SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 3
                                      ลูกหนี้และสิ นค้ าคงเหลือ


          ในการดาเนิ นธุ รกิ จ กิ จการย่อมต้องการให้มีรายได้จากการขายสิ นค้าหรื อบริ การเกิ ดขึ้นเป็ น
จานวนมาก จึงพยายามหาวิธีการต่างๆ มาใช้เพื่อเพิ่มยอดขายสิ นค้าหรื อบริ การให้สูงขึ้น เช่ น การจัด
รายการส่ งเสริ มการขาย การโฆษณาชวนเชื่ อ การเสนอให้บริ การหลังการขาย รวมถึงการขายสิ นค้า
หรื อให้บริ ก ารในรู ปเงิ นเชื่ อ นอกเหนื อจากการขายเงิ นสด ซึ่ งจากการขายสิ นค้าหรื อให้บริ ก ารเป็ น
เงินเชื่อ ผูขายจะยอมให้ผซ้ื อค้างชาระเงินค่าสิ นค้าหรื อบริ การในช่วงระยะเวลาหนึ่ ง ผูซ้ื อจะมีฐานะเป็ น
            ้              ู้                                                             ้
ลูกหนี้การค้า และถือเป็ นสิ นทรัพย์ของผูขาย ซึ่ งต้องนาเงินมาชาระให้ผขายภายในระยะเวลาที่กาหนด
                                           ้                              ู้
ส่ วนผูขายจะมีฐานะเป็ นเจ้าหนี้ การค้าของผูซ้ื อซึ่ งจะคาดหวังว่าเมื่อครบกาหนดจะได้รับชาระค่าสิ นค้า
        ้                                    ้
หรื อบริ การคืนเต็มตามจานวน แต่ในทางปฏิบติจริ งเมื่อครบกาหนด อาจจะมีลูกหนี้ การค้าบางรายไม่
                                                ั
สามารถเก็บเงิ นได้ จึงต้องตัดเป็ นหนี้ สูญ ฉะนั้นในบทนี้ จึงเป็ นเรื่ องเกี่ ยวกับลูกหนี้ การประมาณหนี้
สงสัยจะสู ญ การตัดหนี้สูญ และหนี้สูญได้รับคืน

ความหมายของลูกหนี้
         มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 เรื่ องหนี้ สงสัยจะสู ญและหนี้ สูญ ของสมาคมบัญชี และผูสอบ        ้
บัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย (2531 ,หน้า 4)ได้กาหนดค่านิยามศัพท์โดยเฉพาะไว้ดงนี้          ั
         ลูกหนี้ เป็ นสิ ทธิ เรี ยกร้องของเจ้าหนี้ ในการที่จะให้ลูกหนี้ ชาระหนี้ ดวยเงินสด หรื อสิ นทรัพย์
                                                                                  ้
อย่างอื่นแล้วแต่จะตกลงกันโดยเจ้าหนี้คาดหมายว่าจะได้รับชาระหนี้เต็มตามจานวนเมื่อถึงกาหนดชาระ
         จากข้อความดังกล่าวจะเห็นว่า ลูกหนี้ เป็ นสิ นทรัพย์อย่างหนึ่ งของกิจการ การแสดงมูลค่าของ
ลูกหนี้ในงบดุลจะต้องเป็ นยอดสุ ทธิ ซึ่ งหมายถึง จานวนเงินที่คาดว่าจะเก็บเงินได้

ประเภทของลูกหนี้
       ลูกหนี้สามารถจัดประเภทได้ 2 ประเภท คือ
                                                                                              ่
       1. ลูกหนี้การค้า หมายถึง ลูกหนี้ ที่เกิดจากการดาเนิ นการค้าตามปกติของกิจการ ไม่วาจะเป็ น
การขายสิ นค้าหรื อให้บริ การเป็ นเงินเชื่อ ซึ่ งจะมีชื่อบัญชีแตกต่างกันไปตามประเภทของธุ รกิจ เช่น
86




               ธุ รกิจธนาคารพาณิ ชย์ หมายถึง บัญชี ระหว่างธนาคารที่มีดอกเบี้ย เงินให้สินเชื่ อและดอก
เบี้ยค้างรับ
            กิจการประกันภัย หมายถึง บัญชี เบี้ยประกันภัยค้างรับ เงินค้างรับเกี่ยวกับการประกันภัย
ต่อและเงินให้กยมู้ ื
            ลู กหนี้ ก ารค้า เมื่ อเกิ ดขึ้ น จะบันทึ กบัญชี โดย เดบิ ต บัญชี ลู กหนี้ ก ารค้า และจะแสดง
รายการเป็ นสิ นทรัพย์หมุนเวียนในงบดุล เนื่ องจากคาดว่าจะสามารถเก็บเงินได้ภายในรอบระยะเวลา
การดาเนินงานตามปกติของกิจการ

         2. ลูกหนี้อื่น หมายถึง ลูกหนี้ที่ไม่ได้เกิดจากการดาเนินการค้าตามปกติของกิจการ เช่น
                                 ้
            ลูกหนี้ และเงิ นให้กูยืมแก่กรรมการและลูกจ้าง เพื่อเป็ นสวัสดิ การแก่กรรมการและลูกจ้าง
โดยอาจมีการคิดดอกเบี้ยในอัตราต่ากว่าที่อื่น
             เงินให้กูยืมแก่บริ ษทในเครื อและบริ ษทร่ วม เพื่อเป็ นการช่วยเหลือระหว่างกันภายในกลุ่ม
                       ้           ั                 ั
ของบริ ษทั
             รายได้อื่นค้างรับ กิ จการอาจมีรายได้อื่นนอกจากการดาเนิ นการค้าปกติ เช่ น ดอกเบี้ยรับ
เงินปั นผลรับ และถ้ายังไม่ได้รับเงิน ให้บนทึกไว้ในบัญชีรายได้คางรับ
                                          ั                       ้
             ลูกหนี้ อื่น จะแสดงรายการเป็ นสิ นทรัพย์หมุนเวียน ถ้าอายุของหนี้ ไม่เกิ นรอบระยะเวลา
การดาเนินงานตามปกติของกิจการหรื อภายในหนึ่งปี แต่ถาอายุหนี้เกินกว่านั้นจะจัดเป็ นสิ นทรัพย์อื่น ๆ
                                                          ้

หนีสูญ และหนีสงสั ยจะสู ญ
   ้            ้
        มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 เรื่ องหนี้สงสัยจะสู ญและหนี้สูญของสมาคมนักบัญชีและผูสอบ       ้
บัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย (2531, หน้า 4)ได้ให้ความหมายโดยเฉพาะไว้ดงต่อไปนี้    ั
        หนี้ สูญ หมายถึง ลูกหนี้ ที่ได้ติดตามทวงถามจนถึงที่สุดแล้ว แต่ไม่ได้รับชาระหนี้ และได้ตด    ั
จาหน่ายออกจากบัญชี
        หนี้ สงสั ยจะสู ญ หมายถึ ง ลู กหนี้ ที่คาดว่าจะเรี ยกเก็บไม่ไ ด้ และถื อเป็ นค่าใช้จ่ายของรอบ
ระยะเวลาบัญชีน้ น ั
                                                          ั
        ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ หมายถึง จานวนเงิ นที่กนไว้สาหรับลูกหนี้ ท่ีคาดว่าจะเรี ยกเก็บไม่ได้
และถือเป็ นบัญชีปรับมูลค่าที่ต้ งขึ้น เพื่อแสดงเป็ นรายการหักจากบัญชีลูกหนี้ ในงบการเงินเพื่อให้
                                ั
คงเหลือ เป็ นมูลค่าสุ ทธิ ของลูกหนี้ที่คาดหมายว่าจะเก็บได้ไว้
87




           ในสภาพความเป็ นจริ งทางธุ รกิจ แม้ลูกหนี้โดยส่ วนใหญ่ จะชาระหนี้ เมื่อถึงกาหนด หรื อตามที่
คาดหมาย แต่ ก็มีกรณี ที่ลูกหนี้ บางรายไม่ช าระหนี้ แม้ว่า กิ จการจะส่ ง ใบแจ้ง หนี้ ไปทวงหนี้ หรื อส่ ง
เจ้าหน้าที่ฝ่ายสิ นเชื่ อออกไปเก็บหนี้ ซ้ าแล้วซ้ าอีก ซึ่ งได้ทวงถามจนถึ งที่สุดแล้วกิจการก็ยงไม่สามารถ ั
                                                         ่
เก็บหนี้ จากลูกหนี้ รายนี้ ได้จึงเรี ยกลูกหนี้ รายนี้ วา หนี้ สูญ และให้ทาการตัดออกจากบัญชี โดยบันทึก
บัญชี เดบิตบัญชีหนี้สูญ เครดิตบัญชีลูกหนี้ ซึ่ งบัญชีหนี้สูญ จะรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในงวดบัญชี
           ในทางปฏิ บติกิจการจะไม่สามารถระบุได้แน่ ชดว่าลูกหนี้ รายใดจะไม่ชาระหนี้ จนกว่าจะถึ ง
                         ั                                        ั
กาหนดชาระหรื อได้มีการทวงถามจนถึงที่สุดแล้ว จึงไม่สามารถตัดลูกหนี้ ออกจากบัญชี ได้ ทาให้มูลค่า
ของลูกหนี้ที่แสดงในงบการเงินมีจานวนสู งกว่าความเป็ นจริ ง ดังนั้นจึงต้องมีการประมาณจานวนหนี้ ท่ี
คาดว่าจะเรี ยกเก็บไม่ได้จากลู กหนี้ ข้ ึ นจานวนหนึ่ ง เรี ยกว่า หนี้ สงสัยจะสู ญ ซึ่ งกิ จการแต่ละแห่ งจะ
ประมาณหนี้ สงสัยจะสู ญจากยอดขายหรื อยอดลูกหนี้ ก็ได้ โดยใช้ขอมูลที่ผ่านมาจากประสบการณ์ ใน
                                                                              ้
อดี ต สภาวการณ์ เ ศรษฐกิ จ ในปั จ จุ บ ัน และแนวโน้ ม ในอนาคต โดยบัน ทึ ก บัญ ชี เดบิ ต บัญ ชี
หนี้ สงสัยจะสู ญ เครดิ ตบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ ซึ่ งบัญชี หนี้ สงสัยจะสู ญจะรั บรู ้ เป็ นค่าใช้จ่ายที่
เกิ ดขึ้ นในงวดบัญ ชี ส่ ว นบัญ ชี ค่ า เผื่ อหนี้ ส งสั ย จะสู ญ มี ล ัก ษณะเป็ นบัญชี ป รั บ มู ล ค่ า น าไปหัก ลด
บัญชีลูกหนี้ เพื่อให้แสดงมูลค่าสุ ทธิ ที่ใกล้เคียงกับมูลค่าตามความเป็ นจริ ง

การบันทึกลูกหนีทเี่ ก็บเงินไม่ ได้
                   ้
         การบันทึกลูกหนี้ที่เก็บเงินไม่ได้ มีวธีปฏิบติ โดยทัวไป 2 วิธี คือ
                                              ิ      ั      ่
         1. วิธีตดจาหน่ายโดยตรง วิธีน้ ีจะบันทึกรายการลูกหนี้ ที่เก็บเงินไม่ได้ เป็ นหนี้ สูญ เมื่อกิจการ
                 ั
ได้ติดตามทวงถามจนถึ ง ที่ สุ ดแล้ว ไม่ ส ามารถเก็ บ เงิ นจากลู กหนี้ ได้ ซึ่ งบัญชี หนี้ สู ญ เป็ นค่ า ใช้จ่า ย
แสดงรายการในงบกาไรขาดทุน ภายใต้หัวข้อค่าใช้จ่ายในการบริ หาร จะบันทึกรายการ ณ วันที่ทราบ
แน่นอนว่าเก็บเงินไม่ได้ โดยบันทึกรายการบัญชี ดังนี้
                     เดบิต บัญชีหนี้สูญ                                          XX
                           เครดิต บัญชีลูกหนี้                                             XX
         ในทางปฏิบติ วิธีตดจาหน่ายโดยตรง เป็ นวิธีที่ง่ายและสะดวก แต่มีขอบกพร่ องที่ไม่เป็ นไปตาม
                        ั    ั                                                 ้
หลักทฤษฎีว่าด้วยการเปรี ยบเทียบค่าใช้จ่ายกับรายได้ของรอบระยะเวลาบัญชี ซึ่ งตามปกติค่าใช้จ่ายที่
เกิดขึ้นจากการเก็บเงินจากลูกหนี้ไม่ได้ มักจะไม่บนทึกรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีเดียวกัน
                                                   ั
กับรอบระยะเวลาที่มีรายได้จากการขายเชื่ อเกิ ดขึ้นเนื่ องจากกิ จการต้องใช้เวลานานพอสมควรในการ
ติดตามทวงหนี้ จนเกิดความแน่ใจว่าไม่สามารถเก็บเงินจากลูกหนี้ ได้ จึงทาการตัดลูกหนี้ ออกจากบัญชี
88




เป็ นหนี้สูญ ทาให้ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากหนี้สูญเลยรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดรายได้ไปแล้ว เป็ นผลทาให้
กิจการมีกาไรสุ ทธิ สูงไปในงวดที่มีการขายเกิดขึ้น และมีกาไรสุ ทธิ ต่าไปในงวดที่มีหนี้ สูญเกิดขึ้น อีกทั้ง
มูลค่าของลูกหนี้ที่แสดงในงบดุล ไม่ได้แสดงมูลค่าที่คาดว่าจะเก็บเงินจากลูกหนี้ ได้จริ ง รวมถึงอาจจะมี
การบิดเบือนจานวนหนี้ สูญที่รับรู ้ เป็ นค่าใช้จ่ายในงวดบัญชี ใดบัญชี หนึ่ งให้เป็ นไปตามความต้องการ
ของผูบริ หาร วิธีน้ ีจึงเป็ นวิธีที่ไม่ยอมรับ เว้นแต่ลูกหนี้ที่คาดว่าจะเก็บเงินไม่ได้มีจานวนที่ไม่มีนยสาคัญ
      ้                                                                                              ั

                       ่
ตัวอย่างที่ 1 สมมติวา เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2547 กิจการมีลูกหนี้ รายหนึ่ งซึ่ งได้ทาการทวงถามจน
เกิดความแน่ใจว่า ไม่สามารถเก็บเงินจากลูกหนี้ได้ จานวน 3,000 บาท กิจการจะบันทึกบัญชี โดย
 2547
 มี.ค. 10 หนี้สูญ                                                        3,000 -
                   ลูกหนี้                                                              3,000 -
             บันทึกลูกหนี้ที่เก็บเงินไม่ได้ จานวน 3,000 บาท

บัญชีหนี้สูญ จะแสดงรายการในงบกาไรขาดทุน ดังนี้
                                   งบกาไรขาดทุน
          :                                                                         บาท
ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร
          :
          หนี้สูญ                                                                   3,000

         2. วิธี ต้ งค่ า เผื่อ วิธี น้ ี ณ วันสิ้ นปี จะท าการประมาณจานวนหนี้ ที่ ค าดว่า จะเก็ บไม่ ไ ด้ โดย
                    ั
คานวณจากยอดขาย หรื อยอดลูกหนี้ และบันทึกบัญชีรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายทันที โดยบันทึกบัญชี ดังนี้
                      เดบิต บัญชีหนี้สงสัยจะสู ญ                                             XX
                                เครดิต บัญชีค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ
                                                       ่                                              XX
         บัญชี หนี้ สงสั ยจะสู ญ เป็ นบัญชี ค่าใช้จ่าย จะแสดงรายการในงบกาไรขาดทุ น ภายใต้หัวข้อ
ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ส่ วนบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ เป็ นบัญชี ปรับมูลค่าของลูกหนี้ โดยนาไปหัก
จากบัญ ชี ลู ก หนี้ เพื่ อ แสดงมู ล ค่ า ลู ก หนี้ สุ ท ธิ ที่ ค าดว่า จะเก็ บ ได้จ ริ ง ในงบดุ ล การแสดงรายการใน
งบการเงิน จะเป็ นดังนี้
89




                                            งบกาไรขาดทุน
ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร
          :
          หนี้สูญ                                                             XX
          หนี้สงสัยจะสู ญ                                                     XX

                                                 งบดุล
สิ นทรัพย์หมุนเวียน
         :
ลูกหนี้                                                     XX
หัก ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ
          ่                                                 (XX)              XX

         วิธีต้ งค่าเผื่อ เป็ นวิธีที่ถูกต้องตามหลักการบัญชี วาด้วยการเปรี ยบเทียบค่าใช้จ่ายกับรายได้ของ
                ั                                             ่
รอบระยะเวลาบัญชี เนื่องจากการประมาณหนี้สงสัยจะสู ญ จะรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายในงวดบัญชี เดียวกันกับ
ที่มีรายได้จากการขายเกิดขึ้น และบัญชีลูกหนี้ ณ วันสิ้ นปี ที่แสดงในงบดุล จะเป็ นมูลค่าที่คาดว่าจะเก็บ
                               ่
เงินจากลูกหนี้ได้จริ ง แม้วาวิธีน้ ีจะต้องประมาณจานวนหนี้สงสัยจะสู ญขึ้นก็ตาม การประมาณอาจจะทา
                                    ่
ได้โดยอาศัยประสบการณ์ที่ผานมาในอดีตสภาพของตลาดในปั จจุบน และการวิเคราะห์ยอดลูกหนี้ คาง
                                                                       ั                              ้
ชาระ

                    ่
ตัวอย่างที่ 2 สมมติวา ในปี 2547 ซึ่ งเป็ นปี แรกของการดาเนิ นงาน บริ ษท แสนสุ ข จากัด มียอดขายเชื่ อ
                                                                      ั
400,000 บาท มียอดลูกหนี้ ณ วันสิ้ นปี 130,000 บาท บริ ษท ประมาณว่ามีหนี้ สงสัยจะสู ญ 1% ของ
                                                            ั
ยอดขายเชื่อ กิจการจะมีการบันทึกบัญชี ณ วันสิ้ นปี โดย

 2547
 ธ.ค. 31     หนี้สงสัยจะสู ญ                                                    4,000 -
                    ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ
                          ่                                                                  4,000 -
             บันทึ ก รายการประมาณหนี้ ส งสั ย จะสู ญ 1 % ของ
             ยอดขายเชื่อ
90




         การแสดงรายการในงบการเงิน
                                               งบกาไรขาดทุน
                                                                                       บาท
ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร
          :
หนี้สูญ                                                                               XX
หนี้สงสัยจะสู ญ                                                                      4,000

                                                    งบดุล
สิ นทรัพย์หมุนเวียน
         :
ลูกหนี้                                                         130,000
หัก ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ
          ่                                                      (4,000)           126,000



วิธีการประมาณหนีสงสั ยจะสู ญ
                    ้
          การประมาณหนี้ สงสัยจะสู ญจะต้องอาศัยประสบการณ์ ในอดี ตที่ผานมา สภาพของตลาดใน่
ปั จจุบน การวิเคราะห์อายุของลูกหนี้ รวมไปถึงการพยากรณ์สภาวการณ์ของเศรษฐกิจ และเงื่อนไขหรื อ
       ั
ข้อจากัดที่คาดว่าจะเกิ ดขึ้นในอนาคต เนื่ องจากนี้ สงสัยจะสู ญมีลกษณะเป็ นผลเสี ยหายที่อาจจะเกิ ดขึ้น
                                                                             ั
และค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญทาให้ทรัพย์สินมีมูลค่าลดลง กิ จการจึงมีความต้องการให้จานวนหนี้ สงสัย
จะสู ญ ใกล้เคียงกับความเป็ นจริ งมากที่สุด ซึ่ งวิธีการประมาณหนี้สงสัยจะสู ญที่นิยมใช้มี 2 วิธี คือ
          1. คานวณเป็ นร้อยละของยอดขาย วิธีน้ ี กิจการจะประมาณหนี้ สงสัยจะสู ญ โดยวิเคราะห์จาก
ประสบการณ์ที่ผานมาเกี่ยวกับจานวนลูกหนี้ที่เก็บไม่ได้ เทียบกับยอดขาย ดังนี้
                  ่
              1.1 คานวณเป็ นร้อยละของยอดขายรวมโดยถือว่าการขายเป็ นรายการที่ก่อให้เกิดลูกหนี้
                                         ั
และอัตราส่ วนของการขายสัมพันธ์กบจานวนหนี้ ที่เก็บไม่ได้ ซึ่ งมักจะนาไปใช้ในกรณี ที่ยอดขายสด มี
อัตรา ส่ วนค่อนข้างคงที่ เมื่อเทียบกับยอดขายทั้งหมด
              1.2 คานวณเป็ นร้อยละของยอดขายเชื่ อ โดยถื อว่าการขายเชื่ อสัมพันธ์โดยตรงกับลูกหนี้
ส่ ว นการ ขายเงิ น สดไม่ ไ ด้ก่ อ ให้ เ กิ ด ลู ก หนี้ แต่ อ ย่า งใด ซึ่ งมัก จะน าไปใช้ใ นกรณี ท่ี ย อดขายสดมี
91




อัต ราส่ ว นไม่ ค งที่ เมื่ อ เที ย บกับ ยอดขายทั้ง หมด เนื่ อ งจากการมองว่า จานวนค่ า ใช้จ่า ยหนี้ สู ญ ไม่
เกี่ยวข้องกับการขายเงินสด จึงประมาณหนี้สงสัยจะสู ญโดยคิดเป็ นร้อยละของยอดขายเชื่อ
                                                                        ั
          ในการคานวณหายอดหนี้สงสัยจะสู ญ โดยใช้ความสัมพันธ์กบยอดขาย ให้นาอัตราร้อยละของ
ลูกหนี้ ที่คาดว่าเก็บเงิ นไม่ได้คูณกับยอดขาย ผลลัพธ์ ที่ได้จากการคานวณทั้งจานวนจะเป็ นค่าใช้จ่าย
สาหรับปรับปรุ งหนี้ สงสัยจะสู ญในวันสิ้ นปี โดยไม่ตองคานึ งถึงยอดคงเหลือของบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัย
                                                          ้
จะสู ญที่มีอยูเ่ ดิม

                      ่
ตัวอย่างที่ 3 สมมติวาบริ ษท แสนสบาย จากัด มียอดขายทั้งสิ้ นในปี 2547 จานวน 350,000 บาท
                           ั
รับคืนและส่ วนลด 2,000 บาท ยอดลูกหนี้ คงเหลื อ ณ วันสิ้ นปี 136,000 บาท ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ มี
ยอดคงเหลือยกมาด้านเครดิต 1,500 บาท จากประสบการณ์ในอดีต บริ ษทมียอดลูกหนี้ ที่เก็บเงินไม่ได้
                                                                    ั
ประมาณ 2% ของยอดขาย
        การคานวณ : ยอดขายสุ ทธิ = ยอดขาย – รับคืนและส่ วนลด
                                      = 350,000 - 2,000
                                      = 348,000 บาท
        ประมาณหนี้สงสัยจะสู ญ         = อ าร้อยละลูกหนี้ที่คาดว่าเก็บเงินไม่ได้xยอดขายสุ ทธิ
                                      = 2% x 348,000
                                      = 6,960 บาท

        การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้
                                    ่
 2547
 ธ.ค. 31      หนี้สงสัยจะสู ญ                                                     6,960 -
                    ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ
                          ่                                                                     6,960 -
              บันทึกรายการประมาณหนี้ สงสัยจะสู ญ 2%              ของ
              ยอดขายสุ ทธิ
92




         หลังจากผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท
                                    บัญชีหนี้สงสัยจะสู ญ
   2547                                                   2547
   ธ.ค. 31   ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ   /          6,960 - ธ.ค. 31     โอนไปบัญชี กาไรขาดทุน        6,960 -
                                                  6,960 -                                          6,960 -


                                           บัญชีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ
   2547                                                   2547
   ธ.ค. 31   ยอดยกไป                              8,460 - ม.ค. 1      ยอดยกมา                      1,500 -
                                                          ธ.ค. 31     หนี้ สงสัยจะสู ญ             6,960 -
                                                  8,460 -                                          8,460 -
                                                          2548
                                                          ม.ค. 1      ยอดยกมา                      8,460 -



         การแสดงรายการในงบการเงิน
                                                งบกาไรขาดทุน
                                                                                            บาท
ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร
          :
หนี้สงสัยจะสู ญ                                                                            6,960



                                                     งบดุล
                                                                                             บาท
สิ นทรัพย์หมุนเวียน
         :
ลูกหนี้                                                           136,000
หัก ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ
          ่                                                        (8,460)               127,540
93




          ณ วันสิ้ นปี 2547 บัญชี หนี้ สงสัยจะสู ญ จานวน 6,960 บาท ซึ่ งเป็ นค่าใช้จ่ายจะถูกโอนปิ ดเข้า
บัญชีกาไรขาดทุน ส่ วนบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ มียอดคงเหลือยกมาด้านเครดิต จานวน 1,500 บาท
จะถูกปรั บปรุ งเพิ่มยอดจากการประมาณหนี้ สงสัยจะสู ญ 2% ของยอดขายสุ ทธิ 6,960 บาท รวมเป็ น
8,460 บาท เป็ นยอดยกมาในปี 2548 จะสังเกตได้วาการคานวณค่าใช้จ่ายหนี้ สงสัยจะสู ญตามวิธีน้ ี จะไม่
                                                    ่
นายอดคงเหลือในบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ ที่มีอยูเ่ ดิมมาเกี่ยวข้องเนื่ องจากต้องการทราบว่ายอดขาย
ในปี นี้จะมีจานวนหนี้ท่ีคาดว่าจะเก็บเงินไม่ได้จานวนเท่าใด

         2. คานวณเป็ นร้อยละของยอดลูกหนี้ วิธีน้ ีกิจการจะประมาณหนี้สงสัยจะสู ญ โดยการวิเคราะห์
จากประสบการณ์ที่ผานมาเกี่ยวกับจานวนลูกหนี้ที่เก็บเงินไม่ได้ เทียบกับยอดลูกหนี้ท่ีคงค้างอยู่ ดังนี้
                        ่
             2.1 คานวณเป็ นร้ อยละของยอดลูกหนี้ คงเหลือ ณ วันสิ้ นปี โดยถือว่าอัตราหนี้ สงสัยจะ
สู ญ ของลู ก หนี้ ทั้ง หมดคงที่ ซึ่ งจะประมาณอัต ราร้ อ ยละของลู ก หนี้ ที่ ค าดว่ า จะเก็ บ เงิ น ไม่ ไ ด้จ าก
ประสบการณ์ ในอดี ต และการตัดสิ นใจของผูบริ หารตามสถานการณ์ ของเศรษฐกิ จที่เปลี่ ยนแปลงไป
                                              ้
จากนั้นจะคานวณ หายอดหนี้ สงสัยจะสู ญ โดยนาอัตราร้อยละของลูกหนี้ ที่คาดว่าเก็บเงินไม่ได้คูณกับ
ยอดลูกหนี้คงเหลือ ณ วันสิ้ นปี ผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณ คือ ยอดคงเหลือที่ตองการของบัญชี ค่าเผื่อ
                                                                                    ้
หนี้ สงสัยจะสู ญ ที่จะนามาหักจากยอดลูกหนี้ ณ วันสิ้ นปี เพื่อต้องการแสดงมูลค่าลูกหนี้ สุทธิ ที่จะเก็บ
เงินได้ในงบดุล ฉะนั้น จานวนหนี้ สงสัยจะสู ญที่จะบันทึกบัญชี คือ ผลต่างระหว่างจานวนหนี้ สงสัยจะ
สู ญที่คานวณได้ กับยอดคงเหลือในบัญชีคาเผือหนี้สงสัยจะสู ญที่มีอยูเ่ ดิม
                                          ่ ่

ตัวอย่างที่ 4 จากตัวอย่างที่ 3 ถ้าบริ ษทแสนสบาย จากัด มียอดลูกหนี้ ที่เก็บเงินไม่ได้ประมาณ 2%
                                         ั
ของยอดลูกหนี้คงเหลือ ณ วันสิ้ นปี
        การคานวณ ประมาณหนี้สงสัยจะสูญ = อัตราร้อยละลูกหนี้ที่คาดว่าเก็บเงินไม่ได้x ยอดลูกหนี้คงเหลือ ณ วันสิ้นปี
                                                = 2% x 136,000
                                                = 2,720 บาท
                      จานวนหนี้สงสัยจะสู ญที่ตองกันไว้เป็ นค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ ที่จะนามาหักจาก
                                              ้
ยอดลูกหนี้คงเหลือ ณ วันสิ้ นปี ในงบดุล มีจานวน 2,720 บาท แต่เนื่องจากบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญมี
ยอดยกมาด้านเครดิ ต จานวน 1,500 บาท อยู่แล้ว ฉะนั้น ณ วันสิ้ นปี 2547 จึ งต้องตั้งบัญชี ค่าเผื่อหนี้
สงสัยจะสู ญเพิมเป็ นจานวน 2,720 – 1,500 = 1,220 บาท
              ่
        การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้
                                       ่
94




     2547
     ธ.ค. 31           หนี้สงสัยจะสู ญ                                          1,220 -
                               ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ
                                     ่                                                          1,220 -
                       บันทึกรายการค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ
                       2% ของยอดลูกหนี้ คงเหลือ ณ วัน
                       สิ้ นปี (2% 136,000 = 2,720-1,500
                       =1,220 )

        หลังจากผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท
                                   บัญชีหนี้สงสัยจะสู ญ
  2547                                                   2547
  ธ.ค. 31   ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ   /          1,220 - ธ.ค. 31     โอนไปบัญชี กาไรขาดทุน         1,220 -
                                                 1,220 -                                           1,220 -


                                          บัญชีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ
  2547                                                   2547
  ธ.ค. 31   ยอดยกไป                              2,720 - ม.ค. 1      ยอดยกมา                       1,500 -
                                                         ธ.ค. 31     หนี้ สงสัยจะสู ญ              1,220 -
                                                 2,720 -                                           2,720 -
                                                         2548
                                                         ม.ค. 1      ยอกยกมา                       2,720 -



        การแสดงรายการในงบการเงิน
                                               งบกาไรขาดทุน
                                                                                          บาท
ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร
          :
หนี้สงสัยจะสู ญ                                                                         1,220
95




                                                งบดุล
สิ นทรัพย์หมุนเวียน บาท
         :
ลูกหนี้                                                    136,000
หัก ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ
          ่                                                 (2,720)         133,280



           ณ วันสิ้ นปี 2547 บัญชี หนี้ สงสัยจะสู ญ จานวน 1,220 บาท จะโอนปิ ดไปบัญชี กาไรขาดทุ น
ส่ วนบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญมีจานวน 2,720 บาท ซึ่ งจะเท่ากับ 2% ของยอดลูกหนี้ คงเหลือ ณ วัน
สิ้ นปี โดยจะนาไปหักจากยอดลู กหนี้ ในงบดุ ล จานวน 136,000 บาท เพื่อแสดงมูลค่าสุ ท ธิ ของยอด
ลูกหนี้ที่คาดว่าจะเก็บเงินได้ จานวน 133,280 บาท
               2.2 คานวณโดยการจัดกลุ่มลูกหนี้ จาแนกตามอายุของหนี้ ที่คางชาระ วิธีน้ ี จะแบ่งกลุ่ม
                                                                             ้
ลูกหนี้ออกตามอายุของหนี้ที่คางชาระ ซึ่ งลูกหนี้กลุ่มที่มีอายุการค้างชาระหนี้ นานมีความน่าจะเป็ นที่จะ
                                ้
เก็บเงินไม่ ได้ในอัตราร้อยละที่สูงกว่าลูกหนี้ที่เริ่ มเกิดขึ้นในการคานวณหาจานวนหนี้ สงสัยจะสู ญจะทา
การกาหนดอัตราร้อยละของลูกหนี้ ที่คาดว่าเก็บเงินไม่ได้แต่ละกลุ่มตามอายุของหนี้ ท่ีคาง เช่น ลูกหนี้ ที่
                                                                                       ้
ยังไม่ครบกาหนด ลูกหนี้ที่คางไม่เกิน 30 วัน , 60 วัน, 90 วัน และลูกหนี้ ที่คางเกิน 90 วันขึ้นไป จากนั้น
                              ้                                            ้
ให้นาอัตราร้อยละที่กาหนดดังกล่าว มาคูณยอดลูกหนี้ ที่คางชาระในแต่ละกลุ่ม รวมยอดจะได้จานวน
                                                                ้
หนี้ สงสัยจะสู ญ ซึ่ งในการนาไปบันทึกบัญชี จะใช้หลักการเช่ นเดียวกับวิธีคานวณเป็ นร้อยละของยอด
ลูกหนี้ สิ้นปี คือ ต้องนาบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญมาพิจารณาด้วย โดยจานวนหนี้ สงสัยจะสู ญที่จะ
บันทึกบัญชี คือ ผลต่างระหว่างจานวนหนี้ สงสัยจะสู ญที่คานวณได้กบยอดคงเหลื อในบัญชี ค่าเผื่อหนี้
                                                                        ั
สงสัยจะสู ญที่มีอยูเ่ ดิม

                        ่
ตัวอย่างที่ 5 สมมติวา ณ วันสิ้ นปี 2547 บริ ษท แสนดี จากัด มียอดลูกหนี้ คงเหลือ จานวน 500,000
                                                ั
                                                                                  ่
บาท และค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญมียอดคงเหลือยกมาด้านเครดิต 3,500 บาท ในอดีตที่ผานมาพบว่าอัตรา
             ่
ร้อยละของลูกหนี้ที่คาดว่าเก็บเงินไม่ได้แต่ละกลุ่มตามอายุของหนี้ท่ีคาง เป็ นดังนี้
                                                                   ้
96




                                                อัตราร้อยละของลูกหนี้
                อายุของหนี้                                                     ยอดลูกหนี้คางชาระ
                                                                                           ้
                                                ที่คาดว่าจะเก็บเงินไม่ได้
    ยังไม่ครบกาหนด                                         1%                        280,000
    ค้างชาระเกินกาหนด 1-30 วัน                             2%                        120,000
    ค้างชาระเกินกาหนด 31-60 วัน                            3%                        50,000
    ค้างชาระเกินกาหนด 61-90 วัน                            7%                        30,000
    ค้างชาระเกินกาหนดมากกว่า 90 วัน                       10%                        20,000
    รวม                                                                              500,000


การคานวณจานวนหนี้สงสัยจะสู ญ
                                      อัตราร้อยละของลูกหนี้        ยอดลูกหนี้
             อายุของหนี้                                                        จานวนหนี้สงสัยจะสูญ
                                      ที่คาดว่าจะเก็บเงินไม่ได้     ค้างชาระ
  ยังไม่ครบกาหนด                                 1%                 280,000           2,800
  ค้างชาระเกินกาหนด 1-30 วัน                     2%                 120,000           2,400
  ค้างชาระเกินกาหนด 31-60 วัน                    3%                   50,000          1,500
  ค้างชาระเกินกาหนด 61-90 วัน                    7%                  30,.000          2,100
  ค้างชาระเกินกาหนด มากกว่า 90 วัน              10%                   20,000          2,000
                 รวม                                                500,000           10,800
          จานวนหนี้ สงสัยจะสู ญที่ ตองกันไว้เป็ นค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ ที่ จะนามาหักจากยอดลู กหนี้
                                            ้
คงเหลือ ณ วันสิ้ นปี ในงบดุล มีจานวน 10,800 บาท แต่เนื่ องจากบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญมียอดยก
มาด้านเครดิต จานวน 3,500 บาทอยูแล้ว ฉะนั้น ณ วันสิ้ นปี 2547 จึงต้องตั้งบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ
                                          ่
เพิ่มเป็ นจานวน 10,800 – 3,500 = 7,300 บาท
          การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้่
       2547
       ธ.ค. 31       หนี้สงสัยจะสู ญ                                     7,300 -
                            ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ
                                   ่                                                    7,300 -
                     บัน ทึ ก ค่ า เผื่ อ หนี้ สงสั ย จะสู ญ จาก
                     อัตราร้ อยละของลู กหนี้ ที่คาดว่าเก็บ
                     เงิ นไม่ได้แต่ละกลุ่มตามอายุของหนี้
                     ที่คาง (10,800 – 3,500 = 7,300)
                          ้
97




หลังจากผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท
                                 บัญชีหนี้สงสัยจะสู ญ
   2547                                               2547
   ธ.ค. 31   ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ          7,300 - ธ.ค. 31     โอนไปบัญชี กาไรขาดทุน      7,300 -
                                              7,300 -                                        7,300 -



                                       บัญชีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ
   2547                                               2547
   ธ.ค. 31   ยอดยกไป                         10,800 - ม.ค. 1      ยอดยกมา                     3,500 -
                                                      ธ.ค. 31     หนี้ สงสัยจะสู ญ            7,300 -
                                             10,800 -                                        10,800 -
                                                      2548
                                                      ม.ค. 1      ยอกยกมา                    10,800 -



การแสดงรายการในงบการเงิน
                                            งบกาไรขาดทุน
                                                                                       บาท
ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร
          :
หนี้สงสัยจะสู ญ                                                                      7,300

                                                 งบดุล
สิ นทรัพย์หมุนเวียน บาท
         :
ลูกหนี้                                                      500,000
หัก ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ
          ่                                                 (10,800)     489,200
         ณ วันสิ้ นปี 2547 บัญชี หนี้ สงสัยจะสู ญ จานวน 7,300 บาท จะโอนปิ ดไปบัญชี กาไรขาดทุ น
ส่ วนบัญชี ค่ า เผื่อหนี้ สงสั ย จะสู ญ จะมี ย อดยกไป จานวน 10,800 บาท โดยเท่ า กับ จานวนที่ กิ จการ
98




ต้องการนาไปหักจากยอดลูกหนี้ ในงบดุล จานวน 500,000 บาท เพื่อแสดงมูลค่าสุ ทธิ ของยอดลูกหนี้ ที่
คาดว่าจะเก็บเงินได้จานวน 489,200 บาท

ค่ าเผือหนีสงสั ยจะสู ญเกินความต้ องการ
       ่ ้
         ในกรณี ที่ ค านวณหนี้ ส งสั ย จะสู ญเป็ นร้ อยละของยอดลู ก หนี้ บางครั้ งอาจจะพบว่า จานวน
หนี้ สงสัยจะสู ญที่คานวณได้มีจานวนน้อยกว่ายอดคงเหลื อในบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ ซึ่ งอาจจะมี
สาเหตุมาจาก ยอดลูกหนี้คงเหลือ ณ วันสิ้ นปี มีจานวนลดน้อยลงเมื่อเทียบกับรอบระยะเวลาบัญชี ปีก่อน
จึงทาให้จานวนหนี้ สงสัยจะสู ญที่คานวณได้จึงน้อยลงด้วยหรื ออาจจะได้รับชาระเงิ นคืนจากลูกหนี้ ที่
คาดว่าจะสู ญ ซึ่ งเป็ นจานวนมาก เมื่อเทียบกับจานวนหนี้ สงสัยจะสู ญทั้งหมด ดังนั้น จึงควรปรับปรุ ง
จานวนค่าเผือหนี้ สงสัยจะสู ญให้คงเหลือเท่ากับ จานวนที่ประมาณได้เพราะมิฉะนั้นแล้วจะทาให้มูลค่า
            ่
ของลู กหนี้ แสดงไว้ต่ าไป โดยการบันทึ กบัญชี ลดยอดบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญด้วยจานวนที่ เกิ น
จานวนหนี้สงสัยจะสู ญที่คานวณได้ ดังนี้

                    เดบิต บัญชีค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ
                                        ่                                         XX
                          เครดิต บัญชีหนี้สงสัยจะสู ญ                                    XX
          บัญชีหนี้สงสัยจะสู ญ ซึ่ งเป็ นบัญชีค่าใช้จ่ายที่มียอดเครดิต ให้แสดงเป็ นรายการหักจากบัญชี
ค่าใช้จ่ายในงบกาไรขาดทุน ดังนี้
                                               งบกาไรขาดทุน
          ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร
              :                                                                         :
              :                                                                       XX
          หนี้สงสัยจะสู ญ                                                           (XX)

ตัวอย่างที่ 6 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 บริ ษท แสนสะอาด จากัด มียอดลูกหนี้ คงเหลื อ จานวน
                                                  ั
600,000 บาท และค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญมียอดคงเหลือยกมาด้านเครดิต 7,200 บาท บริ ษทประมาณหนี้
                      ่                                                           ั
สงสัยจะสู ญ เป็ น 1% ของยอดลูกหนี้คงเหลือ ณ วันสิ้ นปี
        การคานวณ ประมาณหนี้สงสัยจะสู ญ = 1% x 600,000 = 6,000 บาท
                    เนื่องจากค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญมียอดคงเหลือยกมาด้านเครดิต 7,200 บาท
                                   ่
99




                  ดังนั้น จะต้องบันทึกรายการปรั บปรุ ง โดยลดจานวนค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญด้วย
จานวนที่เกิ น จานวนหนี้ สงสัยจะสู ญที่ คานวณได้ เท่ากับ 7,200 – 6,000 = 1,200 บาท ซึ่ งบันทึก
บัญชี ดังนี้
     2547
     ธ.ค. 31      ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ
                        ่                                         1,200 -
                          หนี้สงสัยจะสู ญ                                       1,200 -
                  ปรั บ ปรุ ง ลดยอดค่ า เผื่อหนี้ ส งสั ย จะ
                  สู ญด้ ว ยจ านวนที่ เ กิ น จ านวนหนี้
                  สงสัยจะสู ญที่คานวณไว้

หลังจากผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท
                                 บัญชีหนี้สงสัยจะสู ญ
  2547                                            2547
  ธ.ค. 31   โอนไปบัญชีกาไรขาดทุน          1,200 - ธ.ค. 31      ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ         1,200 -
                                          1,200 -                                               1,200 -


                                   บัญชีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ
  2547                                            2547
  ธ.ค. 31   หนี้สงสัยจะสูญ                1,200 - ม.ค. 1       ยอดยกมา                          7,200 -
            ยอดยกไป                       6,000
                                          7,200 -                                               7,200 -
                                                  2548
                                                  ม.ค. 1       ยอดยกมา                          6,000 -


การแสดงรายการในงบการเงิน
                                                                                          บาท
                                        งบกาไรขาดทุน
        :
        :                                                       XX
หนี้สงสัยจะสู ญ                                             (1,200)                       XX
100




                                                งบดุล
                                                                                 บาท
สิ นทรัพย์หมุนเวียน
         :
         :
ลูกหนี้                                                    600,000
หัก ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ
          ่                                                 (6,000)         594,000

           ณ วันสิ้ นปี 2547 บัญชี หนี้ สงสัยจะสู ญ จานวน 1,200 บาท จะโอนปิ ดไปบัญชี กาไรขาดทุ น
โดยแสดงเป็ นรายการหักค่าใช้จ่าย ส่ วนบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ จะมียอดยกไป จานวน 6,000 บาท
ซึ่ งจะเท่ากับจานวนที่กิจการต้องการนาไปหัก จากยอดลูกหนี้ ในงบดุล จานวน 600,000 บาท เพื่อแสดง
มูลค่าสุ ทธิ ของยอดลูกหนี้ที่คาดว่าจะเก็บเงินได้ จานวน 594,000 บาท

การตัดจาหน่ ายหนีสูญ้
           การบันทึกบัญชีเมื่อเกิดหนี้สูญ จะแยกพิจารณาเป็ น 2 กรณี ดังนี้
           1. ในกรณี ที่การตัดจาหน่ายลูกหนี้เป็ นหนี้สูญ สามารถตัดเป็ นค่าใช้จ่ายได้ตามกฎหมายภาษีอา
กร ซึ่ งกิจการได้ติดตามทวงถามลูกหนี้ ที่คางชาระจนถึงที่สุดแล้ว แต่ลูกหนี้ ก็ยงไม่ชาระหนี้ และกิจการ
                                            ้                                   ั
ได้มีการดาเนิ นการตามเงื่ อนไขที่กาหนดในกฎหมายภาษีอากรแล้ว ให้กิจการตัดจาหน่ ายลูกหนี้ เป็ น
หนี้ สูญ โดย เดบิตบัญชี หนี้ สูญ และเครดิต บัญชี ลูกหนี้ และในขณะเดี ยวกันก็ให้ลดจานวนค่าเผื่อหนี้
สงสัยจะสู ญด้วย จานวนเดียวกัน รายการที่บนทึกบัญชี คือ
                                              ั
                  เดบิต บัญชีหนี้สูญ                                  XX
                           เครดิต บัญชีลูกหนี้                                 XX
                  เดบิต บัญชีค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ
                                      ่                               XX
                           เครดิต บัญชีหนี้สงสัยจะสู ญ                         XX

                                                                                ่
      2. ในกรณี ที่การตัดจาหน่ายลูกหนี้เป็ นหนี้สูญ ไม่สามารถถือเป็ นค่าใช้จายได้ตามกฎหมายภาษี
อากร ซึ่ ง กิ จการต้อ งคาดหมายได้ค่ อนข้า งแน่ นอนว่า จะไม่ ไ ด้รั บ ช าระหนี้ และยัง ตัดจ าหน่ า ยตาม
กฎหมาย ภาษีอากรไม่ได้ ให้กิจการตัดจาหน่ายลูกหนี้เป็ นหนี้สูญ โดยการลดจานวนลูกหนี้และค่าเผือ        ่
101




หนี้สงสัยจะสู ญ ดังนี้
                เดบิต บัญชีค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ
                                 ่                                    XX
                       เครดิต บัญชีลูกหนี้                                     XX

หนีสูญได้ รับคืน
    ้
         ในบางครั้งกิ จการอาจจะได้รับเงิ นคืนจากลูกหนี้ ที่ได้จาหน่ ายเป็ นหนี้ สูญไปแล้ว การบันทึก
                                                                         ่ ั
บัญชีหนี้สูญได้รับคืน จะแยกพิจารณาเป็ น 2 กรณี เช่นเดียวกัน ซึ่ งขึ้นอยูกบว่าเมื่อตัดลูกหนี้ เป็ นหนี้ สูญ
นั้น กิจการได้บนทึกไว้ในกรณี ใด
                ั
         1. ในกรณี ที่การตัดจาหน่ ายบัญชี ลูกหนี้ เป็ นหนี้ สูญเป็ นไปตามเกณฑ์กฎหมายภาษีอากร ให้
บันทึกตั้งลูกหนี้รายที่ตดเป็ นหนี้สูญไปแล้วเป็ นลูกหนี้ ข้ ึนมาใหม่ และเครดิตบัญชี หนี้ สูญได้รับคืน เป็ น
                        ั
รายได้อื่น ถัดจากนั้นให้บนทึกการได้รับเงินคืนจากลูกหนี้ ดังนี้
                            ั
                  เดบิต บัญชีลูกหนี้                                  XX
                           เครดิต บัญชีหนี้สูญได้รับคืน (รายได้อื่น)          XX
                  เดบิต บัญชีเงินสด                                   XX
                           เครดิต บัญชีลูกหนี้                                XX

          2. ในกรณี ที่การจาหน่ ายบัญชี ลูกหนี้ เป็ นหนี้ สูญไม่เป็ นไปตามเกณฑ์กฎหมายภาษีอากร ให้
บันทึกตั้งลูกหนี้ รายที่ตดเป็ นหนี้ สูญไปแล้วเป็ นลูกหนี้ ข้ ึนมาใหม่ และเครดิ ตบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะ
                         ั
สู ญ เป็ นการกลับรายการที่ลงไว้ในตอนตัดจาหน่ายบัญชีลูกหนี้ เป็ นหนี้ สูญ ถัดจากนั้นให้บนทึกรายการ
                                                                                              ั
ได้ รับเงินคืนจากลูกหนี้ ดังนี้
                  เดบิต บัญชีลูกหนี้                                   XX
                           เครดิต บัญชีค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ
                                             ่                                 XX
                  เดบิต บัญชีเงินสด                                    XX
                           เครดิต บัญชีลูกหนี้                                 XX

การแสดงรายการบัญชี ทเี่ กียวข้ องกับลูกหนีในงบการเงิน
                          ่                ้
        การแสดงรายการในงบการเงินจะแสดงบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญเป็ นรายการหักจากลูกหนี้
เพื่อแสดงมูลค่าสุ ทธิ ของยอดลูกหนี้ที่คาดว่าจะเก็บเงินได้ในงบดุล ส่ วนบัญชี หนี้ สูญและบัญชี หนี้ สงสัย
102




จะสู ญที่มียอด เดบิตจะแสดงเป็ นค่าใช้จ่าย แต่ถาบัญชี หนี้ สงสัยจะสู ญที่มียอดด้านเครดิต จะแสดงโดย
                                               ้
ใส่ วงเล็บ เป็ นรายการหักจากค่าใช้จ่ายและบัญชี หนี้ สูญได้รับคืน จะแสดงเป็ นรายได้อื่น ในงบกาไร
ขาดทุน จะแสดงรายการได้ ดังนี้
                                                 งบดุล
                                     ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X1
                                                                                บาท
สิ นทรัพย์หมุนเวียน
         :
ลูกหนี้                                                        XX
หัก ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ
          ่                                                   (XX)              XX

                                           งบกาไรขาดทุน
                              สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 25x1
                                                                                บาท
รายได้อื่น ๆ
          :
หนี้สูญได้รับคืน                                                                XX
ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร
          :
หนี้สูญ                                                                         XX
หนี้สงสัยจะสู ญ                                                                 XX

ตัวอย่างที่ 7 บริ ษท แสนเย็น จากัด ขายสิ นค้าเป็ นเงิ นเชื่ อในปี 2546 จานวน 500,000 บาท ในปี
                    ั
2547 จานวน 600,000 บาท บริ ษทประมาณหนี้ สงสัยจะสู ญ 1% ของยอดขายเชื่อ ในวันที่ 1 มิถุนายน
                               ั
2547 บริ ษท ตัดจาหน่ายลูกหนี้นายวินยเป็ นหนี้สูญ จานวน 2,000 บาท ซึ่ งหนี้ สูญรายนี้ จาหน่ายเป็ นหนี้
            ั                       ั
สู ญได้ตามกฎหมายภาษีอากรและในวันที่ 1 สิ งหาคม 2547 ตัดจาหน่ ายลูกหนี้ นางสมใจเป็ นหนี้ สูญ
จานวน 1,500 บาท โดยที่หนี้ สูญรายนี้ ไม่สามารถจาหน่ายเป็ นหนี้ สูญได้ตามกฎหมายภาษีอากร ต่อมา
ในวันที่ 1 กันยายน 2547 ลู กหนี้ นายวินย ที่ กิจการตัดเป็ นหนี้ สูญทางภาษีไปแล้ว นาเงิ นมาชาระให้
                                        ั
103




บริ ษท จานวน 800 บาท และในวันที่ 1 ตุลาคม 2547 ลูกหนี้ นางสมใจที่กิจการตัดเป็ นหนี้ สูญทางบัญชี
      ั
นาเงินมาชาระให้บริ ษท 1,000 บาท บริ ษทลูกหนี้ คงเหลื อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 จานวน 380,000
                         ั                   ั
บาท
        การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้
                                           ่
 2546
 ธ.ค. 31 หนี้สงสัยจะสู ญ                                                5,000 -
                     ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ
                           ่                                                           5,000 -
           บัน ทึ ก รายการประมาณหนี้ สงสั ย จะสู ญ 1% ของ
           ยอดขายเชื่อ (1% x 500,000 = 5,000 )
 2547
 มิ.ย. 1 หนี้สูญ                                                        2,000 -
                     ลูกหนี้ – นายวินย  ั                                              2,000 -
           ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ
                 ่                                                      2,000 -
                     หนี้สงสัยจะสู ญ                                                   2,000 -
           จาหน่ายลูกหนี้นายวินยที่สามารถตัดจาหน่ายลูกหนี้
                                      ั
           เป็ นหนี้สูญได้ตามกฎหมายภาษีอากร
 ส.ค. 1 ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ
                   ่                                                    1,500 -
                     ลูกหนี้ – นางสมใจ                                                 1,500 -
           ตั ด จ าหน่ า ยลู ก หนี้ นางสมใจ เป็ นหนี้ สู ญที่ ไ ม่
           สามารถถื อเป็ นค่าใช้จ่ายได้ตามกฎหมายภาษีอากร
           (ตัดหนี้สูญทางบัญชี)
 ก.ย. 1 ลูกหนี้ – นายวินย       ั                                         800 -
                     หนี้สูญได้รับคืน                                                    800 -
           เงินสด                                                         800 -
                     ลูกหนี้-นายวินยั                                                    800 -
           บันทึกหนี้ สูญได้รับคืนจากลู กหนี้ นายวินัยที่ ได้ตด ั
           จาหน่ ายไปแล้วตามกฎหมายภาษี อากร และได้รับ
           เงินชาระหนี้ในวันนี้
104




2547
ต.ค. 1     ลูกหนี้ – นางสมใจ                                          1,500 -
                  ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ
                        ่                                                              1,500 -
           เงินสด                                                     1,500 -
                  ลูกหนี้-นางสมใจ                                                      1,500 -
           บันทึ ก หนี้ สู ญ ได้รับ คื นจากลู ก หนี้ นางสมใจที่ ต ัด
           จาหน่ายเป็ นหนี้สูญที่ไม่สามารถถือเป็ นค่าใช้จ่ายได้
           ตามกฎหมายภาษีอากร (ตัดหนี้สูญทางบัญชี)
 ธ.ค. 31 หนี้สงสัยจะสู ญ                                              6,000 -
                  ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ
                          ่                                                            6,000 -
           บันทึ ก รายการประมาณหนี้ ส งสั ยจะสู ญ 1% ของ
           ยอดขายเชื่อ (1% x 600,000 = 6,000)
หลังจากผ่านรายการไปบัญชี แยกประเภทของบัญชี หนี้ สูญ หนี้ สงสัยจะสู ญ และค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ
ในปี 2547 ดังนี้
                                                บัญชีหนี้สูญ
  2547                                           2547
  มิ.ย. 1   ลูกหนี้-นายวินย
                          ั              2,000 - ธ.ค. 31     โอนไปบัญชี กาไรขาดทุน     2,000 -
                                         2,000 -                                       2,000 -


                                      บัญชีหนี้สงสัยจะสู ญ
  2547                                           2547
  ธ.ค. 31   ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ      6,000 - มิ.ย. 1     ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ   2,000 -
                                                 ธ.ค. 31     โอนไปบัญชี กาไรขาดทุน     4,000 -
                                         6,000 -                                       6,000 -
105




                                      บัญชีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ
   2547                                              2547
   มิ.ย. 1   หนี้สงสัยจะสูญ                  2,000 - ม.ค. 1      ยอดยกมา                     5,000   -
   ส.ค. 1    ลูกหนี้ -นางสมใจ                1,500   ต.ค. 1      ลูกหนี้- นางสมใจ            1,500   -
   ธ.ค. 31   ยอดยกไป                         9,000 - ธ.ค. 31     หนี้ สงสัยจะสู ญ            6,000   -
                                            12,500 -                                        12,500   -
                                                     2548
                                                     ม.ค. 1      ยอดยกมา                     9,000 -


การแสดงรายการในงบการเงิน ปี 2547 ดังนี้
                                                 งบดุล
                                      ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547
                                                                                      บาท
สิ นทรัพย์หมุนเวียน
         :
ลูกหนี้                                                      380,000
หัก ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ
          ่                                                   (9,000)           371,000




                                             งบกาไรขาดทุน
                                สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2547
                                                                                      บาท
ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร
          :
หนี้สูญ                                                                             2,000
หนี้สงสัยจะสู ญ                                                                     4,000

       กิจการที่ประกอบธุ รกิจซื้ อขายสิ นค้า ซึ่ งมีรายได้จากการขายสิ นค้าเป็ นหลัก จะมีการซื้ อสิ นค้า
มาเก็บไว้ให้เพียงพอสาหรับการขาย ในการสั่งซื้ อสิ นค้าเข้ามาเก็บไว้มากๆ อาจจะมีขอดีตรงที่ทาให้การ
                                                                                   ้
106




ขายสิ น ค้า มี ค วามคล่ อ งตัว แต่ อ าจจะใช้เ งิ น ทุ น มากในการซื้ อ สิ น ค้า นั้น มาเก็ บ ไว้ และยัง ต้องเสี ย
ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสิ นค้า รวมถึงความเสี่ ยงต่อการที่สินค้าล้าสมัย หรื อหมดอายุ ด้วยเหตุน้ ี กิจการ
จึงต้องมีการบริ หารจัดการสิ นค้าคงเหลื อของกิ จการให้อยู่ในปริ มาณที่เหมาะสมต่อการนาไปขายใน
แต่ละรอบระยะเวลาบัญชี กิ จการต้องทาการสั่งซื้ อสิ นค้าเข้ามาขายหลายครั้ง และราคาทุนที่ซ้ื อแต่ละ
ครั้งอาจไม่เท่ากัน เมื่อนาสิ นค้าออกขายจึงเกิดปั ญหาขึ้นว่า ในระหว่างงวดบัญชี ได้นาสิ นค้าจากการซื้ อ
ครั้งใดออกขาย และในวันสิ้ นงวดบัญชี สินค้าคงเหลื อนี้ จะเป็ นสิ นค้าที่ซ้ื อเมื่ อใด และราคาทุ นเท่าใด
ดังนั้นการตี ราคาสิ นค้าคงเหลื อ รวมถึ งวิธีการคานวณมูลค่าสิ นค้าคงเหลื อ จึงต้องเป็ นเรื่ องที่ ตองให้   ้
ความส าคัญ เนื่ องจากสิ นค้าคงเหลื อเป็ นรายการสิ นทรั พ ย์หมุ นเวียนที่ มี มู ลค่ า เป็ นจานวนมาก เมื่ อ
เปรี ยบเทียบกับรายการสิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่นๆ

ความหมายของสิ นค้ าคงเหลือ
           มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 เรื่ องสิ นค้าคงเหลื อ ของสมาคมนักบัญชี และผูสอบบัญชี รับ  ้
อนุญาตแห่งประเทศไทย (2540, หน้า 2)ได้กาหนดคานิยมศัพท์โดยเฉพาะ ไว้ดงนี้                ั
           สิ นค้าคงเหลือ หมายถึง ทรัพย์สินซึ่ง
           (ก) มีไว้เพื่อขายตามลักษณะการประกอบธุ รกิจโดยปกติ หรื อ
                   ่
           (ข) อยูในระหว่างกระบวนการผลิตเพื่อให้เป็ นสิ นค้าสาเร็ จรู ปเพื่อขาย หรื อ
           (ค) มีไว้เพื่อใช้ในการผลิตสิ นค้าหรื อให้บริ การสิ นค้าคงเหลือ ประกอบด้วย
           1. สิ นค้าที่ซ้ื อและถือไว้เพื่อขาย ตัวอย่างเช่น สิ นค้าที่ผขายปลีกซื้ อไว้เพื่อขาย หรื อที่ดิน และ
                                                                             ู้
สิ นทรัพย์อื่น ที่ซ้ื อไว้เพื่อขาย
           2. สิ นค้าสาเร็ จรู ป งานระหว่างทา รวมทั้งวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต
                                                            ั
           3. ต้นทุนงานให้บริ การ ในส่ วนที่สัมพันธ์กบรายได้ที่ยงไม่รับรู ้ของกิจการที่ให้บริ การ
                                                                           ั
           จากความหมายดัง กล่ า วข้า งต้น การแสดงรายการบัญชี สิ นค้า คงเหลื อโดยทัวไป จะถู ก จัด
                                                                                               ่
ประเภทไว้ดงนี้ ั
           1. สิ นค้าสาเร็ จรู ป เป็ นสิ นค้าที่ผลิตสาเร็ จแล้วพร้อมที่จะนาออกจาหน่ายได้
           2. สิ นค้าระหว่างทา เป็ นสิ นค้าที่ ผลิ ตยังไม่เสร็ จ กาลังอยู่ในระหว่างการผลิ ตให้เป็ นสิ นค้า
สาเร็ จรู ป ยังไม่พร้อมที่จะนาออกจาหน่าย
           3. วัตถุดิบ เป็ นสิ่ งที่มีไว้ใช้ในการผลิตสิ นค้า ซึ่ งเป็ นส่ วนประกอบที่สาคัญของสิ นค้าสาเร็ จรู ป
107




          4. วัสดุการผลิต เป็ นวัสดุที่ใช้ประกอบในการผลิตสิ นค้า ซึ่ งไม่ใช่ส่วนประกอบที่สาคัญของ
สิ นค้าสาเร็ จรู ป
          ธุ รกิจซื้ อมาขายไป สิ นค้าคงเหลือจะมีเพียงรายการเดียว คือ สิ นค้าสาเร็ จรู ป โดยมีตนทุนของ
                                                                                              ้
สิ นค้าประกอบด้วย ราคาซื้ อ อากรขาเข้า และภาษีอื่น รวมทั้งค่าขนส่ ง ค่าขนถ่าย และค่าใช้จ่ายอื่น ซึ่ ง
เกี่ยวข้องโดยตรงกับการซื้ อเพื่อให้สินค้านั้นอยูในสภาพพร้อมที่จะขายได้
                                                ่
          ธุ รกิจผูผลิต สิ นค้าคงเหลือประกอบด้วย สิ นค้าสาเร็ จรู ป สิ นค้าระหว่างทา วัตถุดิบ และวัสดุ
                     ้
การผลิตโดยมีตนทุนของสิ นค้าประกอบด้วย ต้นทุนทั้งหมดในการซื้ อวัตถุดิบ ได้แก่ ราคาซื้ อ อากรขา
                   ้
เข้า และภาษีอื่น รวมทั้งค่าขนส่ ง ค่าขนถ่ายและค่าใช้จ่ายอื่นๆ ซึ่ งเกี่ ยวข้องโดยตรงกับการซื้ อวัตถุ ดิบ
ต้นทุนในการแปลงสภาพได้แก่ ค่าแรงงานทางตรงและค่าใช้จ่ายในการผลิตทั้งส่ วนที่คงที่และผันแปร
รวมถึงค่าใช้จ่ายอื่นๆ ซึ่ งเกี่ยวข้องโดยตรงกับการผลิตเพื่อให้สินค้านั้นอยูในสภาพพร้อมที่จะขายได้
                                                                          ่
          ธุ รกิ จบริ การ สิ นค้าคงเหลือ อาจแสดงเป็ นงานระหว่างทาก็ได้ เพื่อความสะดวกโดยมีตนทุน   ้
ของงานให้บ ริ ก ารประกอบด้วย ค่า แรงงาน และค่ า ใช้จ่า ยอื่ นที่ เกี่ ย วข้องโดยตรงกับ การให้บริ ก าร
รวมทั้งบุคลากรก็ควบคุ มและดูแล และค่าใช้จ่ายที่เกี่ ยวข้องกับการให้บริ การในส่ วนที่ยงไม่รับรู ้ เป็ น
                                                                                           ั
รายได้

รายการทีนับเป็ นสิ นค้ าคงเหลือ
          ่
         สิ นค้าคงเหลื อเป็ นสิ นทรัพย์หมุนเวียนของกิ จการ ดังนั้นเมื่อทาการตรวจนับจานวนสิ นค้าคง
เหลือในสิ้ นงวดบัญชี กิจการจะพิจารณาที่กรรมสิ ทธิ์ เฉพาะสิ นค้าที่เป็ นของกิจการเท่านั้น ซึ่ งกิจการอาจ
มีสินค้าคงเหลือบางประเภทที่ไม่อยูรวม ณ ที่เดียวกันในกิจการ แต่กรรมสิ ทธิ์ ของสิ นค้าเป็ นของกิจการ
                                        ่
ก็ให้นบรวมเป็ นสิ นค้าคงเหลือของกิจการด้วย เช่น
       ั
         สิ นค้าระหว่างทางที่กิจการซื้ อโดยเงื่อนไข F.O.B Shipping Point ซึ่ งกรรมสิ ทธิ์ ในสิ นค้าโอน
             ้           ้                   ู้            ่          ่
มาเป็ นของผูซ้ื อเมื่อผูขายจัดส่ งสิ นค้าให้ผซ้ื อแล้ว แม้วาสิ นค้าอยูในระหว่างทางขนส่ งยังไม่ถึงมือผูซ้ื อก็
                                                                                                      ้
ให้นบสิ นค้าระหว่างทางเป็ นสิ นค้าคงเหลือของผูซ้ื อ
     ั                                                ้
         สิ นค้าที่กิจการนาไปฝากขายกับบุคคลอีกคนหนึ่ งเรี ยกว่าผูรับฝากขายให้ช่วยขายสิ นค้าให้และ
                                                                        ้
ยังไม่ได้ขาย จึงให้นบสิ นค้าที่นาไปฝากขายนั้นเป็ นสิ นค้าคงเหลือของกิจการที่ฝากขายด้วย
                       ั
         สิ นค้าที่กิจการผลิตแยกพิเศษตามคาสั่งของลูกค้าและยังไม่ได้ส่งมอบให้ลูกค้า แต่ถือว่าเป็ นการ
ขายแล้ว ดังนั้นกิจการผูผลิตไม่ควรนับเป็ นรายการสิ นค้าคงเหลือของกิจการ
                           ้
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ

More Related Content

What's hot

บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชีบทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
Pa'rig Prig
 
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัดเฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
Aor's Sometime
 
บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1Orawonya Wbac
 
การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1Siriya Lekkang
 
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อบทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
Teetut Tresirichod
 
Mbe19 Macro G.6
Mbe19 Macro G.6Mbe19 Macro G.6
Mbe19 Macro G.6
Siraphan Passprasert
 
เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ
เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ
เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ
Aor's Sometime
 
การบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointการบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointOrawonya Wbac
 
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
การบริหารเงินทุนหมุนเวียนการบริหารเงินทุนหมุนเวียน
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
tumetr1
 
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสแผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
Noopatty Sweet
 
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรีเฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
Aor's Sometime
 
ระบบใบสำคัญจ่าย 2
ระบบใบสำคัญจ่าย 2ระบบใบสำคัญจ่าย 2
ระบบใบสำคัญจ่าย 2
มิชิโกะ จังโกะ
 
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุนโครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
tumetr1
 
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุนบทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุนWannisa Chaisingkham
 
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
Teetut Tresirichod
 
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อบทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
Teetut Tresirichod
 
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
Pa'rig Prig
 
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจการเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจsmile-girl
 

What's hot (20)

บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชีบทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
 
Accout
AccoutAccout
Accout
 
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัดเฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
 
บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1
 
การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1
 
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อบทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
บทที่ 4 วิธีปฏิบัติในการจัดซื้อ
 
Mbe19 Macro G.6
Mbe19 Macro G.6Mbe19 Macro G.6
Mbe19 Macro G.6
 
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
 
เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ
เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ
เฉลยบัญชีกลาง2 ห้างหุ้นส่วน ทวีตรีคูณ
 
การบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointการบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power point
 
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
การบริหารเงินทุนหมุนเวียนการบริหารเงินทุนหมุนเวียน
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบสแผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
แผนการจัดการเรียนรู้ค่าpH กับความเป็นกรดเบส
 
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรีเฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
 
ระบบใบสำคัญจ่าย 2
ระบบใบสำคัญจ่าย 2ระบบใบสำคัญจ่าย 2
ระบบใบสำคัญจ่าย 2
 
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุนโครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
 
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุนบทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
 
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้างบทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
บทที่ 6 การวางแผนและงบประมาณการจัดซื้อจัดจ้าง
 
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อบทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
บทที่ 8 การเจรจาต่อรองในการจัดซื้อ
 
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
 
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจการเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
 

Viewers also liked

การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
tumetr1
 
Collection letters (จดหมายทวงหนี้)
Collection letters (จดหมายทวงหนี้)Collection letters (จดหมายทวงหนี้)
Collection letters (จดหมายทวงหนี้)
Aj Muu
 
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียนการบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
tumetr1
 
Credit and collection letters
Credit and collection lettersCredit and collection letters
Credit and collection letters
letisoles
 
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรมCh7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรมple2516
 
งบการเงิน
งบการเงินงบการเงิน
งบการเงินsiriwaan seudee
 
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงินบทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
tumetr1
 
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
tumetr1
 
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับCh2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับple2516
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
มิชิโกะ จังโกะ
 
5
55
5 วิธีเพิ่มค่าแรง เพิ่มรายได้ ไม่ต้องง้อนายจ้าง
5 วิธีเพิ่มค่าแรง เพิ่มรายได้ ไม่ต้องง้อนายจ้าง5 วิธีเพิ่มค่าแรง เพิ่มรายได้ ไม่ต้องง้อนายจ้าง
5 วิธีเพิ่มค่าแรง เพิ่มรายได้ ไม่ต้องง้อนายจ้าง
Leader Wings
 
ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2
มิชิโกะ จังโกะ
 
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชีแบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
วาสนา ทีคะสาย
 
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไปแผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไปNoree Sapsopon
 
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารเรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
Noo Jomkwan Parida
 

Viewers also liked (20)

การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
 
Collection letters (จดหมายทวงหนี้)
Collection letters (จดหมายทวงหนี้)Collection letters (จดหมายทวงหนี้)
Collection letters (จดหมายทวงหนี้)
 
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียนการบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
 
Credit and collection letters
Credit and collection lettersCredit and collection letters
Credit and collection letters
 
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรมCh7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
 
งบการเงิน
งบการเงินงบการเงิน
งบการเงิน
 
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงินบทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
 
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุนการวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
การวิเคราะห์จุดคุ้มทุน
 
013
013013
013
 
023
023023
023
 
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับCh2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
5
55
5
 
5 วิธีเพิ่มค่าแรง เพิ่มรายได้ ไม่ต้องง้อนายจ้าง
5 วิธีเพิ่มค่าแรง เพิ่มรายได้ ไม่ต้องง้อนายจ้าง5 วิธีเพิ่มค่าแรง เพิ่มรายได้ ไม่ต้องง้อนายจ้าง
5 วิธีเพิ่มค่าแรง เพิ่มรายได้ ไม่ต้องง้อนายจ้าง
 
010
010010
010
 
ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2
 
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชีแบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
 
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไปแผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
 
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารเรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
 
รายวิชา
รายวิชารายวิชา
รายวิชา
 

Similar to Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ

หน่วยที่ 3ร่วมค้า
หน่วยที่ 3ร่วมค้าหน่วยที่ 3ร่วมค้า
หน่วยที่ 3ร่วมค้า
มิชิโกะ จังโกะ
 
Ebooksint accsimple
Ebooksint accsimpleEbooksint accsimple
Ebooksint accsimpleRose Banioki
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
drchanidap
 
9789740336327
97897403363279789740336327
9789740336327
CUPress
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
Ku'kab Ratthakiat
 
financial analysis.pptx
financial analysis.pptxfinancial analysis.pptx
financial analysis.pptx
Khonkaen University
 
Read financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hoursRead financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hours
ASpyda Ch
 
Ch3
Ch3Ch3
ความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็คความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็คAttaporn Ninsuwan
 
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนหลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนtelecentreacademy
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
Ooa Worrawalun
 
ดาริน เรนทร
ดาริน  เรนทรดาริน  เรนทร
ดาริน เรนทร
Darin Raintorn
 
บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8praphol
 

Similar to Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ (20)

หน่วยที่ 3ร่วมค้า
หน่วยที่ 3ร่วมค้าหน่วยที่ 3ร่วมค้า
หน่วยที่ 3ร่วมค้า
 
Ebooksint accsimple
Ebooksint accsimpleEbooksint accsimple
Ebooksint accsimple
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
 
9789740336327
97897403363279789740336327
9789740336327
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
 
financial analysis.pptx
financial analysis.pptxfinancial analysis.pptx
financial analysis.pptx
 
General Ledger
General LedgerGeneral Ledger
General Ledger
 
Read financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hoursRead financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hours
 
Ch3
Ch3Ch3
Ch3
 
Unit 1
Unit 1Unit 1
Unit 1
 
Unit 1
Unit 1Unit 1
Unit 1
 
Unit 1
Unit 1Unit 1
Unit 1
 
Unit 1
Unit 1Unit 1
Unit 1
 
ความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็คความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็ค
 
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนหลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
 
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
แนวข้อสอบคอมพิวเตอร์
 
Chap3
Chap3Chap3
Chap3
 
Chap3
Chap3Chap3
Chap3
 
ดาริน เรนทร
ดาริน  เรนทรดาริน  เรนทร
ดาริน เรนทร
 
บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8
 

Recently uploaded

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 

Recently uploaded (9)

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 

Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ

  • 1. บทที่ 3 ลูกหนี้และสิ นค้ าคงเหลือ ในการดาเนิ นธุ รกิ จ กิ จการย่อมต้องการให้มีรายได้จากการขายสิ นค้าหรื อบริ การเกิ ดขึ้นเป็ น จานวนมาก จึงพยายามหาวิธีการต่างๆ มาใช้เพื่อเพิ่มยอดขายสิ นค้าหรื อบริ การให้สูงขึ้น เช่ น การจัด รายการส่ งเสริ มการขาย การโฆษณาชวนเชื่ อ การเสนอให้บริ การหลังการขาย รวมถึงการขายสิ นค้า หรื อให้บริ ก ารในรู ปเงิ นเชื่ อ นอกเหนื อจากการขายเงิ นสด ซึ่ งจากการขายสิ นค้าหรื อให้บริ ก ารเป็ น เงินเชื่อ ผูขายจะยอมให้ผซ้ื อค้างชาระเงินค่าสิ นค้าหรื อบริ การในช่วงระยะเวลาหนึ่ ง ผูซ้ื อจะมีฐานะเป็ น ้ ู้ ้ ลูกหนี้การค้า และถือเป็ นสิ นทรัพย์ของผูขาย ซึ่ งต้องนาเงินมาชาระให้ผขายภายในระยะเวลาที่กาหนด ้ ู้ ส่ วนผูขายจะมีฐานะเป็ นเจ้าหนี้ การค้าของผูซ้ื อซึ่ งจะคาดหวังว่าเมื่อครบกาหนดจะได้รับชาระค่าสิ นค้า ้ ้ หรื อบริ การคืนเต็มตามจานวน แต่ในทางปฏิบติจริ งเมื่อครบกาหนด อาจจะมีลูกหนี้ การค้าบางรายไม่ ั สามารถเก็บเงิ นได้ จึงต้องตัดเป็ นหนี้ สูญ ฉะนั้นในบทนี้ จึงเป็ นเรื่ องเกี่ ยวกับลูกหนี้ การประมาณหนี้ สงสัยจะสู ญ การตัดหนี้สูญ และหนี้สูญได้รับคืน ความหมายของลูกหนี้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 เรื่ องหนี้ สงสัยจะสู ญและหนี้ สูญ ของสมาคมบัญชี และผูสอบ ้ บัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย (2531 ,หน้า 4)ได้กาหนดค่านิยามศัพท์โดยเฉพาะไว้ดงนี้ ั ลูกหนี้ เป็ นสิ ทธิ เรี ยกร้องของเจ้าหนี้ ในการที่จะให้ลูกหนี้ ชาระหนี้ ดวยเงินสด หรื อสิ นทรัพย์ ้ อย่างอื่นแล้วแต่จะตกลงกันโดยเจ้าหนี้คาดหมายว่าจะได้รับชาระหนี้เต็มตามจานวนเมื่อถึงกาหนดชาระ จากข้อความดังกล่าวจะเห็นว่า ลูกหนี้ เป็ นสิ นทรัพย์อย่างหนึ่ งของกิจการ การแสดงมูลค่าของ ลูกหนี้ในงบดุลจะต้องเป็ นยอดสุ ทธิ ซึ่ งหมายถึง จานวนเงินที่คาดว่าจะเก็บเงินได้ ประเภทของลูกหนี้ ลูกหนี้สามารถจัดประเภทได้ 2 ประเภท คือ ่ 1. ลูกหนี้การค้า หมายถึง ลูกหนี้ ที่เกิดจากการดาเนิ นการค้าตามปกติของกิจการ ไม่วาจะเป็ น การขายสิ นค้าหรื อให้บริ การเป็ นเงินเชื่อ ซึ่ งจะมีชื่อบัญชีแตกต่างกันไปตามประเภทของธุ รกิจ เช่น
  • 2. 86 ธุ รกิจธนาคารพาณิ ชย์ หมายถึง บัญชี ระหว่างธนาคารที่มีดอกเบี้ย เงินให้สินเชื่ อและดอก เบี้ยค้างรับ กิจการประกันภัย หมายถึง บัญชี เบี้ยประกันภัยค้างรับ เงินค้างรับเกี่ยวกับการประกันภัย ต่อและเงินให้กยมู้ ื ลู กหนี้ ก ารค้า เมื่ อเกิ ดขึ้ น จะบันทึ กบัญชี โดย เดบิ ต บัญชี ลู กหนี้ ก ารค้า และจะแสดง รายการเป็ นสิ นทรัพย์หมุนเวียนในงบดุล เนื่ องจากคาดว่าจะสามารถเก็บเงินได้ภายในรอบระยะเวลา การดาเนินงานตามปกติของกิจการ 2. ลูกหนี้อื่น หมายถึง ลูกหนี้ที่ไม่ได้เกิดจากการดาเนินการค้าตามปกติของกิจการ เช่น ้ ลูกหนี้ และเงิ นให้กูยืมแก่กรรมการและลูกจ้าง เพื่อเป็ นสวัสดิ การแก่กรรมการและลูกจ้าง โดยอาจมีการคิดดอกเบี้ยในอัตราต่ากว่าที่อื่น เงินให้กูยืมแก่บริ ษทในเครื อและบริ ษทร่ วม เพื่อเป็ นการช่วยเหลือระหว่างกันภายในกลุ่ม ้ ั ั ของบริ ษทั รายได้อื่นค้างรับ กิ จการอาจมีรายได้อื่นนอกจากการดาเนิ นการค้าปกติ เช่ น ดอกเบี้ยรับ เงินปั นผลรับ และถ้ายังไม่ได้รับเงิน ให้บนทึกไว้ในบัญชีรายได้คางรับ ั ้ ลูกหนี้ อื่น จะแสดงรายการเป็ นสิ นทรัพย์หมุนเวียน ถ้าอายุของหนี้ ไม่เกิ นรอบระยะเวลา การดาเนินงานตามปกติของกิจการหรื อภายในหนึ่งปี แต่ถาอายุหนี้เกินกว่านั้นจะจัดเป็ นสิ นทรัพย์อื่น ๆ ้ หนีสูญ และหนีสงสั ยจะสู ญ ้ ้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 11 เรื่ องหนี้สงสัยจะสู ญและหนี้สูญของสมาคมนักบัญชีและผูสอบ ้ บัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย (2531, หน้า 4)ได้ให้ความหมายโดยเฉพาะไว้ดงต่อไปนี้ ั หนี้ สูญ หมายถึง ลูกหนี้ ที่ได้ติดตามทวงถามจนถึงที่สุดแล้ว แต่ไม่ได้รับชาระหนี้ และได้ตด ั จาหน่ายออกจากบัญชี หนี้ สงสั ยจะสู ญ หมายถึ ง ลู กหนี้ ที่คาดว่าจะเรี ยกเก็บไม่ไ ด้ และถื อเป็ นค่าใช้จ่ายของรอบ ระยะเวลาบัญชีน้ น ั ั ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ หมายถึง จานวนเงิ นที่กนไว้สาหรับลูกหนี้ ท่ีคาดว่าจะเรี ยกเก็บไม่ได้ และถือเป็ นบัญชีปรับมูลค่าที่ต้ งขึ้น เพื่อแสดงเป็ นรายการหักจากบัญชีลูกหนี้ ในงบการเงินเพื่อให้ ั คงเหลือ เป็ นมูลค่าสุ ทธิ ของลูกหนี้ที่คาดหมายว่าจะเก็บได้ไว้
  • 3. 87 ในสภาพความเป็ นจริ งทางธุ รกิจ แม้ลูกหนี้โดยส่ วนใหญ่ จะชาระหนี้ เมื่อถึงกาหนด หรื อตามที่ คาดหมาย แต่ ก็มีกรณี ที่ลูกหนี้ บางรายไม่ช าระหนี้ แม้ว่า กิ จการจะส่ ง ใบแจ้ง หนี้ ไปทวงหนี้ หรื อส่ ง เจ้าหน้าที่ฝ่ายสิ นเชื่ อออกไปเก็บหนี้ ซ้ าแล้วซ้ าอีก ซึ่ งได้ทวงถามจนถึ งที่สุดแล้วกิจการก็ยงไม่สามารถ ั ่ เก็บหนี้ จากลูกหนี้ รายนี้ ได้จึงเรี ยกลูกหนี้ รายนี้ วา หนี้ สูญ และให้ทาการตัดออกจากบัญชี โดยบันทึก บัญชี เดบิตบัญชีหนี้สูญ เครดิตบัญชีลูกหนี้ ซึ่ งบัญชีหนี้สูญ จะรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในงวดบัญชี ในทางปฏิ บติกิจการจะไม่สามารถระบุได้แน่ ชดว่าลูกหนี้ รายใดจะไม่ชาระหนี้ จนกว่าจะถึ ง ั ั กาหนดชาระหรื อได้มีการทวงถามจนถึงที่สุดแล้ว จึงไม่สามารถตัดลูกหนี้ ออกจากบัญชี ได้ ทาให้มูลค่า ของลูกหนี้ที่แสดงในงบการเงินมีจานวนสู งกว่าความเป็ นจริ ง ดังนั้นจึงต้องมีการประมาณจานวนหนี้ ท่ี คาดว่าจะเรี ยกเก็บไม่ได้จากลู กหนี้ ข้ ึ นจานวนหนึ่ ง เรี ยกว่า หนี้ สงสัยจะสู ญ ซึ่ งกิ จการแต่ละแห่ งจะ ประมาณหนี้ สงสัยจะสู ญจากยอดขายหรื อยอดลูกหนี้ ก็ได้ โดยใช้ขอมูลที่ผ่านมาจากประสบการณ์ ใน ้ อดี ต สภาวการณ์ เ ศรษฐกิ จ ในปั จ จุ บ ัน และแนวโน้ ม ในอนาคต โดยบัน ทึ ก บัญ ชี เดบิ ต บัญ ชี หนี้ สงสัยจะสู ญ เครดิ ตบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ ซึ่ งบัญชี หนี้ สงสัยจะสู ญจะรั บรู ้ เป็ นค่าใช้จ่ายที่ เกิ ดขึ้ นในงวดบัญ ชี ส่ ว นบัญ ชี ค่ า เผื่ อหนี้ ส งสั ย จะสู ญ มี ล ัก ษณะเป็ นบัญชี ป รั บ มู ล ค่ า น าไปหัก ลด บัญชีลูกหนี้ เพื่อให้แสดงมูลค่าสุ ทธิ ที่ใกล้เคียงกับมูลค่าตามความเป็ นจริ ง การบันทึกลูกหนีทเี่ ก็บเงินไม่ ได้ ้ การบันทึกลูกหนี้ที่เก็บเงินไม่ได้ มีวธีปฏิบติ โดยทัวไป 2 วิธี คือ ิ ั ่ 1. วิธีตดจาหน่ายโดยตรง วิธีน้ ีจะบันทึกรายการลูกหนี้ ที่เก็บเงินไม่ได้ เป็ นหนี้ สูญ เมื่อกิจการ ั ได้ติดตามทวงถามจนถึ ง ที่ สุ ดแล้ว ไม่ ส ามารถเก็ บ เงิ นจากลู กหนี้ ได้ ซึ่ งบัญชี หนี้ สู ญ เป็ นค่ า ใช้จ่า ย แสดงรายการในงบกาไรขาดทุน ภายใต้หัวข้อค่าใช้จ่ายในการบริ หาร จะบันทึกรายการ ณ วันที่ทราบ แน่นอนว่าเก็บเงินไม่ได้ โดยบันทึกรายการบัญชี ดังนี้ เดบิต บัญชีหนี้สูญ XX เครดิต บัญชีลูกหนี้ XX ในทางปฏิบติ วิธีตดจาหน่ายโดยตรง เป็ นวิธีที่ง่ายและสะดวก แต่มีขอบกพร่ องที่ไม่เป็ นไปตาม ั ั ้ หลักทฤษฎีว่าด้วยการเปรี ยบเทียบค่าใช้จ่ายกับรายได้ของรอบระยะเวลาบัญชี ซึ่ งตามปกติค่าใช้จ่ายที่ เกิดขึ้นจากการเก็บเงินจากลูกหนี้ไม่ได้ มักจะไม่บนทึกรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายในรอบระยะเวลาบัญชีเดียวกัน ั กับรอบระยะเวลาที่มีรายได้จากการขายเชื่ อเกิ ดขึ้นเนื่ องจากกิ จการต้องใช้เวลานานพอสมควรในการ ติดตามทวงหนี้ จนเกิดความแน่ใจว่าไม่สามารถเก็บเงินจากลูกหนี้ ได้ จึงทาการตัดลูกหนี้ ออกจากบัญชี
  • 4. 88 เป็ นหนี้สูญ ทาให้ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากหนี้สูญเลยรอบระยะเวลาบัญชีที่เกิดรายได้ไปแล้ว เป็ นผลทาให้ กิจการมีกาไรสุ ทธิ สูงไปในงวดที่มีการขายเกิดขึ้น และมีกาไรสุ ทธิ ต่าไปในงวดที่มีหนี้ สูญเกิดขึ้น อีกทั้ง มูลค่าของลูกหนี้ที่แสดงในงบดุล ไม่ได้แสดงมูลค่าที่คาดว่าจะเก็บเงินจากลูกหนี้ ได้จริ ง รวมถึงอาจจะมี การบิดเบือนจานวนหนี้ สูญที่รับรู ้ เป็ นค่าใช้จ่ายในงวดบัญชี ใดบัญชี หนึ่ งให้เป็ นไปตามความต้องการ ของผูบริ หาร วิธีน้ ีจึงเป็ นวิธีที่ไม่ยอมรับ เว้นแต่ลูกหนี้ที่คาดว่าจะเก็บเงินไม่ได้มีจานวนที่ไม่มีนยสาคัญ ้ ั ่ ตัวอย่างที่ 1 สมมติวา เมื่อวันที่ 10 มีนาคม 2547 กิจการมีลูกหนี้ รายหนึ่ งซึ่ งได้ทาการทวงถามจน เกิดความแน่ใจว่า ไม่สามารถเก็บเงินจากลูกหนี้ได้ จานวน 3,000 บาท กิจการจะบันทึกบัญชี โดย 2547 มี.ค. 10 หนี้สูญ 3,000 - ลูกหนี้ 3,000 - บันทึกลูกหนี้ที่เก็บเงินไม่ได้ จานวน 3,000 บาท บัญชีหนี้สูญ จะแสดงรายการในงบกาไรขาดทุน ดังนี้ งบกาไรขาดทุน : บาท ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร : หนี้สูญ 3,000 2. วิธี ต้ งค่ า เผื่อ วิธี น้ ี ณ วันสิ้ นปี จะท าการประมาณจานวนหนี้ ที่ ค าดว่า จะเก็ บไม่ ไ ด้ โดย ั คานวณจากยอดขาย หรื อยอดลูกหนี้ และบันทึกบัญชีรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายทันที โดยบันทึกบัญชี ดังนี้ เดบิต บัญชีหนี้สงสัยจะสู ญ XX เครดิต บัญชีค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ ่ XX บัญชี หนี้ สงสั ยจะสู ญ เป็ นบัญชี ค่าใช้จ่าย จะแสดงรายการในงบกาไรขาดทุ น ภายใต้หัวข้อ ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร ส่ วนบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ เป็ นบัญชี ปรับมูลค่าของลูกหนี้ โดยนาไปหัก จากบัญ ชี ลู ก หนี้ เพื่ อ แสดงมู ล ค่ า ลู ก หนี้ สุ ท ธิ ที่ ค าดว่า จะเก็ บ ได้จ ริ ง ในงบดุ ล การแสดงรายการใน งบการเงิน จะเป็ นดังนี้
  • 5. 89 งบกาไรขาดทุน ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร : หนี้สูญ XX หนี้สงสัยจะสู ญ XX งบดุล สิ นทรัพย์หมุนเวียน : ลูกหนี้ XX หัก ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ ่ (XX) XX วิธีต้ งค่าเผื่อ เป็ นวิธีที่ถูกต้องตามหลักการบัญชี วาด้วยการเปรี ยบเทียบค่าใช้จ่ายกับรายได้ของ ั ่ รอบระยะเวลาบัญชี เนื่องจากการประมาณหนี้สงสัยจะสู ญ จะรับรู ้เป็ นค่าใช้จ่ายในงวดบัญชี เดียวกันกับ ที่มีรายได้จากการขายเกิดขึ้น และบัญชีลูกหนี้ ณ วันสิ้ นปี ที่แสดงในงบดุล จะเป็ นมูลค่าที่คาดว่าจะเก็บ ่ เงินจากลูกหนี้ได้จริ ง แม้วาวิธีน้ ีจะต้องประมาณจานวนหนี้สงสัยจะสู ญขึ้นก็ตาม การประมาณอาจจะทา ่ ได้โดยอาศัยประสบการณ์ที่ผานมาในอดีตสภาพของตลาดในปั จจุบน และการวิเคราะห์ยอดลูกหนี้ คาง ั ้ ชาระ ่ ตัวอย่างที่ 2 สมมติวา ในปี 2547 ซึ่ งเป็ นปี แรกของการดาเนิ นงาน บริ ษท แสนสุ ข จากัด มียอดขายเชื่ อ ั 400,000 บาท มียอดลูกหนี้ ณ วันสิ้ นปี 130,000 บาท บริ ษท ประมาณว่ามีหนี้ สงสัยจะสู ญ 1% ของ ั ยอดขายเชื่อ กิจการจะมีการบันทึกบัญชี ณ วันสิ้ นปี โดย 2547 ธ.ค. 31 หนี้สงสัยจะสู ญ 4,000 - ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ ่ 4,000 - บันทึ ก รายการประมาณหนี้ ส งสั ย จะสู ญ 1 % ของ ยอดขายเชื่อ
  • 6. 90 การแสดงรายการในงบการเงิน งบกาไรขาดทุน บาท ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร : หนี้สูญ XX หนี้สงสัยจะสู ญ 4,000 งบดุล สิ นทรัพย์หมุนเวียน : ลูกหนี้ 130,000 หัก ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ ่ (4,000) 126,000 วิธีการประมาณหนีสงสั ยจะสู ญ ้ การประมาณหนี้ สงสัยจะสู ญจะต้องอาศัยประสบการณ์ ในอดี ตที่ผานมา สภาพของตลาดใน่ ปั จจุบน การวิเคราะห์อายุของลูกหนี้ รวมไปถึงการพยากรณ์สภาวการณ์ของเศรษฐกิจ และเงื่อนไขหรื อ ั ข้อจากัดที่คาดว่าจะเกิ ดขึ้นในอนาคต เนื่ องจากนี้ สงสัยจะสู ญมีลกษณะเป็ นผลเสี ยหายที่อาจจะเกิ ดขึ้น ั และค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญทาให้ทรัพย์สินมีมูลค่าลดลง กิ จการจึงมีความต้องการให้จานวนหนี้ สงสัย จะสู ญ ใกล้เคียงกับความเป็ นจริ งมากที่สุด ซึ่ งวิธีการประมาณหนี้สงสัยจะสู ญที่นิยมใช้มี 2 วิธี คือ 1. คานวณเป็ นร้อยละของยอดขาย วิธีน้ ี กิจการจะประมาณหนี้ สงสัยจะสู ญ โดยวิเคราะห์จาก ประสบการณ์ที่ผานมาเกี่ยวกับจานวนลูกหนี้ที่เก็บไม่ได้ เทียบกับยอดขาย ดังนี้ ่ 1.1 คานวณเป็ นร้อยละของยอดขายรวมโดยถือว่าการขายเป็ นรายการที่ก่อให้เกิดลูกหนี้ ั และอัตราส่ วนของการขายสัมพันธ์กบจานวนหนี้ ที่เก็บไม่ได้ ซึ่ งมักจะนาไปใช้ในกรณี ที่ยอดขายสด มี อัตรา ส่ วนค่อนข้างคงที่ เมื่อเทียบกับยอดขายทั้งหมด 1.2 คานวณเป็ นร้อยละของยอดขายเชื่ อ โดยถื อว่าการขายเชื่ อสัมพันธ์โดยตรงกับลูกหนี้ ส่ ว นการ ขายเงิ น สดไม่ ไ ด้ก่ อ ให้ เ กิ ด ลู ก หนี้ แต่ อ ย่า งใด ซึ่ งมัก จะน าไปใช้ใ นกรณี ท่ี ย อดขายสดมี
  • 7. 91 อัต ราส่ ว นไม่ ค งที่ เมื่ อ เที ย บกับ ยอดขายทั้ง หมด เนื่ อ งจากการมองว่า จานวนค่ า ใช้จ่า ยหนี้ สู ญ ไม่ เกี่ยวข้องกับการขายเงินสด จึงประมาณหนี้สงสัยจะสู ญโดยคิดเป็ นร้อยละของยอดขายเชื่อ ั ในการคานวณหายอดหนี้สงสัยจะสู ญ โดยใช้ความสัมพันธ์กบยอดขาย ให้นาอัตราร้อยละของ ลูกหนี้ ที่คาดว่าเก็บเงิ นไม่ได้คูณกับยอดขาย ผลลัพธ์ ที่ได้จากการคานวณทั้งจานวนจะเป็ นค่าใช้จ่าย สาหรับปรับปรุ งหนี้ สงสัยจะสู ญในวันสิ้ นปี โดยไม่ตองคานึ งถึงยอดคงเหลือของบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัย ้ จะสู ญที่มีอยูเ่ ดิม ่ ตัวอย่างที่ 3 สมมติวาบริ ษท แสนสบาย จากัด มียอดขายทั้งสิ้ นในปี 2547 จานวน 350,000 บาท ั รับคืนและส่ วนลด 2,000 บาท ยอดลูกหนี้ คงเหลื อ ณ วันสิ้ นปี 136,000 บาท ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ มี ยอดคงเหลือยกมาด้านเครดิต 1,500 บาท จากประสบการณ์ในอดีต บริ ษทมียอดลูกหนี้ ที่เก็บเงินไม่ได้ ั ประมาณ 2% ของยอดขาย การคานวณ : ยอดขายสุ ทธิ = ยอดขาย – รับคืนและส่ วนลด = 350,000 - 2,000 = 348,000 บาท ประมาณหนี้สงสัยจะสู ญ = อ าร้อยละลูกหนี้ที่คาดว่าเก็บเงินไม่ได้xยอดขายสุ ทธิ = 2% x 348,000 = 6,960 บาท การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้ ่ 2547 ธ.ค. 31 หนี้สงสัยจะสู ญ 6,960 - ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ ่ 6,960 - บันทึกรายการประมาณหนี้ สงสัยจะสู ญ 2% ของ ยอดขายสุ ทธิ
  • 8. 92 หลังจากผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท บัญชีหนี้สงสัยจะสู ญ 2547 2547 ธ.ค. 31 ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ / 6,960 - ธ.ค. 31 โอนไปบัญชี กาไรขาดทุน 6,960 - 6,960 - 6,960 - บัญชีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ 2547 2547 ธ.ค. 31 ยอดยกไป 8,460 - ม.ค. 1 ยอดยกมา 1,500 - ธ.ค. 31 หนี้ สงสัยจะสู ญ 6,960 - 8,460 - 8,460 - 2548 ม.ค. 1 ยอดยกมา 8,460 - การแสดงรายการในงบการเงิน งบกาไรขาดทุน บาท ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร : หนี้สงสัยจะสู ญ 6,960 งบดุล บาท สิ นทรัพย์หมุนเวียน : ลูกหนี้ 136,000 หัก ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ ่ (8,460) 127,540
  • 9. 93 ณ วันสิ้ นปี 2547 บัญชี หนี้ สงสัยจะสู ญ จานวน 6,960 บาท ซึ่ งเป็ นค่าใช้จ่ายจะถูกโอนปิ ดเข้า บัญชีกาไรขาดทุน ส่ วนบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ มียอดคงเหลือยกมาด้านเครดิต จานวน 1,500 บาท จะถูกปรั บปรุ งเพิ่มยอดจากการประมาณหนี้ สงสัยจะสู ญ 2% ของยอดขายสุ ทธิ 6,960 บาท รวมเป็ น 8,460 บาท เป็ นยอดยกมาในปี 2548 จะสังเกตได้วาการคานวณค่าใช้จ่ายหนี้ สงสัยจะสู ญตามวิธีน้ ี จะไม่ ่ นายอดคงเหลือในบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ ที่มีอยูเ่ ดิมมาเกี่ยวข้องเนื่ องจากต้องการทราบว่ายอดขาย ในปี นี้จะมีจานวนหนี้ท่ีคาดว่าจะเก็บเงินไม่ได้จานวนเท่าใด 2. คานวณเป็ นร้อยละของยอดลูกหนี้ วิธีน้ ีกิจการจะประมาณหนี้สงสัยจะสู ญ โดยการวิเคราะห์ จากประสบการณ์ที่ผานมาเกี่ยวกับจานวนลูกหนี้ที่เก็บเงินไม่ได้ เทียบกับยอดลูกหนี้ท่ีคงค้างอยู่ ดังนี้ ่ 2.1 คานวณเป็ นร้ อยละของยอดลูกหนี้ คงเหลือ ณ วันสิ้ นปี โดยถือว่าอัตราหนี้ สงสัยจะ สู ญ ของลู ก หนี้ ทั้ง หมดคงที่ ซึ่ งจะประมาณอัต ราร้ อ ยละของลู ก หนี้ ที่ ค าดว่ า จะเก็ บ เงิ น ไม่ ไ ด้จ าก ประสบการณ์ ในอดี ต และการตัดสิ นใจของผูบริ หารตามสถานการณ์ ของเศรษฐกิ จที่เปลี่ ยนแปลงไป ้ จากนั้นจะคานวณ หายอดหนี้ สงสัยจะสู ญ โดยนาอัตราร้อยละของลูกหนี้ ที่คาดว่าเก็บเงินไม่ได้คูณกับ ยอดลูกหนี้คงเหลือ ณ วันสิ้ นปี ผลลัพธ์ที่ได้จากการคานวณ คือ ยอดคงเหลือที่ตองการของบัญชี ค่าเผื่อ ้ หนี้ สงสัยจะสู ญ ที่จะนามาหักจากยอดลูกหนี้ ณ วันสิ้ นปี เพื่อต้องการแสดงมูลค่าลูกหนี้ สุทธิ ที่จะเก็บ เงินได้ในงบดุล ฉะนั้น จานวนหนี้ สงสัยจะสู ญที่จะบันทึกบัญชี คือ ผลต่างระหว่างจานวนหนี้ สงสัยจะ สู ญที่คานวณได้ กับยอดคงเหลือในบัญชีคาเผือหนี้สงสัยจะสู ญที่มีอยูเ่ ดิม ่ ่ ตัวอย่างที่ 4 จากตัวอย่างที่ 3 ถ้าบริ ษทแสนสบาย จากัด มียอดลูกหนี้ ที่เก็บเงินไม่ได้ประมาณ 2% ั ของยอดลูกหนี้คงเหลือ ณ วันสิ้ นปี การคานวณ ประมาณหนี้สงสัยจะสูญ = อัตราร้อยละลูกหนี้ที่คาดว่าเก็บเงินไม่ได้x ยอดลูกหนี้คงเหลือ ณ วันสิ้นปี = 2% x 136,000 = 2,720 บาท จานวนหนี้สงสัยจะสู ญที่ตองกันไว้เป็ นค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ ที่จะนามาหักจาก ้ ยอดลูกหนี้คงเหลือ ณ วันสิ้ นปี ในงบดุล มีจานวน 2,720 บาท แต่เนื่องจากบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญมี ยอดยกมาด้านเครดิ ต จานวน 1,500 บาท อยู่แล้ว ฉะนั้น ณ วันสิ้ นปี 2547 จึ งต้องตั้งบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญเพิมเป็ นจานวน 2,720 – 1,500 = 1,220 บาท ่ การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้ ่
  • 10. 94 2547 ธ.ค. 31 หนี้สงสัยจะสู ญ 1,220 - ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ ่ 1,220 - บันทึกรายการค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ 2% ของยอดลูกหนี้ คงเหลือ ณ วัน สิ้ นปี (2% 136,000 = 2,720-1,500 =1,220 ) หลังจากผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท บัญชีหนี้สงสัยจะสู ญ 2547 2547 ธ.ค. 31 ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ / 1,220 - ธ.ค. 31 โอนไปบัญชี กาไรขาดทุน 1,220 - 1,220 - 1,220 - บัญชีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ 2547 2547 ธ.ค. 31 ยอดยกไป 2,720 - ม.ค. 1 ยอดยกมา 1,500 - ธ.ค. 31 หนี้ สงสัยจะสู ญ 1,220 - 2,720 - 2,720 - 2548 ม.ค. 1 ยอกยกมา 2,720 - การแสดงรายการในงบการเงิน งบกาไรขาดทุน บาท ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร : หนี้สงสัยจะสู ญ 1,220
  • 11. 95 งบดุล สิ นทรัพย์หมุนเวียน บาท : ลูกหนี้ 136,000 หัก ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ ่ (2,720) 133,280 ณ วันสิ้ นปี 2547 บัญชี หนี้ สงสัยจะสู ญ จานวน 1,220 บาท จะโอนปิ ดไปบัญชี กาไรขาดทุ น ส่ วนบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญมีจานวน 2,720 บาท ซึ่ งจะเท่ากับ 2% ของยอดลูกหนี้ คงเหลือ ณ วัน สิ้ นปี โดยจะนาไปหักจากยอดลู กหนี้ ในงบดุ ล จานวน 136,000 บาท เพื่อแสดงมูลค่าสุ ท ธิ ของยอด ลูกหนี้ที่คาดว่าจะเก็บเงินได้ จานวน 133,280 บาท 2.2 คานวณโดยการจัดกลุ่มลูกหนี้ จาแนกตามอายุของหนี้ ที่คางชาระ วิธีน้ ี จะแบ่งกลุ่ม ้ ลูกหนี้ออกตามอายุของหนี้ที่คางชาระ ซึ่ งลูกหนี้กลุ่มที่มีอายุการค้างชาระหนี้ นานมีความน่าจะเป็ นที่จะ ้ เก็บเงินไม่ ได้ในอัตราร้อยละที่สูงกว่าลูกหนี้ที่เริ่ มเกิดขึ้นในการคานวณหาจานวนหนี้ สงสัยจะสู ญจะทา การกาหนดอัตราร้อยละของลูกหนี้ ที่คาดว่าเก็บเงินไม่ได้แต่ละกลุ่มตามอายุของหนี้ ท่ีคาง เช่น ลูกหนี้ ที่ ้ ยังไม่ครบกาหนด ลูกหนี้ที่คางไม่เกิน 30 วัน , 60 วัน, 90 วัน และลูกหนี้ ที่คางเกิน 90 วันขึ้นไป จากนั้น ้ ้ ให้นาอัตราร้อยละที่กาหนดดังกล่าว มาคูณยอดลูกหนี้ ที่คางชาระในแต่ละกลุ่ม รวมยอดจะได้จานวน ้ หนี้ สงสัยจะสู ญ ซึ่ งในการนาไปบันทึกบัญชี จะใช้หลักการเช่ นเดียวกับวิธีคานวณเป็ นร้อยละของยอด ลูกหนี้ สิ้นปี คือ ต้องนาบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญมาพิจารณาด้วย โดยจานวนหนี้ สงสัยจะสู ญที่จะ บันทึกบัญชี คือ ผลต่างระหว่างจานวนหนี้ สงสัยจะสู ญที่คานวณได้กบยอดคงเหลื อในบัญชี ค่าเผื่อหนี้ ั สงสัยจะสู ญที่มีอยูเ่ ดิม ่ ตัวอย่างที่ 5 สมมติวา ณ วันสิ้ นปี 2547 บริ ษท แสนดี จากัด มียอดลูกหนี้ คงเหลือ จานวน 500,000 ั ่ บาท และค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญมียอดคงเหลือยกมาด้านเครดิต 3,500 บาท ในอดีตที่ผานมาพบว่าอัตรา ่ ร้อยละของลูกหนี้ที่คาดว่าเก็บเงินไม่ได้แต่ละกลุ่มตามอายุของหนี้ท่ีคาง เป็ นดังนี้ ้
  • 12. 96 อัตราร้อยละของลูกหนี้ อายุของหนี้ ยอดลูกหนี้คางชาระ ้ ที่คาดว่าจะเก็บเงินไม่ได้ ยังไม่ครบกาหนด 1% 280,000 ค้างชาระเกินกาหนด 1-30 วัน 2% 120,000 ค้างชาระเกินกาหนด 31-60 วัน 3% 50,000 ค้างชาระเกินกาหนด 61-90 วัน 7% 30,000 ค้างชาระเกินกาหนดมากกว่า 90 วัน 10% 20,000 รวม 500,000 การคานวณจานวนหนี้สงสัยจะสู ญ อัตราร้อยละของลูกหนี้ ยอดลูกหนี้ อายุของหนี้ จานวนหนี้สงสัยจะสูญ ที่คาดว่าจะเก็บเงินไม่ได้ ค้างชาระ ยังไม่ครบกาหนด 1% 280,000 2,800 ค้างชาระเกินกาหนด 1-30 วัน 2% 120,000 2,400 ค้างชาระเกินกาหนด 31-60 วัน 3% 50,000 1,500 ค้างชาระเกินกาหนด 61-90 วัน 7% 30,.000 2,100 ค้างชาระเกินกาหนด มากกว่า 90 วัน 10% 20,000 2,000 รวม 500,000 10,800 จานวนหนี้ สงสัยจะสู ญที่ ตองกันไว้เป็ นค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ ที่ จะนามาหักจากยอดลู กหนี้ ้ คงเหลือ ณ วันสิ้ นปี ในงบดุล มีจานวน 10,800 บาท แต่เนื่ องจากบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญมียอดยก มาด้านเครดิต จานวน 3,500 บาทอยูแล้ว ฉะนั้น ณ วันสิ้ นปี 2547 จึงต้องตั้งบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ ่ เพิ่มเป็ นจานวน 10,800 – 3,500 = 7,300 บาท การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้่ 2547 ธ.ค. 31 หนี้สงสัยจะสู ญ 7,300 - ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ ่ 7,300 - บัน ทึ ก ค่ า เผื่ อ หนี้ สงสั ย จะสู ญ จาก อัตราร้ อยละของลู กหนี้ ที่คาดว่าเก็บ เงิ นไม่ได้แต่ละกลุ่มตามอายุของหนี้ ที่คาง (10,800 – 3,500 = 7,300) ้
  • 13. 97 หลังจากผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท บัญชีหนี้สงสัยจะสู ญ 2547 2547 ธ.ค. 31 ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ 7,300 - ธ.ค. 31 โอนไปบัญชี กาไรขาดทุน 7,300 - 7,300 - 7,300 - บัญชีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ 2547 2547 ธ.ค. 31 ยอดยกไป 10,800 - ม.ค. 1 ยอดยกมา 3,500 - ธ.ค. 31 หนี้ สงสัยจะสู ญ 7,300 - 10,800 - 10,800 - 2548 ม.ค. 1 ยอกยกมา 10,800 - การแสดงรายการในงบการเงิน งบกาไรขาดทุน บาท ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร : หนี้สงสัยจะสู ญ 7,300 งบดุล สิ นทรัพย์หมุนเวียน บาท : ลูกหนี้ 500,000 หัก ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ ่ (10,800) 489,200 ณ วันสิ้ นปี 2547 บัญชี หนี้ สงสัยจะสู ญ จานวน 7,300 บาท จะโอนปิ ดไปบัญชี กาไรขาดทุ น ส่ วนบัญชี ค่ า เผื่อหนี้ สงสั ย จะสู ญ จะมี ย อดยกไป จานวน 10,800 บาท โดยเท่ า กับ จานวนที่ กิ จการ
  • 14. 98 ต้องการนาไปหักจากยอดลูกหนี้ ในงบดุล จานวน 500,000 บาท เพื่อแสดงมูลค่าสุ ทธิ ของยอดลูกหนี้ ที่ คาดว่าจะเก็บเงินได้จานวน 489,200 บาท ค่ าเผือหนีสงสั ยจะสู ญเกินความต้ องการ ่ ้ ในกรณี ที่ ค านวณหนี้ ส งสั ย จะสู ญเป็ นร้ อยละของยอดลู ก หนี้ บางครั้ งอาจจะพบว่า จานวน หนี้ สงสัยจะสู ญที่คานวณได้มีจานวนน้อยกว่ายอดคงเหลื อในบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ ซึ่ งอาจจะมี สาเหตุมาจาก ยอดลูกหนี้คงเหลือ ณ วันสิ้ นปี มีจานวนลดน้อยลงเมื่อเทียบกับรอบระยะเวลาบัญชี ปีก่อน จึงทาให้จานวนหนี้ สงสัยจะสู ญที่คานวณได้จึงน้อยลงด้วยหรื ออาจจะได้รับชาระเงิ นคืนจากลูกหนี้ ที่ คาดว่าจะสู ญ ซึ่ งเป็ นจานวนมาก เมื่อเทียบกับจานวนหนี้ สงสัยจะสู ญทั้งหมด ดังนั้น จึงควรปรับปรุ ง จานวนค่าเผือหนี้ สงสัยจะสู ญให้คงเหลือเท่ากับ จานวนที่ประมาณได้เพราะมิฉะนั้นแล้วจะทาให้มูลค่า ่ ของลู กหนี้ แสดงไว้ต่ าไป โดยการบันทึ กบัญชี ลดยอดบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญด้วยจานวนที่ เกิ น จานวนหนี้สงสัยจะสู ญที่คานวณได้ ดังนี้ เดบิต บัญชีค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ ่ XX เครดิต บัญชีหนี้สงสัยจะสู ญ XX บัญชีหนี้สงสัยจะสู ญ ซึ่ งเป็ นบัญชีค่าใช้จ่ายที่มียอดเครดิต ให้แสดงเป็ นรายการหักจากบัญชี ค่าใช้จ่ายในงบกาไรขาดทุน ดังนี้ งบกาไรขาดทุน ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร : : : XX หนี้สงสัยจะสู ญ (XX) ตัวอย่างที่ 6 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 บริ ษท แสนสะอาด จากัด มียอดลูกหนี้ คงเหลื อ จานวน ั 600,000 บาท และค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญมียอดคงเหลือยกมาด้านเครดิต 7,200 บาท บริ ษทประมาณหนี้ ่ ั สงสัยจะสู ญ เป็ น 1% ของยอดลูกหนี้คงเหลือ ณ วันสิ้ นปี การคานวณ ประมาณหนี้สงสัยจะสู ญ = 1% x 600,000 = 6,000 บาท เนื่องจากค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญมียอดคงเหลือยกมาด้านเครดิต 7,200 บาท ่
  • 15. 99 ดังนั้น จะต้องบันทึกรายการปรั บปรุ ง โดยลดจานวนค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญด้วย จานวนที่เกิ น จานวนหนี้ สงสัยจะสู ญที่ คานวณได้ เท่ากับ 7,200 – 6,000 = 1,200 บาท ซึ่ งบันทึก บัญชี ดังนี้ 2547 ธ.ค. 31 ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ ่ 1,200 - หนี้สงสัยจะสู ญ 1,200 - ปรั บ ปรุ ง ลดยอดค่ า เผื่อหนี้ ส งสั ย จะ สู ญด้ ว ยจ านวนที่ เ กิ น จ านวนหนี้ สงสัยจะสู ญที่คานวณไว้ หลังจากผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภท บัญชีหนี้สงสัยจะสู ญ 2547 2547 ธ.ค. 31 โอนไปบัญชีกาไรขาดทุน 1,200 - ธ.ค. 31 ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ 1,200 - 1,200 - 1,200 - บัญชีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ 2547 2547 ธ.ค. 31 หนี้สงสัยจะสูญ 1,200 - ม.ค. 1 ยอดยกมา 7,200 - ยอดยกไป 6,000 7,200 - 7,200 - 2548 ม.ค. 1 ยอดยกมา 6,000 - การแสดงรายการในงบการเงิน บาท งบกาไรขาดทุน : : XX หนี้สงสัยจะสู ญ (1,200) XX
  • 16. 100 งบดุล บาท สิ นทรัพย์หมุนเวียน : : ลูกหนี้ 600,000 หัก ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ ่ (6,000) 594,000 ณ วันสิ้ นปี 2547 บัญชี หนี้ สงสัยจะสู ญ จานวน 1,200 บาท จะโอนปิ ดไปบัญชี กาไรขาดทุ น โดยแสดงเป็ นรายการหักค่าใช้จ่าย ส่ วนบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ จะมียอดยกไป จานวน 6,000 บาท ซึ่ งจะเท่ากับจานวนที่กิจการต้องการนาไปหัก จากยอดลูกหนี้ ในงบดุล จานวน 600,000 บาท เพื่อแสดง มูลค่าสุ ทธิ ของยอดลูกหนี้ที่คาดว่าจะเก็บเงินได้ จานวน 594,000 บาท การตัดจาหน่ ายหนีสูญ้ การบันทึกบัญชีเมื่อเกิดหนี้สูญ จะแยกพิจารณาเป็ น 2 กรณี ดังนี้ 1. ในกรณี ที่การตัดจาหน่ายลูกหนี้เป็ นหนี้สูญ สามารถตัดเป็ นค่าใช้จ่ายได้ตามกฎหมายภาษีอา กร ซึ่ งกิจการได้ติดตามทวงถามลูกหนี้ ที่คางชาระจนถึงที่สุดแล้ว แต่ลูกหนี้ ก็ยงไม่ชาระหนี้ และกิจการ ้ ั ได้มีการดาเนิ นการตามเงื่ อนไขที่กาหนดในกฎหมายภาษีอากรแล้ว ให้กิจการตัดจาหน่ ายลูกหนี้ เป็ น หนี้ สูญ โดย เดบิตบัญชี หนี้ สูญ และเครดิต บัญชี ลูกหนี้ และในขณะเดี ยวกันก็ให้ลดจานวนค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญด้วย จานวนเดียวกัน รายการที่บนทึกบัญชี คือ ั เดบิต บัญชีหนี้สูญ XX เครดิต บัญชีลูกหนี้ XX เดบิต บัญชีค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ ่ XX เครดิต บัญชีหนี้สงสัยจะสู ญ XX ่ 2. ในกรณี ที่การตัดจาหน่ายลูกหนี้เป็ นหนี้สูญ ไม่สามารถถือเป็ นค่าใช้จายได้ตามกฎหมายภาษี อากร ซึ่ ง กิ จการต้อ งคาดหมายได้ค่ อนข้า งแน่ นอนว่า จะไม่ ไ ด้รั บ ช าระหนี้ และยัง ตัดจ าหน่ า ยตาม กฎหมาย ภาษีอากรไม่ได้ ให้กิจการตัดจาหน่ายลูกหนี้เป็ นหนี้สูญ โดยการลดจานวนลูกหนี้และค่าเผือ ่
  • 17. 101 หนี้สงสัยจะสู ญ ดังนี้ เดบิต บัญชีค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ ่ XX เครดิต บัญชีลูกหนี้ XX หนีสูญได้ รับคืน ้ ในบางครั้งกิ จการอาจจะได้รับเงิ นคืนจากลูกหนี้ ที่ได้จาหน่ ายเป็ นหนี้ สูญไปแล้ว การบันทึก ่ ั บัญชีหนี้สูญได้รับคืน จะแยกพิจารณาเป็ น 2 กรณี เช่นเดียวกัน ซึ่ งขึ้นอยูกบว่าเมื่อตัดลูกหนี้ เป็ นหนี้ สูญ นั้น กิจการได้บนทึกไว้ในกรณี ใด ั 1. ในกรณี ที่การตัดจาหน่ ายบัญชี ลูกหนี้ เป็ นหนี้ สูญเป็ นไปตามเกณฑ์กฎหมายภาษีอากร ให้ บันทึกตั้งลูกหนี้รายที่ตดเป็ นหนี้สูญไปแล้วเป็ นลูกหนี้ ข้ ึนมาใหม่ และเครดิตบัญชี หนี้ สูญได้รับคืน เป็ น ั รายได้อื่น ถัดจากนั้นให้บนทึกการได้รับเงินคืนจากลูกหนี้ ดังนี้ ั เดบิต บัญชีลูกหนี้ XX เครดิต บัญชีหนี้สูญได้รับคืน (รายได้อื่น) XX เดบิต บัญชีเงินสด XX เครดิต บัญชีลูกหนี้ XX 2. ในกรณี ที่การจาหน่ ายบัญชี ลูกหนี้ เป็ นหนี้ สูญไม่เป็ นไปตามเกณฑ์กฎหมายภาษีอากร ให้ บันทึกตั้งลูกหนี้ รายที่ตดเป็ นหนี้ สูญไปแล้วเป็ นลูกหนี้ ข้ ึนมาใหม่ และเครดิ ตบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะ ั สู ญ เป็ นการกลับรายการที่ลงไว้ในตอนตัดจาหน่ายบัญชีลูกหนี้ เป็ นหนี้ สูญ ถัดจากนั้นให้บนทึกรายการ ั ได้ รับเงินคืนจากลูกหนี้ ดังนี้ เดบิต บัญชีลูกหนี้ XX เครดิต บัญชีค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ ่ XX เดบิต บัญชีเงินสด XX เครดิต บัญชีลูกหนี้ XX การแสดงรายการบัญชี ทเี่ กียวข้ องกับลูกหนีในงบการเงิน ่ ้ การแสดงรายการในงบการเงินจะแสดงบัญชี ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญเป็ นรายการหักจากลูกหนี้ เพื่อแสดงมูลค่าสุ ทธิ ของยอดลูกหนี้ที่คาดว่าจะเก็บเงินได้ในงบดุล ส่ วนบัญชี หนี้ สูญและบัญชี หนี้ สงสัย
  • 18. 102 จะสู ญที่มียอด เดบิตจะแสดงเป็ นค่าใช้จ่าย แต่ถาบัญชี หนี้ สงสัยจะสู ญที่มียอดด้านเครดิต จะแสดงโดย ้ ใส่ วงเล็บ เป็ นรายการหักจากค่าใช้จ่ายและบัญชี หนี้ สูญได้รับคืน จะแสดงเป็ นรายได้อื่น ในงบกาไร ขาดทุน จะแสดงรายการได้ ดังนี้ งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25X1 บาท สิ นทรัพย์หมุนเวียน : ลูกหนี้ XX หัก ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ ่ (XX) XX งบกาไรขาดทุน สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 25x1 บาท รายได้อื่น ๆ : หนี้สูญได้รับคืน XX ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร : หนี้สูญ XX หนี้สงสัยจะสู ญ XX ตัวอย่างที่ 7 บริ ษท แสนเย็น จากัด ขายสิ นค้าเป็ นเงิ นเชื่ อในปี 2546 จานวน 500,000 บาท ในปี ั 2547 จานวน 600,000 บาท บริ ษทประมาณหนี้ สงสัยจะสู ญ 1% ของยอดขายเชื่อ ในวันที่ 1 มิถุนายน ั 2547 บริ ษท ตัดจาหน่ายลูกหนี้นายวินยเป็ นหนี้สูญ จานวน 2,000 บาท ซึ่ งหนี้ สูญรายนี้ จาหน่ายเป็ นหนี้ ั ั สู ญได้ตามกฎหมายภาษีอากรและในวันที่ 1 สิ งหาคม 2547 ตัดจาหน่ ายลูกหนี้ นางสมใจเป็ นหนี้ สูญ จานวน 1,500 บาท โดยที่หนี้ สูญรายนี้ ไม่สามารถจาหน่ายเป็ นหนี้ สูญได้ตามกฎหมายภาษีอากร ต่อมา ในวันที่ 1 กันยายน 2547 ลู กหนี้ นายวินย ที่ กิจการตัดเป็ นหนี้ สูญทางภาษีไปแล้ว นาเงิ นมาชาระให้ ั
  • 19. 103 บริ ษท จานวน 800 บาท และในวันที่ 1 ตุลาคม 2547 ลูกหนี้ นางสมใจที่กิจการตัดเป็ นหนี้ สูญทางบัญชี ั นาเงินมาชาระให้บริ ษท 1,000 บาท บริ ษทลูกหนี้ คงเหลื อ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 จานวน 380,000 ั ั บาท การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้ ่ 2546 ธ.ค. 31 หนี้สงสัยจะสู ญ 5,000 - ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ ่ 5,000 - บัน ทึ ก รายการประมาณหนี้ สงสั ย จะสู ญ 1% ของ ยอดขายเชื่อ (1% x 500,000 = 5,000 ) 2547 มิ.ย. 1 หนี้สูญ 2,000 - ลูกหนี้ – นายวินย ั 2,000 - ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ ่ 2,000 - หนี้สงสัยจะสู ญ 2,000 - จาหน่ายลูกหนี้นายวินยที่สามารถตัดจาหน่ายลูกหนี้ ั เป็ นหนี้สูญได้ตามกฎหมายภาษีอากร ส.ค. 1 ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ ่ 1,500 - ลูกหนี้ – นางสมใจ 1,500 - ตั ด จ าหน่ า ยลู ก หนี้ นางสมใจ เป็ นหนี้ สู ญที่ ไ ม่ สามารถถื อเป็ นค่าใช้จ่ายได้ตามกฎหมายภาษีอากร (ตัดหนี้สูญทางบัญชี) ก.ย. 1 ลูกหนี้ – นายวินย ั 800 - หนี้สูญได้รับคืน 800 - เงินสด 800 - ลูกหนี้-นายวินยั 800 - บันทึกหนี้ สูญได้รับคืนจากลู กหนี้ นายวินัยที่ ได้ตด ั จาหน่ ายไปแล้วตามกฎหมายภาษี อากร และได้รับ เงินชาระหนี้ในวันนี้
  • 20. 104 2547 ต.ค. 1 ลูกหนี้ – นางสมใจ 1,500 - ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ ่ 1,500 - เงินสด 1,500 - ลูกหนี้-นางสมใจ 1,500 - บันทึ ก หนี้ สู ญ ได้รับ คื นจากลู ก หนี้ นางสมใจที่ ต ัด จาหน่ายเป็ นหนี้สูญที่ไม่สามารถถือเป็ นค่าใช้จ่ายได้ ตามกฎหมายภาษีอากร (ตัดหนี้สูญทางบัญชี) ธ.ค. 31 หนี้สงสัยจะสู ญ 6,000 - ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ ่ 6,000 - บันทึ ก รายการประมาณหนี้ ส งสั ยจะสู ญ 1% ของ ยอดขายเชื่อ (1% x 600,000 = 6,000) หลังจากผ่านรายการไปบัญชี แยกประเภทของบัญชี หนี้ สูญ หนี้ สงสัยจะสู ญ และค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสู ญ ในปี 2547 ดังนี้ บัญชีหนี้สูญ 2547 2547 มิ.ย. 1 ลูกหนี้-นายวินย ั 2,000 - ธ.ค. 31 โอนไปบัญชี กาไรขาดทุน 2,000 - 2,000 - 2,000 - บัญชีหนี้สงสัยจะสู ญ 2547 2547 ธ.ค. 31 ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ 6,000 - มิ.ย. 1 ค่าเผื่อหนี้ สงสัยจะสูญ 2,000 - ธ.ค. 31 โอนไปบัญชี กาไรขาดทุน 4,000 - 6,000 - 6,000 -
  • 21. 105 บัญชีค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสู ญ 2547 2547 มิ.ย. 1 หนี้สงสัยจะสูญ 2,000 - ม.ค. 1 ยอดยกมา 5,000 - ส.ค. 1 ลูกหนี้ -นางสมใจ 1,500 ต.ค. 1 ลูกหนี้- นางสมใจ 1,500 - ธ.ค. 31 ยอดยกไป 9,000 - ธ.ค. 31 หนี้ สงสัยจะสู ญ 6,000 - 12,500 - 12,500 - 2548 ม.ค. 1 ยอดยกมา 9,000 - การแสดงรายการในงบการเงิน ปี 2547 ดังนี้ งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 บาท สิ นทรัพย์หมุนเวียน : ลูกหนี้ 380,000 หัก ค่าเผือหนี้สงสัยจะสู ญ ่ (9,000) 371,000 งบกาไรขาดทุน สาหรับปี สิ้นสุ ดวันที่ 31 ธันวาคม 2547 บาท ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร : หนี้สูญ 2,000 หนี้สงสัยจะสู ญ 4,000 กิจการที่ประกอบธุ รกิจซื้ อขายสิ นค้า ซึ่ งมีรายได้จากการขายสิ นค้าเป็ นหลัก จะมีการซื้ อสิ นค้า มาเก็บไว้ให้เพียงพอสาหรับการขาย ในการสั่งซื้ อสิ นค้าเข้ามาเก็บไว้มากๆ อาจจะมีขอดีตรงที่ทาให้การ ้
  • 22. 106 ขายสิ น ค้า มี ค วามคล่ อ งตัว แต่ อ าจจะใช้เ งิ น ทุ น มากในการซื้ อ สิ น ค้า นั้น มาเก็ บ ไว้ และยัง ต้องเสี ย ค่าใช้จ่ายในการเก็บรักษาสิ นค้า รวมถึงความเสี่ ยงต่อการที่สินค้าล้าสมัย หรื อหมดอายุ ด้วยเหตุน้ ี กิจการ จึงต้องมีการบริ หารจัดการสิ นค้าคงเหลื อของกิ จการให้อยู่ในปริ มาณที่เหมาะสมต่อการนาไปขายใน แต่ละรอบระยะเวลาบัญชี กิ จการต้องทาการสั่งซื้ อสิ นค้าเข้ามาขายหลายครั้ง และราคาทุนที่ซ้ื อแต่ละ ครั้งอาจไม่เท่ากัน เมื่อนาสิ นค้าออกขายจึงเกิดปั ญหาขึ้นว่า ในระหว่างงวดบัญชี ได้นาสิ นค้าจากการซื้ อ ครั้งใดออกขาย และในวันสิ้ นงวดบัญชี สินค้าคงเหลื อนี้ จะเป็ นสิ นค้าที่ซ้ื อเมื่ อใด และราคาทุ นเท่าใด ดังนั้นการตี ราคาสิ นค้าคงเหลื อ รวมถึ งวิธีการคานวณมูลค่าสิ นค้าคงเหลื อ จึงต้องเป็ นเรื่ องที่ ตองให้ ้ ความส าคัญ เนื่ องจากสิ นค้าคงเหลื อเป็ นรายการสิ นทรั พ ย์หมุ นเวียนที่ มี มู ลค่ า เป็ นจานวนมาก เมื่ อ เปรี ยบเทียบกับรายการสิ นทรัพย์หมุนเวียนอื่นๆ ความหมายของสิ นค้ าคงเหลือ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 31 เรื่ องสิ นค้าคงเหลื อ ของสมาคมนักบัญชี และผูสอบบัญชี รับ ้ อนุญาตแห่งประเทศไทย (2540, หน้า 2)ได้กาหนดคานิยมศัพท์โดยเฉพาะ ไว้ดงนี้ ั สิ นค้าคงเหลือ หมายถึง ทรัพย์สินซึ่ง (ก) มีไว้เพื่อขายตามลักษณะการประกอบธุ รกิจโดยปกติ หรื อ ่ (ข) อยูในระหว่างกระบวนการผลิตเพื่อให้เป็ นสิ นค้าสาเร็ จรู ปเพื่อขาย หรื อ (ค) มีไว้เพื่อใช้ในการผลิตสิ นค้าหรื อให้บริ การสิ นค้าคงเหลือ ประกอบด้วย 1. สิ นค้าที่ซ้ื อและถือไว้เพื่อขาย ตัวอย่างเช่น สิ นค้าที่ผขายปลีกซื้ อไว้เพื่อขาย หรื อที่ดิน และ ู้ สิ นทรัพย์อื่น ที่ซ้ื อไว้เพื่อขาย 2. สิ นค้าสาเร็ จรู ป งานระหว่างทา รวมทั้งวัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต ั 3. ต้นทุนงานให้บริ การ ในส่ วนที่สัมพันธ์กบรายได้ที่ยงไม่รับรู ้ของกิจการที่ให้บริ การ ั จากความหมายดัง กล่ า วข้า งต้น การแสดงรายการบัญชี สิ นค้า คงเหลื อโดยทัวไป จะถู ก จัด ่ ประเภทไว้ดงนี้ ั 1. สิ นค้าสาเร็ จรู ป เป็ นสิ นค้าที่ผลิตสาเร็ จแล้วพร้อมที่จะนาออกจาหน่ายได้ 2. สิ นค้าระหว่างทา เป็ นสิ นค้าที่ ผลิ ตยังไม่เสร็ จ กาลังอยู่ในระหว่างการผลิ ตให้เป็ นสิ นค้า สาเร็ จรู ป ยังไม่พร้อมที่จะนาออกจาหน่าย 3. วัตถุดิบ เป็ นสิ่ งที่มีไว้ใช้ในการผลิตสิ นค้า ซึ่ งเป็ นส่ วนประกอบที่สาคัญของสิ นค้าสาเร็ จรู ป
  • 23. 107 4. วัสดุการผลิต เป็ นวัสดุที่ใช้ประกอบในการผลิตสิ นค้า ซึ่ งไม่ใช่ส่วนประกอบที่สาคัญของ สิ นค้าสาเร็ จรู ป ธุ รกิจซื้ อมาขายไป สิ นค้าคงเหลือจะมีเพียงรายการเดียว คือ สิ นค้าสาเร็ จรู ป โดยมีตนทุนของ ้ สิ นค้าประกอบด้วย ราคาซื้ อ อากรขาเข้า และภาษีอื่น รวมทั้งค่าขนส่ ง ค่าขนถ่าย และค่าใช้จ่ายอื่น ซึ่ ง เกี่ยวข้องโดยตรงกับการซื้ อเพื่อให้สินค้านั้นอยูในสภาพพร้อมที่จะขายได้ ่ ธุ รกิจผูผลิต สิ นค้าคงเหลือประกอบด้วย สิ นค้าสาเร็ จรู ป สิ นค้าระหว่างทา วัตถุดิบ และวัสดุ ้ การผลิตโดยมีตนทุนของสิ นค้าประกอบด้วย ต้นทุนทั้งหมดในการซื้ อวัตถุดิบ ได้แก่ ราคาซื้ อ อากรขา ้ เข้า และภาษีอื่น รวมทั้งค่าขนส่ ง ค่าขนถ่ายและค่าใช้จ่ายอื่นๆ ซึ่ งเกี่ ยวข้องโดยตรงกับการซื้ อวัตถุ ดิบ ต้นทุนในการแปลงสภาพได้แก่ ค่าแรงงานทางตรงและค่าใช้จ่ายในการผลิตทั้งส่ วนที่คงที่และผันแปร รวมถึงค่าใช้จ่ายอื่นๆ ซึ่ งเกี่ยวข้องโดยตรงกับการผลิตเพื่อให้สินค้านั้นอยูในสภาพพร้อมที่จะขายได้ ่ ธุ รกิ จบริ การ สิ นค้าคงเหลือ อาจแสดงเป็ นงานระหว่างทาก็ได้ เพื่อความสะดวกโดยมีตนทุน ้ ของงานให้บ ริ ก ารประกอบด้วย ค่า แรงงาน และค่ า ใช้จ่า ยอื่ นที่ เกี่ ย วข้องโดยตรงกับ การให้บริ ก าร รวมทั้งบุคลากรก็ควบคุ มและดูแล และค่าใช้จ่ายที่เกี่ ยวข้องกับการให้บริ การในส่ วนที่ยงไม่รับรู ้ เป็ น ั รายได้ รายการทีนับเป็ นสิ นค้ าคงเหลือ ่ สิ นค้าคงเหลื อเป็ นสิ นทรัพย์หมุนเวียนของกิ จการ ดังนั้นเมื่อทาการตรวจนับจานวนสิ นค้าคง เหลือในสิ้ นงวดบัญชี กิจการจะพิจารณาที่กรรมสิ ทธิ์ เฉพาะสิ นค้าที่เป็ นของกิจการเท่านั้น ซึ่ งกิจการอาจ มีสินค้าคงเหลือบางประเภทที่ไม่อยูรวม ณ ที่เดียวกันในกิจการ แต่กรรมสิ ทธิ์ ของสิ นค้าเป็ นของกิจการ ่ ก็ให้นบรวมเป็ นสิ นค้าคงเหลือของกิจการด้วย เช่น ั สิ นค้าระหว่างทางที่กิจการซื้ อโดยเงื่อนไข F.O.B Shipping Point ซึ่ งกรรมสิ ทธิ์ ในสิ นค้าโอน ้ ้ ู้ ่ ่ มาเป็ นของผูซ้ื อเมื่อผูขายจัดส่ งสิ นค้าให้ผซ้ื อแล้ว แม้วาสิ นค้าอยูในระหว่างทางขนส่ งยังไม่ถึงมือผูซ้ื อก็ ้ ให้นบสิ นค้าระหว่างทางเป็ นสิ นค้าคงเหลือของผูซ้ื อ ั ้ สิ นค้าที่กิจการนาไปฝากขายกับบุคคลอีกคนหนึ่ งเรี ยกว่าผูรับฝากขายให้ช่วยขายสิ นค้าให้และ ้ ยังไม่ได้ขาย จึงให้นบสิ นค้าที่นาไปฝากขายนั้นเป็ นสิ นค้าคงเหลือของกิจการที่ฝากขายด้วย ั สิ นค้าที่กิจการผลิตแยกพิเศษตามคาสั่งของลูกค้าและยังไม่ได้ส่งมอบให้ลูกค้า แต่ถือว่าเป็ นการ ขายแล้ว ดังนั้นกิจการผูผลิตไม่ควรนับเป็ นรายการสิ นค้าคงเหลือของกิจการ ้