อสารในรูปแบบต่างๆตามสถานการณ์ในสถานศึกษาและชุมชน 7. หน่วยการเรียนรู้ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 กระทรวงศึกษาธิการ (2544 : 200) กาหนดหน่วยการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้ ภาษาต่างประเทศ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ภาคเรียนที่ 2 ดังนี้ Unit 1 : Myself - Sports - Hobbies - Indoor/ Outdoor Game
  • 12. 17 Unit Unit Unit Unit Unit Unit Unit - 2 : Community Role in Community 3 : Personal Relationship Personal Traits Social Life 4 : Environment How to Preserve Environment 5 : Occupation Like and Dislike Hope Future Career 6 : Health Measure and Weight Hoe to Keep Fit 7 : Travel Places : Attractive Places Entertainment Brochure Shopping : Souvenir Market Accommodation :Service, Food and Drink, Hotel, Home Stay 8 : Science and Technology Impacts 7. การวัดและการประเมินผล กรมวิชาการ (2544 : 245-253) ได้ทาการประเมินความสามารถในการใช้ภาษา เพื่อการสื่อสาร และพบว่าควรจะประเมินความสามารถในการสื่อสารอย่างแท้จริง ไม่ควรแยกการใช้ ภาษาออกจากสถานการณ์และควรวัดให้ครอบคลุมในทุกๆ ด้าน นั่นคือ ต้องประเมินความรู้ทั้งที่ เป็นเนื้อหาทางภาษาซึ่งประกอบด้วย เสียง คาศัพท์ โครงสร้าง ไวยากรณ์ รวมถึงการประเมินด้าน ความสามารถหรือประสิทธิภาพซึ่งหมายถึง ทักษะการนาความรู้ไปใช้และประเมินขอบข่ายในการใช้ ภาษา นั่นคือสมรรถภาพในการสื่อสารซึ่งหมายถึง ทักษะในการปรับตัวของผู้เรียนในสถานการณ์ต่างๆ ของการสื่อสาร ซึ่งในการประเมินนั้นต้องคานึงถึงความสามารถและประสบการณ์ของผู้เรียนด้วย และได้จาแนกรูปแบบของเกณฑ์การประเมินออกเป็น 2 ประเภท ดังนี้ 7.1 เกณฑ์ในการประเมินแบบภาพรวม (Holistic Rating Scales) เป็นการประเมินการให้คะแนนโดยพิจารณาจากภาพรวมของผลงานนั้นๆ การนาองค์ประกอบที่สาคัญซึ่งเป็นผลงานที่คาดหวังมาจัดทาและบรรยายถึงลักษณะของแต่ละเกณฑ์ การประเมินไว้ด้วย ซึ่งเป็นการประเมินในภาพรวมที่แสดงให้เห็นถึงคุณภาพทีเป็นรูปธรรมได้ชัดเจน ่ และในแต่ละระดับนั้นก็ได้กาหนดคะแนนสาหรับงานหรือการปฏิบัตินั้นๆ ด้วยเหมาะที่จะนามาใช้
  • 13. 18 ในการประเมินทักษะการเขียน ทักษะการพูด เช่น ในการประเมินการใช้ภาษาสาหรับการเขียน แบบตอบไม่จากัดมีองค์ประกอบที่สาคัญ ได้แก่ การเลือกคาศัพท์ การสื่อความ ความต่อเนื่อง ความเชื่อมโยง เครื่องหมายวรรคตอน ฯลฯ กล่าวคือ สามารถตรวจสอบความสามารถในการสื่อ ความหมาย ความต่อเนื่องของแนวคิด ความคิดสร้างสรรค์ และความสละสลวยของภาษาได้ 7.2 เกณฑ์การประเมินแยกส่วน (Analytic Rating Scales) เกณฑ์การประเมินแยกส่วน คือ แนวทางการให้คะแนนโดยพิจารณาจากแต่ละ ส่วนของงานที่มีลักษณะการตอบที่จากัด ซึงแต่ละส่วนจะต้องกาหนดแนวทางในการให้คะแนน ่ โดยมีคานิยามหรือคาอธิบายลักษณะของงานในส่วนนั้นๆ ในแต่ละระดับให้ชัดเจน กล่าวคือ กาหนดการพิจารณาเป็นประเด็นต่างๆ แยกกันในงานชิ้นเดียวซึ่งผู้สอนจะสามารถเปรียบเทียบงานนั้น ได้โดยตรงกับเกณฑ์ที่กาหนด และส่วนใหญ่จะพิจารณาไม่เกิน 4 ด้าน นอกจากนี้ยังมีการสร้างเกณฑ์การประเมินทางภาษา ซึ่งมีแนวทางต่างๆ ดังนี้ 7.3 เกณฑ์การปฏิบัติ (Pragmatic Criteria) ประเด็นที่ควรนามาพิจารณาได้แก่ การปฏิบัติตนของผู้เรียนที่แสดงถึงความสามารถทางด้านภาษา เช่น การวาดภาพตามคาสั่งที่ได้อ่าน หรือฟัง หรืออาจจะเป็นการใช้ภาษาเพื่อการสื่อความถึงสิ่งที่เขาควรปฏิบัติ เช่น ใช้ภาษาเขียนลาดับ ขั้นตอนการทางานของตนเองได้ 7.4 เกณฑ์ทางภาษา (Linguistic Criteria) ควรให้ครอบคลุมทั้งการใช้รูปคาศัพท์ รูปแบบประโยค ความถูกต้องในการออกเสียงสาหรับพูด และการเรียบเรียงประโยค 7.5 เกณฑ์ทางวัฒนธรรม (Culture Criteria) ต้องคานึงถึงขนบธรรมเนียมประเพณี และแนวปฏิบัติอันเป็นวัฒนธรรมที่แสดงออกทางภาษา เช่น การต้อนรับ การขอบคุณ ขอโทษ หรือระดับภาษา เป็นต้น 7.6 เกณฑ์ด้านยุทธศาสตร์การสื่อสาร (Strategic Criteria) ควรได้พิจารณา ยุทธศาสตร์ของผู้สอนที่จะทาให้การสื่อสารดาเนินไปอย่างราบรื่น เกิดความเข้าใจกันตามจุดมุ่งหมาย ยุทธศาสตร์ต่างๆ เหล่านี้ ได้แก่ ภาษาท่าทาง การใช้ภาษาเทียบเคียง ภาษาที่เป็นเอกลักษณ์ เฉพาะตัว สภาวะทางอารมณ์ การเขียนภาษาอังกฤษ 1. ความหมายของการเขียน วินเกอร์สกี เบอร์เนอร์ และบาโลร์ก (Wingersky, Boerner and Balogh. 1995 : 2) ได้กล่าวถึงความหมายของการเขียนไว้ว่า การเขียนเป็นกระบวนการรวบรวมและจัดระเบียบ ความคิดของผู้ส่งสาร โดยมีการถ่ายทอดสารที่ต้องการสื่อผ่านทางการเขียนลงไปในกระดาษ เพื่อ สื่อสารกับผู้รับสารนั้นก็คือผู้อ่าน ในทักษะการเขียนจะมีโอกาสสื่อสารผิดพลาดได้น้อยกว่าการพูด เพราะการเขียนสามารถแก้ไขจัดการเกี่ยวกับความคิดและสารที่จะสื่อออกไปให้สมบรูณ์ได้ แต่การพูด ผู้รับสารสามารถรับสารได้ทางน้าเสียง คาพูด และการแสดงออกทางใบหน้าของผู้พูด ซึ่งเป็นการยาก ต่อการแก้ไข และทาให้เกิดการสื่อสารที่ผิดพลาดได้ทุกเมื่อ แกรแฮมม และ เพอร์ริน (Graham and Perin. 2007 : 3) ได้ให้ความหมายของ ทักษะการเขียนไว้ว่าทักษะการเขียนคือทักษะที่ใช้คาดการณ์ผลการเรียนรู้และความสาเร็จของการศึกษา
  • 14. 19 และเป็นปัจจัยพื้นฐานอย่างหนึ่งในการมีส่วนร่วมในสังคม และเศรษฐกิจโลก การเขียนที่ดีไม่ใช่เป็น เพียงทางเลือกหนึ่งของผู้เรียน แต่เป็นถึงสิ่งที่จาเป็นสิ่งหนึ่ง ควบคูไปกับทักษะการอ่านเพื่อความเข้าใจ ่ แล้ว โชวราฟา (Shourafa. 2012 : 235) ได้กล่าวว่าการเขียนเป็นทักษะที่ก่อให้เกิดผล ทางการเรียนรู้ทักษะหนึ่งจากสี่ทักษะของภาษาอังกฤษ การเขียนเป็นความสามารถในการเข้าใจในเรื่อง ของโครงสร้างไวยากรณ์ คาศัพท์ ความคิด ศิลปะการใช้ถ้อยคา และส่วนอื่นๆของการใช้ภาษา การเขียนสามารถพัฒนาการรู้ภาษาของผู้เรียนได้จากกคาศัพท์ ประโยค และส่วนประกอบอื่นๆของ การเขียนซึ่งใช้ในการสื่อสารความคิดซึ่งกันและกัน 2. ความสาคัญของการเขียน ไมเลส (Myles. 2002 : 1) กล่าวว่าการเขียนเป็นทักษะที่สาคัญในการบ่งบอกถึง ความสามารถผ่านการบอกเล่าข้อมูลออกมาเป็นชิ้นงานในรูปแบบของการพรรณนา การบรรยาย หรือการเปลี่ยนแปลงข้อมูลให้เป็นเนื้อหาในรูปแบบใหม่ในการเขียนแบบชี้แจงอธิบาย หรือการเขียน โต้แย้งเปรียบเทียบ ยิ่งไปกว่านั้นการฝึกฝนทักษะการเขียนเป็นสิ่งสาคัญเพราะทักษะการเขียนเป็น ทักษะที่ไม่สามารถได้มาโดยธรรมชาติ แต่เป็นทักษะที่ต้องได้รับการเรียนรู้ หรือการถ่ายทอดโดยการ ฝึกฝน จากการจัดตั้งสภาพแวดล้อมการเรียนการสอนตามรูปแบบ หรือในสภาพแวดล้อมอื่นๆ ทักษะการเขียนต้องได้รับการฝึกฝน และเรียนรู้ผ่านประสบการณ์ ทั้งในและนอกห้องเรียน แกรแฮมม และเพอร์ริน (Graham and Perin. 2007 : 9) อธิบายว่าทักษะการ เขียนเป็นสิ่งได้รับความสนใจ และถูกนามาพิจารณาในบริบทส่วนมากของชีวิต เช่น โรงเรียน ที่ทางาน และชุมชน และการพิจารณาในแต่ละบริบทนั้นได้มีความเหลื่อมล้า แต่ไม่ได้อยู่ในลักษณะ และความต้องการเดียวกัน ดังนั้นผู้เขียนที่มีความชานาญต้องสามารถปรับการเขียนให้มีความยืดหยุ่น ในแต่ละบริบทจึงจะสามารถได้ประโยชน์จากการเขียนได้ โชวราฟา (Shourafa. 2012 : 235) ได้กล่าวไว้ว่าทักษะการเขียนเป็นทักษะที่สาคัญ ในการเรียนต่อในระดับสูงสาหรับผู้เรียนภาษอังกฤษเป็นภาษาต่างประเทศ ซึ่งไม่ใช่เพียงแค่หนทางใน การติดต่อสื่อสารในการแบ่งปันวิสัยทัศน์ และความคิดเท่านั้นแต่ยังเป็นทักษะที่จาเป็นต่อการเรียน ระดับสูงขึนไป ้ 3. หลักการและขั้นตอนการสอนการเขียน ฮาร์มเมอร์ (Harmer. 2012 : 128 - 133) ได้อธิบายถึงการเรียนรู้ภาษาอังกฤษไว้ว่า ในการเรียนรู้เมื่อเกิดข้อผิดพลาดในการพูดภาษาอังกฤษ จะสามารถแก้ไขให้ถูกต้องอย่างรวดเร็วได้ด้วย ตนเอง หรือ พูดในสิ่งสิ่งที่เหมือนกันในสิ่งเดียวกันในทางที่แตกต่างกัน แต่เมื่อเขียนนั้นจาเป็นต้องมี ความแม่นยาและถูกต้องมากขึ้น ผู้เรียนจาเป็นต้องเรียนรู้แนวทักษะวิธีการในการเขียนอย่างประสบ ผลสาเร็จ ในปัจจุบันถึงแม้ผู้คนมากมายจะใช้คอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ทางโทรศัพท์สาหรับการเขียน ติดต่อสื่อสาร แต่ก็ยังพบสาเหตุมากมายในการเขียนด้วยลายมือ และผู้เรียนบางคนค้นหาบทเรียน ภาษาอังกฤษที่แตกต่างกันออกไป โดยเฉพาะอย่างยิ่งถ้าผู้เรียนเลือกทางการเขียนในภาษาของผู้เรียน (สัญลักษณ์ที่ใช้) เป็นภาษาที่แตกต่างกันนอกจากที่จะเลือกใช้ภาษาอังกฤษ ผู้สอนจึงจาเป็นต้องให้ ผู้เรียนฝึกฝนในการเขียนข้อมูลตัวอักษร โดยการใช้กระดาษที่มีเส้นเพื่อที่จะช่วยให้ผู้เรียนทาตาม ตัวอย่างซึ่งเป็นการเขียนแบบลายมือ เมื่อเริ่มการเขียนในภาษาแรกคนเรามักจะคิดเสมอว่าการพูดจะ
  • 15. 20 เกิดขึ้นก่อนที่จะลงมือทา และมักจะตรวจสอบว่าในการเขียนนั้นสมบูรณ์ ก่อนที่จะวางกระดาษหรือ บัตรคาในซองกระดาษ หรือกดส่งทางคอมพิวเตอร์ซึ่งหลักการสอนเขียนมีดังนี้ - การวางแผนการเขียนนั้นผู้เรียนควรคิดก่อนเสมอว่าต้องการจะเขียน หรือสื่อสาร สิ่งใดระหว่างผู้เขียนและผู้อ่าน รวมไปถึงจุดประสงค์ของการเขียนบันทึก - การเขียนฉบับร่าง - การทบทวนฉบับร่าง และแก้ไขก่อนที่จะเขียนครั้งสุดท้าย - กระบวนการเขียนไม่ได้พูดถึงเฉพาะทิศทางการเขียน ผู้เรียนสามารถเริ่มต้น การเขียน การคิด และการวางแผนใหม่ได้ กระบวนการเขียนเป็นกระบวนการเล็กๆ คล้ายกับวงล้อ นั่นก็หมายถึงการหมุนรอบๆ และข้ามไปในทิศทางที่หลากหลาย - การเขียนต้องมีการทบทวนแก้ไข เพราะในการเขียนนั้นอาจเกิดข้อผิดพลาดทั้งการ สื่อสาร และข้อผิดพลาดทางภาษา - ผู้สอนกระตุ้นนักเรียนให้มีความระมัดระวังในการเขียน โดยอาจให้ผู้เรียนวางแผน ในสิ่งที่กาลังจะพูด ผู้เรียนสามารถอภิปรายความคิดโดยการค้นหาความคิดในอินเตอร์เน็ตหรือใน ห้องสมุดโรงเรียนและจดบันทึกบนกระดาษหรือบนหน้าจอได้ - ผู้สอนกระตุ้นให้ผู้เรียนในการทบทวนหรือแก้ไขในสิ่งที่เขียนไปก่อนการเขียนฉบับ สุดท้าย สิ่งนี้คือความสาคัญของการฝึกฝนการทาข้อสอบ ผู้เรียนจาเป็นต้องตรวจสอบผ่านทางคาตอบ ของตนเอง - ผู้ให้ผู้เรียนตรวจสอบรายชื่อที่จะใช้ในขณะที่กาลังทบทวนงานเขียน ตัวอย่างเช่น ถ้าเขียนจดหมายอิเล็กทรอนิกส์นั้น อาจจะให้ผู้เรียนทาตามสิ่งที่กาหนดให้ แบรนด์วิค และแมคไนท์ (Brandvik and Mcknight. 2011 : 90) ได้กล่าวไว้ว่า ขั้นตอนการสอนการเขียนมีหลายขั้นตอน คือ ขั้นก่อนการเขียน การร่าง การแก้ไขและปรับปรุง และขั้นนาเสนอผลงานดังนี ้ 1. ขั้นก่อนการเขียน เป็นขั้นการเตรียมตัวก่อนการเขียนร่าง เป็นการช่วยให้ผู้เขียน รวบรวมความคิดและทาตามกระบวนการเขียน ควรใช้กิจกรรมที่หลากหลายสาหรับขั้นก่อนการเขียน เพื่อช่วยให้ผู้เรียนได้ค้นหาข้อมูลและรวบรวมความคิดในหัวข้อของตนเอง 2. ขั้นการร่าง งานเขียนที่ประสบความสาหรับนั้นส่วนใหญ่จะต้องผ่านการร่าง หลายครั้ง ในการร่างงานเขียนครั้งแรกผู้เรียนจะต้องรีบเขียนความคิดของตนเองลงไปในรูปแบบ การร่าง หลังจากนั้นคือการรวบรวมข้อมูลโดยไม่ต้องกังวลเกี่ยวกับความถูกต้องของการเขียนมากนัก 3. ขั้นการแก้ไขและปรับปรุง การแก้ไขคือการกลับไปมองงานเขียนอีกครั้งหนึ่ง หลังจากที่ร่างงานเขียนแรกเสร็จแล้ว ผู้เขียนจะต้องกลับมาอ่านงานเขียนอีกครั้งหนึ่ง ในขั้นนี้ผู้เขียน จะต้องตรวจสอบรูปแบบประโยค ไวยากรณ์ และคาศัพท์เพื่อความถูกต้อง 4. ขั้นน้าเสนอ ผู้เรียนส่วนใหญ่จะเขียนงานเขียนเพื่อส่งผู้สอนเท่านั้น แต่ในปัจจุบัน เราควรสร้างโอกาสให้ผู้เรียนได้นาเสนองานเขียนของตนเองแก้ผู้ชมอื่นๆ เช่น อ่านให้เพื่อนๆใน ชั้นเรียนฟัง อ่านให้เพื่อนในกลุ่มฟัง หรืออ่านในที่สาธารณะต่างๆ 4. การจัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาการสอนการเขียน
  • 16. 21 แบรนด์วิค และแมคไนท์ (Brandvik and Mcknight. 2011 : 93) กล่าวว่าถึงแม้ว่า เราจะกระตุ้นผู้เรียนให้เขียนงานเขียนที่ผู้เรียนเลือกหัวข้อด้วยตนเอง แต่ก็ควรจะมีรูปแบบของการ เขียนกาหนดให้ผู้เรียนได้เขียนอย่างชัดเจน ผู้เรียนส่วนใหญ่มักจะชอบเขียนงานเขียนแบบแสดง ความรู้สึกและเขียนบรรยายเรื่องส่วนตัว ผู้สอนไม่ควรที่จะกีดกันสิ่งเหล่านี้ เพราะว่ารูปแบบการเขียน นี้จะสร้างความคล่องแคล่วในการเขียนและเป็นพื้นฐานของการเขียนรูปแบบอื่นๆ การใช้คาศัพท์เฉพาะ ทางในการแยกประเภทการเขียนอาจจะทาให้สับสน เพราะบางครั้งการเขียนนั้นแบ่งตามวัตถุประสงค์ หรือบางครั้งแบ่งตามรูปแบบและลักษณะการบรรยาย มี 4 วิธี คือ การบรรยาย การพรรณนา การอธิบาย และการจูงใจ ดังนี้ 1. การเขียนแสดงความรู้สึก เป็นการเขียนที่ไม่เน้นโครงสร้างมากนัก เช่น การเขียน วารสาร บันทึกประจาวัน แฟ้มบันทึก เรียงความที่ไม่เป็นทางการ ความทรงจา และบันทึกความทรง จาให้กาลังใจ 2. การเขียนแบบมีโครงสร้าง เป็นการเขียนตามรูปแบบมาตรฐาน เช่น จดหมาย สมัครงาน จดหมายแสดงความยินดี และใบสมัครงานต่างๆ เช่น การสื่อสารทางธุรกิจ และบัตรเชิญ การเขียนเชิงความคิดสร้างสรรค์ มีจุดมุ่งหมายเพื่อความสุขและความบันเทิงและจะเน้นที่ภาษาและ พล็อตเรื่อง ได้แก่ เขียนเพลง นิทาน กลอน ปริศนา เรื่องตลก เรียงความ หรือจดหมาย 3. การเขียนเชิงข้อมูล เป็นการเขียนที่เน้นการอธิบายข้อมูลต่างๆ เช่น การเขียน รายงาน จดหมาย การโฆษณา วิจัย ข้อสอบ เรียงความ และบทความในหนังสือพิมพ์ 4. การเขียนโน้มน้าวใจ มีจุดมุ่งหมายในการเขียนเพื่อสร้างอิทธิพลในมุมมองต่างๆ แก่ผู้อ่าน เช่น การเขียนรายงาน บทบรรณาธิการ จดหมาย งานวิจัย การโฆษณา หรือการเขียน เรียงความ ฮาร์มเมอร์ (Harmer. 2010 : 117 - 120) ได้แนะนากิจกรรมเพื่อพัฒนาการสอน เขียนเพิ่มเติมดังนี้ 1. การเขียนแบบเร่งด่วน เป็นอีกหนึ่งวิธีในการสร้างนิสัยของการเขียนที่เร่งด่วน เนื่องจากเป็นไปได้ที่เด็ก วัยรุ่น หรือผู้ใหญ่ ซึ่งเป็นผู้เขียนที่ไม่สมัครใจ กิจกรรมการเขียนแบบเร่งด่วน จาพวกนี้ ซึ่งผู้เรียนจะเขียนทันทีในการพูดตอบตามคาขอร้องของผู้สอน ตัวอย่างเช่น ผู้สอนให้เขียน ตามคาสั่งโดยผู้สอนจะเขียนครึ่งประโยค แล้วให้ผู้เรียนเติมให้สมบูรณ์และถูกต้อง ตัวอย่างเช่น “ My favorite relative is ……….” หรือ “I will never forget the time I ………” จากนั้นผู้สอนให้ผู้เรียนเขียนสองประโยคซึ่งเกี่ยวกับหัวข้อในตอนนี้ ผู้สอนอาจให้คาในประโยค 3 คา แล้วให้ผู้เรียนเติมลงในประโยคอย่างรวดเร็วถ้าเป็นไปได้ 2. การใช้ดนตรีและรูปภาพ ดนตรีและรูปภาพเป็นกิจกรรมอย่างหนึ่งที่กระตุ้นที่ดี มาก ไม่ว่าจะเป็นทั้งการเขียนและการพูด ตัวอย่างเช่น ผู้สอนสามารถเล่นท่อนจังหวะของเพลง และ ให้ผู้เรียนเรียนจินตนาการ จากนั้นให้ผู้เรียนเขียนฉากภาพยนตร์ที่คิดว่าเป็นการเล่นดนตรีคลอ (ขั้นนี้สามารถทาเสร็จได้หลังจากที่ผู้เรียนดูแบบตามบทภาพยนตร์แล้ว) ผู้สอนสามารถเขียนประโยค แรกจากเนื้อเรื่อง จากนั้นให้ผู้เรียนเติมเนื้อเรื่องให้สมบูรณ์ (ทั้งนี้มาจากเพลงที่ผู้สอนเปิด) จากนั้นให้ ผู้เรียนเขียนประโยคแรกอีกครั้ง แล้วให้ผู้เรียนเขียนเรื่องราวที่แตกต่างกัน (เพราะว่าดนตรีที่ได้ยินจะ แตกต่างกันมาก) จากนั้นให้ผู้เรียนอ่านเรื่องราวทั้งหมด แล้วให้เพื่อทายว่าเพลงที่ได้ยินสร้าง
  • 17. 22 แรงบันดาลใจอย่างไร รูปภาพสื่อถึงความเป็นไปได้อย่างมากผู้สอนอาจให้ผู้เรียนเขียนถึงการพรรณนา รูปภาพต่อหนึ่งกลุ่มจากนั้นให้เพื่อนในห้องเดาว่าเป็นรูปไหน โดยผู้เรียนสามารถเขียนไปรษณียบัตรจาก สิ่งที่ผู้สอนได้ให้ผู้เรียนก่อนหน้านี้แล้ว จากนั้นผู้สอนอาจให้ผู้เรียนดูรูปคนและเขียนโดยใช้ความรู้สึก ภายในของตนเองเกี่ยวกับลักษณะ หรือเขียนในสมุดบันทึกประจาวันของผู้เรียน ซึงกิจกรรมทั้งหมดนี้ ่ ได้ออกแบบให้ผู้เรียนได้เขียนอย่างอิสระในแนวเดียวกัน 3. หนังสือพิมพ์และนิตยสาร เป็นลักษณะที่มีเนื้อหาแตกต่างกันที่สามารถค้นพบใน หนังสือพิมพ์และนิตยสาร เป็นแนวทางที่เป็นไปได้สาหรับการวิเคราะห์จาแนกประเภท ตามมาด้วย การเขียนโดยมีการจาแนก ตัวอย่างเช่น ผู้สอนอาจให้ผู้เรียนดูบทความที่แตกต่างกัน แล้วให้ผู้เรียน วิเคราะห์พาดหัวข่าว ตีความ และสรุปบทความทั้งหมด จากนั้นให้ผู้เรียนเขียนบทความเกี่ยวกับความ จริงหรือจินตนาการในข่าวที่ผู้เรียนสนใจ สาหรับระดับที่สูงสุด ครูสามารถให้ผู้เรียนดูเนื้อเรื่องเดียวกัน จานวนมาก โดยเป็นรูปแบบลักษณะการประกาศในที่ที่แตกต่างกัน และให้ผู้เรียนเลือกเขียน รายละเอียดหนึ่งเรื่องหรือเรื่องอื่นๆ ผู้สอนสามารถทาในลักษณะการวิเคราะห์จาแนกแบบเดียวกันใน หนังสือพิมพ์ ตัวอย่างเช่น ผู้สอนสามารถยืนยันในกรอบของการวิเคราะห์และผู้เรียนจะสามารถเรียนรู้ ได้อย่างมากมายจากการวิเคราะห์ประเภท และสามารถทาตามได้ในลักษณะเดียวกัน 4. หนังสือเล่มเล็กและหนังสือแนะนา ผู้สอนสามารถให้ผู้เรียนดูหนังสือเล่มเล็กที่ หลากหลาย ตัวอย่างเช่น บ้านเมือง บันเทิง เพื่อนามาสู่การวิเคราะห์ ผู้เรียนสามารถเขียนหนังสือ เล่มเล็กของตนหรือหนังสือแนะนาบ้านเมือง โดยใช้การวิเคราะห์นี้ช่วยผู้เรียน ผู้เรียนอาจจะสนุกกับ การเขียนหนังสือเล่มเล็กและหนังสือแนะนาสาหรับการออกแบบส่วนตัวของเขา 5. กวีนิพนธ์ ผู้สอนหลายคนชอบให้ผู้เรียนเขียนบทกวี เพราะว่าอาจจะทาให้ผู้เรียน ประทับใจในตัวเอง อีกทั้งยังมีการคิดวิเคราะห์บทกวีอีกด้วย แต่ผู้สอนควรจะให้รูปแบบแก่ผู้เรียนเพื่อ ช่วยในการเขียน ผู้สอนอาจให้ผู้เรียนเขียนโคลงกระทู้ ซึ่งจะทาให้ผู้เรียนได้ฝึกเขียนตัวอักษรของบทกวี หรือผู้สอนอาจให้กรอบที่เป็นประโยคหรือรูปแบบในการเขียน เพื่อให้ผู้เรียนสามารถทาตามได้ การเขียนบทกวีเป็นลักษณะที่จัดไว้เฉพาะสาหรับผู้เรียนซึ่งค่อนข้างจะเก่งและผู้เรียนระดับสูง 6. การเขียนแบบร่วมมือ ผู้เรียนจะได้รับการผูกเรื่องจากหนังสือมากมาย ตัวอย่างเช่น ผู้สอนให้ผู้เรียนสร้างคาบนกระดาน โดยที่แต่ละแถวถูกเขียนขึ้นโดยผู้เรียนคนละคน และผู้สอนสามารถให้ผู้เรียนนั่งเป็นวงกลม โดยแต่ละกลุ่มจะมีกระดาษหนึ่งแผ่น โดยคนแรกเขียนแถว แรกแล้วส่งกระดาษไปให้คนถัดไป คนต่อมาเขียนอีกหนึ่งประโยคจนถึงคนสุดท้าย จากนั้นให้ทุกคน ร่วมกันเขียนเรื่องราวทั้งหมด นอกจากนี้ผู้เรียนสามารถเขียนบนจอคอมพิวเตอร์ได้อีกด้วย 7. การเขียนถึงเพื่อนในชั้นเรียนรายบุคคล การสัมภาษณ์ทางจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ เป็นอีกหนึ่งตัวอย่างในการเขียนถึงเพื่อนในชั้นเรียนรายบุคคล ผู้เรียนสามารถเขียนจดหมาย อิเล็กทรอนิกส์ หรือข้อความสั้นต่างๆมาเป็นคาตอบได้ ในการทากิจกรรมนี้ผู้เรียนควรอยู่ภายใต้ การดูแลของผู้สอน เช่น ในการสนทนาผ่านอินเตอร์เน็ต เป็นต้น 8. การเขียนในรูปแบบต่างๆ การเขียนมีรูปแบบมากมายหลากหลาย ผู้สอนอาจจะ ให้ผู้เรียนเขียนพรรณนารายบุคคลและเรื่องราวอื่นๆ ผู้สอนอาจเตรียมการเขียนที่ผู้เรียนคนอื่นๆได้เขียน ผ่านมาแล้วให้กับผู้เรียน หรือใช้เป็นแนวทางในการเขียน ผู้สอนสามารถวิเคราะห์บทแรกของนวนิยาย จากนั้นให้ผู้เรียนเขียนในภาษาของตนเอง ผู้สอนอาจให้ผู้เรียนเขียนเรื่องราวให้สมบูรณ์ สาหรับ
  • 18. 23 กิจกรรมที่หลากหลายอาจให้ผู้เรียนคิดร่วมกันก่อนที่จะทาภาระงาน การระดมความคิดก็เป็นอีกปัจจัย หนึ่งที่จะทาให้เกิดความประสบผลสาเร็จในการเขียนของผู้เรียน ฮาร์มเมอร์ (Harmer. 2012 : 128 - 133) กล่าวว่าการเรียนการสอนการเขียน ควรมีการกระตุ้นการเขียนโดยการใช้กิจกรรม ผู้เรียนหลายคนไม่สนุกกับการเขียนเป็นอย่างมาก และภาระงานที่หนักทาให้เขาไม่สะดวกสบายและไม่กระตือรือร้นกับมัน ดังนั้นกิจกรรมที่ใช้ในการเรียน การสอนควรเป็นสิ่งที่น่าสนใจ และกระตุ้นการเรียนรู้โดยกิจกรรมการเขียนที่สามารถกระตุ้นการเขียน มีดังต่อไปนี้ 1. การเขียนร่วมกันของผู้เรียน มีกิจกรรมมากมายที่ก่อให้เกิดการร่วมมือกันในการ เขียนดังนี้ - ผู้สอนให้ผู้เรียนเขียนประโยคส่งต่อนักเรียนอีกคน โดยการพับกระดาษและส่งไป ยังผู้เรียนคนถัดไปโดยที่ไม่สามารถมองเห็นว่าคนที่เขียนก่อนหน้านี้เขียนอะไร ตัวอย่างเช่น ผู้เรียนA เขียนในช่องแรก (เช่น Peter) แล้วพับกระดาษชิ้นนั้นส่งไปยังผู้เรียน B ซึ่งผู้เรียน B เขียนว่า Sally. จากนั้นกระดาษก็ส่งต่อไปยังผู้เรียน C โดยผู้เรียน C เขียนสถานที่ที่พวกเขาพบกัน ตัวอย่างเช่น at the swimming pool จากนั้นกระดาษก็ส่งไปที่ผู้เรียนคนถัดไปเพื่อเขียนเรื่องราว ต่อไป เมื่อกิจกรรมนี้สิ้นสุด กระดาษจะเปิดออก แล้วผู้เรียนทุกคนจะเห็นทั้งหมด - ผู้เรียนนั่งเป็นวงกลม และแต่ละคนจะมีกระดาษว่าง จากนั้นเราจะบอกให้เขียน ตามประโยค เช่น When he opened his eyes that morning, he did not know where he was. จากนั้นผู้สอนจะถามว่าเขียนประโยคถัดไปที่อยู่ในเรื่องราว เมือผู้เรียนได้เขียน ่ ประโยคแล้วจะส่งต่อไปยังผู้เรียนคนถัดไป ผู้เรียนแต่ละคนจะเขียนประโยคเรื่องราวที่อยู่ข้างหน้าพวก เขา สาหรับแต่ละประโยคที่เขียนขึ้นใหม่ก็จะส่งต่อไปยังผู้เรียนคนถัดไปอีกครั้ง เมื่อกระดาษถูกส่งไป ด้านหลังจนครบจึงให้เขียนสรุปเรื่องราวทั้งหมด - ผู้เรียนทางานเป็นกลุ่ม จากนั้นผู้สอนจะให้ประโยคโต้แย้ง เช่น Everyone likes football. จากนั้นก็ช่วยกันเขียนประโยคที่ถูกต้องที่ทุกคนในกลุ่มเห็นด้วย - ผู้สอนให้ผู้เรียนเขียนจดหมายอิเล็กทรอนิกส์ถึงผู้อื่น ถ้าผู้เรียนไม่สามารถเข้าถึง คอมพิวเตอร์ได้ ผู้สอนจะให้แผ่นกระดาษที่เป็นหน้าต่างของการเขียนจดหมายอิเล็กทรอนิกส์แทน - ผู้สอนรับข้อมูลจากผู้เรียน โดยให้ผู้เรียนใช้โทรศัพท์มือถือ ในการจัดเตรียมการ การประชุม - ผู้เรียนใช้เรื่องราว WIKI ที่สมบูรณ์โดยผู้เรียนแต่ละคนจะเติมประโยคใน เรื่องราวต้นฉบับ (อาจจะให้แต่ละคนใช้สีที่แตกต่างกัน) ผู้เรียนสามารถทากิจกรรมนี้บนกระดานได้อีก ด้วย (อาจเป็นกลุ่มก็ได้) ผู้เรียนแต่ละคนเขียนเรื่องราวทีละประโยคจนเสร็จ - ผู้เรียนแต่งเรื่องราวโดยใช้สื่อสังคมออนไลน์ เช่น TWITTER ซึ่งผู้เรียนแน่ใจใน การใช้ตัวอักษรในแต่ละครั้ง - ผู้สอนให้ผู้เรียนยืนเป็นคนแรกและคนสุดท้าย ในกลุ่มจะต้องเขียนว่า อะไรมา อยู่ระหว่างประโยคของผู้เรียน - ผู้เรียนวิ่งเขียนตามคาบอกหรือตะโกนแล้วเขียนตามคาบอก 2. การใช้รูปภาพเพื่อช่วยกระตุ้นความสามารถทางการเขียน ดังตัวอย่างกิจกรรม ต่อไปนี้