SlideShare a Scribd company logo
1 of 42
Download to read offline
บทที่ 2
                                      เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ

                                                                             ่
        ในการดาเนิ นงานของกิจการ บางครั้งอาจจะมีเงินสด คงเหลืออยูมากเกินกว่าความต้องการใช้
ในขณะนั้น กิ จการที่ มีการบริ หารเงิ นที่ดีจะนาเงิ นไปซื้ อเงิ นลงทุ น เพื่อแสวงหาผลตอบแทนจากการ
ลงทุนในรู ปดอกเบี้ย เงิ นปั นผล หรื อค่าสิ ทธิ เป็ นต้น หรื อกิ จการอาจมีความจาเป็ นที่จะต้องสร้ าง
ความสัมพันธ์ในเชิ งธุ รกิ จ โดยลงทุนในรู ปของหลักทรัพย์ประเภทหุ ้นสามัญ ซึ่ งจะทาให้กิจการได้รับ
ประโยชน์ในอนาคต โดยทัวไปแล้วกิจการมักนาเงินสดไปลงทุนหาผลตอบแทนในระยะเวลาสั้น ๆ ซึ่ ง
                            ่
เป็ นการลงทุนชัวคราว และเมื่อใดที่ตองการจะใช้เงินก็สามารถขายเงินลงทุนเปลี่ยนเป็ นเงินสดได้ทนที
               ่                     ้                                                        ั
และไม่ทาให้เกิ ดผลขาดทุน ดังนั้น เพื่อให้เกิ ดประโยชน์มากที่สุดในการบริ หารเงิ น กิ จการควรมีการ
พิจารณากาหนดจานวนเงินที่จะนาไปลงทุน และช่วงระยะเวลาที่จะลงทุนให้เหมาะสม ซึ่ งบทนี้ จะเน้น
การศึกษาเกี่ยวกับเงินลงทุนชัวคราว
                              ่

ความหมายของเงินลงทุน
        มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 เรื่ องการบัญชี สาหรับเงิ นลงทุนในตราสารหนี้ และตราสารทุน
ของสมาคมนักบัญชี และผูสอบบัญชีรับอนุ ญาตแห่ งประเทศไทย (2542, หน้า4-5) ได้กาหนดคานิยาม
                           ้
ศัพท์ โดยเฉพาะ ไว้ดงนี้
                     ั
        เงินลงทุน หมายถึง สิ นทรั พย์ที่กิจการมีไว้เพื่อเพิ่มความมังคังให้กบกิจการ ไม่วาจะอยูในรู ป
                                                                      ่ ่   ั              ่        ่
ของส่ วนแบ่งที่จะได้รับ (เช่น ดอกเบี้ย ค่าสิ ทธิ และเงินปั นผล) ในรู ปของราคาที่เพิ่มขึ้น หรื อในรู ปของ
ประโยชน์อย่างอื่นที่กิจการได้รับ (เช่น ประโยชน์ที่ได้รับจากความสัมพันธ์ทางการค้า)

ประเภทของเงินลงทุน
       เงินลงทุน สามารถแบ่งตามระยะเวลาการถือไว้ในกิจการ ได้เป็ น 2 ประเภท คือ
       1. เงินลงทุนชัวคราว หมายถึง เงินลงทุนที่กิจการตั้งใจจะถือไว้ไม่เกิน 1 ปี เงินลงทุนชัวคราว
                     ่                                                                     ่
รวมถึงหลักทรัพย์เพื่อค้า หลักทรัพย์เ ผื่อขาย เงิ นลงทุนทัวไป และตราสารหนี้ ที่จะครบกาหนดภายใน
                                                         ่
1 ปี
42



       2. เงินลงทุนระยะยาว หมายถึง เงินลงทุนที่กิจการตั้งใจจะถือไว้เกิน 1 ปี เงินลงทุนระยะยาว
รวมถึง ตราสารทุนที่จดประเภทเป็ นหลักทรัพย์เ ผื่อขาย เงิ นลงทุนทัวไป ตราสารหนี้ ที่จดประเภทเป็ น
                     ั                                          ่                  ั
หลักทรัพย์เผือขาย และตราสารหนี้ท่ีจะถือจนครบกาหนด
             ่

         เงินลงทุน สามารถแบ่งตามแหล่งที่มาของหลักทรัพย์ เป็ น 2 ชนิด คือ
         1. เงินลงทุนในหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด หมายถึง หลักทรัพย์ หรื อเงินลงทุนอื่น
ที่มีการซื้ อขายในตลาดซื้ อขายคล่อง จึ งทาให้สามารถกาหนดมูลค่ายุติธรรมของหลักทรัพย์หรื อเงิ น
ลงทุนนั้นได้ทนที มูลค่ายุติธรรมจะถื อว่าสามารถกาหนดได้ในทันที หากราคาขายหรื อราคาเสนอซื้ อ
                ั
หรื อเสนอขายมีการเผยแพร่ ท่ีเป็ นปั จจุบนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรื อตลาดหลักทรัพย์อื่น
                                        ั
ที่ทาการเผยแพร่ ราคาต่อสาธารณชน

                                                                     ่
        2. เงินลงทุนทัวไป หมายถึง เงินลงทุนในตราสารทุน ที่ไม่อยูในความต้องการของตลาด ทา
                      ่
ให้กิจการไม่สามารถจัดประเภทเป็ นหลักทรัพย์เพื่อค้าหรื อหลักทรัพย์เพื่อขาย เงินลงทุนทัวไปสามารถ
                                                                                     ่
แยกประเภทเป็ นเงินลงทุนชัวคราว หรื อเงินลงทุนระยะยาว
                         ่

       เงินลงทุนในหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด ยังสามารถแบ่งได้เป็ น 2 ประเภท คือ
       1. ตราสารทุ น หมายถึ ง สั ญญาที่ แสดงว่า ผูถือตราสารมี ความเป็ นเจ้าของในส่ วนได้เสี ย
                                                       ้
คงเหลือของกิ จการที่ไปลงทุน เช่น หุ ้นสามัญ หุ นบุริมสิ ทธิ และยังรวมถึ งใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ในหุ ้น
                                                 ้
ทุน ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ในการซื้ อหุ ้นทุน (หน่วยลงทุนในกองทุนรวม) ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ใบหุ ้นปั น
ผล และตราสารหรื อหลักฐานแสดงสิ ทธิในสิ นทรัพย์ของโครงการจัดการลงทุน แต่หลักทรัพย์หุนทุนนี้   ้
จะไม่รวมถึงหุ นบุริมสิ ทธิ ที่อาจไถ่ถอนได้ และไม่รวมถึงหุ นกู้ ที่อาจแปลงสภาพเป็ นหุ นทุนได้
              ้                                           ้                          ้

           2. ตราสารหนี้ หมายถึง สัญญาที่แสดงว่าผูออกตราสารมีภาระผูกพันทั้งทางตรงและทางอ้อม
                                                      ้
ที่จะต้องจ่ายเงิ นสด หรื อสิ นทรัพย์อื่น ให้แก่ผูถือตราสารตามจานวนและเงื่อนไข ที่ได้กาหนดไว้ เช่ น
                                                 ้
หุ นกู้ พันธบัตร ทั้งนี้ได้รวมถึงใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ในหุ นกู้ ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่จะซื้ อหุ นกู้
   ้                                                    ้                                   ้
           ซึ่ งการลงทุนในตราสารทุนและตราสารหนี้ในหลักทรัพย์ตามความต้องการของตลาด สามารถ
จัดประเภทได้ ดังนี้
           หลักทรัพย์เพื่อค้า หมายถึง เงินลงทุนในตราสารหนี้ ทุกชนิ ด หรื อตราสารทุนในความต้องการ
ของตลาดที่กิจการถือไว้โดยมีวตถุประสงค์หลักที่จะขายในอนาคตอันใกล้ ทาให้กิจการถื อหลักทรัพย์
                                  ั
43



นั้นไว้เป็ นระยะเวลาสั้นๆ เพื่อหากาไรจากการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์ ดังนั้น หลักทรัพย์เผื่อ
ค้าจึงมีอตราการหมุนเวียนสู ง
            ั
              หลัก ทรั พ ย์เ ผื่ อขาย หมายถึ ง เงิ น ลงทุ นในตราสารหนี้ ทุ ก ชนิ ด หรื อตราสารทุ น ในความ
ต้องการของตลาดซึ่ งไม่ถือเป็ นหลักทรัพย์เพื่อค้า และขณะเดียวกันไม่ถือเป็ นตราสารหนี้ท่ีจะถือจนครบ
กาหนดหรื อเงิ นลงทุ นในบริ ษทย่อย หรื อบริ ษทร่ วม หลักทรัพย์เผื่อขายสามารถแยกประเภทเป็ นเงิ น
                                      ั                ั
ลงทุนชัวคราว หรื อเงินลงทุนระยะยาว
          ่
              ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกาหนด หมายถึง ลงทุนในหลักทรัพย์ประเภทตราสารหนี้ ที่กิจการ
มีความตั้งใจแน่วแน่ และมีความสามารถที่จะถือไว้จนครบกาหนดไถ่ถอน
              เนื่องจากว่าหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดมีสภาพคล่องสู ง ทาให้กิจการมักจะนาเงินสด
คงเหลือเกินความต้องการใช้ในกิจการมาลงทุนกับตราสารทุน หรื อตราสารหนี้ ในประเภทหลักทรัพย์
เพื่อค้า เพราะนอกจากจะได้รับผลตอบแทนในกาไรจากการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์แล้ว เมื่อมี
ความต้องการใช้เงินก็สามารถนาไปขายเปลี่ยนมาเป็ นเงินสดได้ทนที         ั
              การซื้ อขายหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด ที่จะจัดอยู่ในประเภทของหลักทรัพย์เพื่อค้า
นั้น ต้องเข้าตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดไว้ หากหลักทรัพย์ใดไม่เป็ นไปตามเกณฑ์ท่ีกาหนด จะให้จดเป็ น          ั
ประเภทหลักทรัพย์เผือขายซึ่ งหลักเกณฑ์ที่ใช้กาหนดประเภทหลักทรัพย์เพื่อค้า มีดงนี้
                             ่                                                          ั
              1. หลักทรั พย์น้ ันต้องมี สภาพซื้ อง่ายขายคล่ อง หรื อสามารถทาการซื้ อขายได้ทนทีในตลาด
                                                                                              ั
หลักทรัพย์และ
              2. หลักทรัพย์น้ นจะต้องมีการซื้ อขายกันอย่างสม่าเสมอ และ
                                  ั
              3. ผูลงทุนในหลักทรัพย์น้ น มีความตั้งใจที่จะหากาไรจากการขึ้นลงของราคาในช่วงเวลาสั้นๆ
                     ้                    ั
โดยจัดรวมเป็ นกลุ่มหลักทรัพย์ซ่ ึ งกิจการเจาะจงถือไว้เพื่อค้า
              เมื่ อกิ จการต้องการลงทุ นชัวคราว โดยการซื้ อหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด จะต้อง
                                            ่
ติดต่อกับบริ ษทสมาชิกของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็ นผูจดการให้ เนื่องจากตลาดหลักทรัพย์
                       ั                                               ้ั
จะทาการซื้ อขายเฉพาะกับบริ ษทสมาชิ กเท่านั้น โดยกิ จการจะต้องจ่ายค่าธรรมเนี ยมให้บริ ษทสมาชิ ก
                                        ั                                                         ั
เหล่านั้นในอัตราที่ ตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทยเป็ นผูกาหนดให้เรี ย กเก็บเป็ นร้ อยละ 0.50 ของ
                                                                  ้
จานวนเงิ นที่ซ้ื อขายสาหรับตราสารทุน และร้ อยละ 0.10 ของจานวนเงิ นที่ซ้ื อขายสาหรับตราสารหนี้
จาพวกพันธบัตร ทั้งนี้การคิดค่าธรรมเนียมดังกล่าวในแต่ละครั้งจะต้องไม่ต่ากว่า 50 บาท ทุกกรณี
              ซึ่ งการทาการซื้ อขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์จะใช้วิธีการประมูลราคา ดังนั้น กฎหมาย
ไทยจึ งห้ามจาหน่ ายหลัก ทรั พย์ในราคาที่ ต่ ากว่ามู ลค่า คือ ราคาที่ตราไว้ (atpar) บนใบหุ ้นกู้ โดยให้
44



จาหน่ ายในราคาเท่ากับมูลค่าหรื อสู งกว่ามูลค่าก็ได้ถาคาดว่าหลักทรัพย์น้ ันจะให้ผลตอบแทนสู งกว่า
                                                    ้
อัตราดอกเบี้ยในท้องตลาด

การบัญชีเกียวกับเงินลงทุนชั่ วคราว
            ่
         ในบทนี้ จะเป็ นการศึกษาเฉพาะ เงิ นลงทุนชัวคราวที่เป็ นหลักทรัพย์ประเภทตราสารทุน และ
                                                  ่
                                      ั ่
ตราสารหนี้ ในความต้องการของตลาดที่จดอยูในประเภทของหลักทรัพย์เพื่อค้า และหลักทรัพย์เผื่อขาย
ซึ่ งมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 ของสมาคมนักบัญชี และผูส อบบัญชี รับอนุ ญาตแห่ งประเทศไทย
                                                           ้
              ั                                                       ่
กาหนดให้วดมูลค่าโดยใช้มูลค่ายุติธรรม และให้คานิยามมูลค่ายุติธรรมไว้วา หมายถึง จานวนเงินที่ผซ้ื อ
                                                                                            ู้
       ้                           ั
และผูขายตกลงแลกเปลี่ยนสิ นทรัพย์กน ในขณะที่ท้ งสองฝ่ ายมีความรอบรู ้และเต็มใจในการแลกเปลี่ยน
                                                ั
และสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็ นอิสระ ในลักษณะของผูที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน โดยมีวิธีปฏิบติ
                                                             ้                                 ั
เกี่ยวกับการบัญชีสาหรับหลักทรัพย์ประเภทตราสารทุน และตราสารหนี้ ดังนี้

         การบัญชี สาหรับหลักทรัพย์ ประเภทตราสารทุนในความต้ องการของตลาด
         ต้นทุนของหลักทรัพย์ประเภทตราสารทุน จะประกอบด้วยจานวนเงินของหลักทรัพย์ท่ีกิจการ
ลงทุนซื้ อรวมทั้งค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่กิจการจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่ งหลักทรัพย์ดงกล่าวมาเช่น ค่าธรรมเนี ยม ค่า
                                                                           ั
นายหน้า ค่ า ภาษี ค่ า ใช้จ่า ยในการโอน เป็ นต้น หากกิ จ การนาสิ น ทรั พ ย์อื่ นไปแลก ก็ ใ ห้ใ ช้มู ล ค่ า
ยุติธรรมของสิ นทรัพย์ที่นาไปแลกเป็ นต้นทุนของหลักทรัพย์น้ น      ั

         1. การบันทึกบัญชีเมื่อซื้ อหลักทรัพย์
         เมื่อกิ จการซื้ อตราสารทุนในความต้องการของตลาด ให้บนทึกบัญชี แยกแสดงเป็ นหลักทรัพย์
                                                                    ั
                                              ่ ั
เพื่อค้าหรื อหลักทรัพย์เผือขาย ทั้งนี้ข้ ึนอยูกบวัตถุประสงค์ในการลงทุนของกิจการว่าเป็ นอย่างไร
                           ่
              1.1 ถ้ากิจการถือไว้เป็ นหลักทรัพย์เพื่อค้า จะบันทึกบัญชี ดังนี้
                   เดบิต บัญชีหลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนทุน้                      XX
                             เครดิต บัญชีเงินสด                                       XX
              1.2 ถ้าการถือไว้เป็ นหลักทรัพย์เผือขาย จะบันทึกบัญชี ดังนี้
                                                    ่
                   เดบิต บัญชีหลักทรัพย์เผือขาย-หุนทุน
                                                  ่      ้                    XX
                             เครดิต บัญชีเงินสด                                       XX
45



ตัวอย่างที่ 1 บริ ษัท เมื อ งไทย จ ากัด ลงทุ น ซื้ อ หุ ้ น สามัญ ของบริ ษัท ที่ จ ดทะเบี ย นกับ ตลาด
หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2547 ดังนี้
 -           บริ ษท A จากัด จานวน 500 หุ ้น มู ลค่ า หุ ้นละ 100 บาท ในราคาหุ ้นละ 110 บาท เสี ย
                     ั
ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ รวมเป็ นเงิน 400 บาท โดยมีวตถุประสงค์เพื่อค้า
                                                                   ั
 -           บริ ษทั                    1,000 หุ ้น มูลค่ าหุ ้นละ 100 บาท ในราคาหุ ้นละ 120 บาท เสี ย
ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ รวมเป็ นเงิน 700 บาท โดยมีวตถุประสงค์ถือไว้เผือขาย
                                                                     ั             ่
        จะบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้
                                           ่
2547
มิ.ย. 1 เดบิต หลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนสามัญบริ ษท A จากัด
                                      ้              ั                        55,400 -
                       เครดิต เงินสด                                                       55,400 -
            บันทึกการลงทุนในหลักทรัพย์หุนสามัญ บริ ษท A จากัด
                                             ้              ั
            มีวตถุประสงค์เพื่อค้า
               ั
            เดบิต หลักทรัพย์เผือขาย-หุนสามัญ บริ ษท B จากัด
                                   ่     ้             ั                      120,700 -
                       เครดิต เงินสด                                                       120,700 -
            บันทึกการลงทุนในหลักทรัพย์หุ้นสามัญบริ ษท B จากัด ั
            มีวตถุประสงค์ถือไว้เผื่อขาย
                 ั

        วิธีการคานวณ - รายการหลักทรัพย์เพื่อค้า บริ ษท A จากัด
                                                     ั
                            ราคาซื้ อ (500 หุน x 110 บาท)
                                             ้                                       55,000 บาท
                            บวก ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ                         400 บาท
                            ราคาทุน                                                  55,400 บาท
                            ราคาทุนต่อหุ น = 55,400 บาท
                                          ้                                 =         110.80 บาท
                                                 500 หุน ้
        วิธีการคานวณ - รายการหลักทรัพย์เผือขาย บริ ษท B จากัด
                                           ่           ั
                            ราคาซื้ อ (1,000 หุน x 120 บาท)
                                               ้                                     120,000 บาท
                            บวก ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ                          700 บาท
                            ราคาทุน                                                  120,700 บาท
                     ราคาทุนต่อหุ น =
                                  ้          120,700 บาท                    =         120.70 บาท
                                                 1,000
46



         2. การบันทึกบัญชีเมื่อรับผลตอบแทนจากการลงทุน
         เมื่ อ กิ จ การไม่ มี ก ารจ าหน่ า ยหลัก ทรั พ ย์ป ระเภทตราสารทุ น ในความต้อ งการของตลาด
ผลตอบแทนที่ กิจการจะได้รับจากการลงทุ นซื้ อหลักทรั พย์ประเภทนี้ ก็ คือ เงิ นปั นผลรั บ (dividend
revenue) ซึ่ งแสดงเป็ นบัญชี รายได้อื่น ในงบกาไรขาดทุน โดยผูออกหุ ้นที่กิจการไปลงทุนจะประกาศ
                                                                    ้
จ่ายเงินปั นผลและรายชื่อผูมีสิทธิ รับเงินปั นผลก่อน แล้วจึงจ่ายเงินให้ภายหลัง
                                ้
                2.1 เมื่อมีการประกาศจ่ายเงินปั นผล บันทึกบัญชี โดย
                      เดบิต บัญชีเงินปันผลค้างรับ                             XX
                               เครดิต บัญชีเงินปันผลรับ                              XX
                2.2 เมื่อกิจการได้รับเงินปั นผล บันทึกบัญชีโดย
                      เดบิต บัญชีเงินสด                                       XX
                               เครดิต บัญชีเงินปันผลค้างรับ                          XX
         ในกรณี ท่ีระยะเวลา วันที่ประกาศจ่ายเงิ นปั นผลไม่ห่างจากวันที่จ่ายเงิ นปั นผลมากนัก และอยู่
ในรอบระยะเวลาบัญชีเดียวกัน ให้กิจการบันทึกรายการเมื่อได้รับเงินปันผลเลย

ตัวอย่างที่ 2 จากตัวอย่างที่ 1 บริ ษท A จากัด ประกาศจ่ายเงินปั นผลหุ นสามัญ หุ ้นละ 15 บาท เมื่อ
                                    ั                                   ้
วันที่ 24 ธันวาคม 2547 และจะจ่ายเงินปั นผลให้ในวันที่ 15 มกราคม 2548 ส่่ วนทางด้านบริ ษท B  ั
จากัด ประกาศจ่ายเงินปั นผลหุ ้นสามัญ หุ ้นละ 10 บาท เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2547 และจะจ่ายเงินปั น
ผลให้ในวันที่ 29 ธันวาคม 2547 ะบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้
                                                             ่
   2547
 ธ.ค. 24 เงินปั นผลค้างรับ                                                     7,500 -
              เงินปั นผลรับ                                                                  7,500 -
         บันทึกเงินปั นผลค้างรับ จากบริ ษท A จากัด (500 หุน x 15 บาท)
                                         ั                ้
      29 เงินสด
                 เงินปั นผลรับ                                                10,000 -
         บันทึกเงินปั นผล จากบริ ษท B จากัด (1,000 หุน x 10 บาท)
                                    ั                ้                                      10,000 -
   2548
 ม.ค. 15 เงินสด                                                                7,500 -
                 เงินปั นผลค้างรับ                                                           7,500 -
         บันทึกรับเงินปั นผลที่คางรับจากบริ ษท A จากัด
                                  ้          ั
47



        3. การบันทึกบัญชีเมื่อขายหลักทรัพย์
           เมื่ อกิ จการมี ค วามต้องการใช้เงิ นหรื อเห็ นว่า ขณะนี้ ราคาตลาดของหลัก ทรั พ ย์ไ ด้สู ง ขึ้ น
กิจการก็จะขายหลักทรัพย์ที่ถืออยูออกไป ซึ่ งในการขายจะต้องเสี ยค่าธรรมเนี ยมและค่าใช้จ่ายต่างๆ จึง
                                   ่
ทาให้กิจการได้รับเงินสุ ทธิ จากการขาย เท่ากับ ราคาขาย หัก ค่าธรรมเนี ยมและค่าใช้จ่ายต่างๆ แล้ว ใน
การบันทึกบัญชีการขายหลักทรัพย์ กิจการจะโอนหลักทรัพย์ออกจากบัญชี ดวยราคาทุน ผลต่างระหว่าง
                                                                           ้
                           ั
ราคาทุนของหลักทรัพย์กบจานวนเงินสุ ทธิ ที่ได้รับ จะบันทึกเป็ นรายการกาไรขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการ
จาหน่ายหลักทรัพย์ ซึ่ งแสดงเป็ นบัญชีรายได้ค่าใช้จ่ายอื่น ในงบกาไรขาดทุน

ตัวอย่ างที่ 3 จากตัวอย่างที่ 1 เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2547 บริ ษทเมืองไทย จากัด ขายหุ นของบริ ษท A
                                                                ั                     ้        ั
จากัด จานวน 300 หุน ในราคาหุนละ 114 บาท เสี ยค่าใช้จ่ายในการขายรวม 200 บาท และ ขายหุ ้นของ
                     ้              ้
บริ ษท B จากัด จานวน 800 หุ ้น ในราคาหุ ้นละ 119 บาท เสี ยค่าใช้จ่ายในการขายรวม 600 บาท จะ
     ั
บันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้
                              ่

2547
ธ.ค. 28 เงินสด                                                                 34,000 -
              หลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนสามัญบริ ษท A จากัด
                                    ้          ั                                               33,240 -
              รายการกาไรที่เกิดขึ้นจากการจาหน่ายหลักทรัพย์                                        760 -
        บันทึกการขายหุนสามัญ บริ ษท A จากัดจานวน 300 หุ ้น
                           ้               ั
        ราคาหุนละ 114 บาท เสี ยค่าใช้จ่าย 200 บาท
               ้
        เงินสด
        รายการขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการจาหน่ายหลักทรัพย์                         94,600 -
                   หลักทรัพย์เผือขาย-หุนสามัญบริ ษท B จากัด
                                ่      ้          ั                             1,960 -
        บันทึกการขายหุนสามัญ บริ ษท B จากัด จานวน 800 หุ ้น
                             ้           ั                                                     96,560 -
        ราคาหุนละ 119 บาท เสี ยค่าใช้จ่าย 600 บาท
                 ้
48



         วิธีการคานวณ - รายการหลักทรัพย์เพื่อค้า
                             ราคาขาย (300 หุน x 114 บาท)
                                              ้                                                34,200   บาท
                             หัก ค่าใช้จ่าย                                                       200   บาท
                                     จานวนเงินสุ ทธิที่ได้รับ                                  34,000   บาท
                             หัก ราคาทุน (300 หุน x 110.80 บาท)
                                                 ้                                             33,240   บาท
                                     กาไรจากการขายหลักทรัพย์                                      760   บาท

         วิธีการคานวณ - รายการหลักทรัพย์เผือขาย
                                            ่
                             ราคาขาย (800 หุน x 119 บ ท)
                                              ้                                                95,200 บาท
                             หัก ค่าใช้จ่าย                                                       600 บาท
                                      จานวนเงินสุ ทธิที่ได้รับ                                 94,600 บาท
                             หัก ราคาทุน (800 หุน x 120.70 บาท)
                                                ้                                              96,560 บาท
                                      ขาดทุนจากการขายหลักทรัพย์                                (1,960) บาท

          การบัญชีสาหรับหลักทรัพย์ประเภทตราสารหนี้ ในความต้ องการของตลาด
          ในท านองเดี ย วกับ หลัก ทรั พ ย์ป ระเภทตราสารทุ น ในความต้องการของตลาด ต้น ทุ น ของ
หลักทรัพย์ ประเภทตราสารทุน จะประกอบด้วย จานวนเงินของหลักทรัพย์ที่กิจการลงทุนซื้ อ รวมทั้ง
ค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่กิจการจ่ายเพื่อให้ได้มา ซึ่ งหลักทรัพย์ดงกล่าว เช่น ค่าธรรมเนี ยม ค่านายหน้า ค่าภาษี
                                                                        ั
ค่าใช้จ่ายในการโอน เป็ นต้น หากกิจการนาสิ นทรัพย์อื่นไปแลก ก็ให้ใช้มูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ที่
นาไปแลก เป็ นต้นทุนของหลักทรัพย์น้ น               ั
          1. การบันทึกบัญชีเมื่อซื้ อหลักทรัพย์ และรับผลตอบแทนจากการลงทุน
          เมื่อกิจการซื้ อตราสารหนี้ในความต้องการของตลาด ให้บนทึกแยกแสดงเป็ นหลักทรัพย์เพื่อค้า
                                                                              ั
หรื อ หลัก ทรั พ ย์เ ผื่อ ขาย ทั้ง นี้ ข้ ึ น อยู่ก ับ วัต ถุ ป ระสงค์ใ นการลงทุ น ของกิ จ การว่า เป็ นอย่า งไร และ
เนื่องจากว่าตราสารหนี้ เช่นหุ นกู้ พันธบัตร จะให้ผลตอบแทนผูถือในรู ปดอกเบี้ย โดยผูออกหลักทรัพย์
                                   ้                                        ้                         ้
จะกาหนดอัตราดอกเบี้ยและวันที่จ่ายดอกเบี้ยไว้แน่ นอน การบันทึกบัญชี เกี่ ยวกับหลักทรัพย์ประเภท
ตราสารหนี้ มีหลักการเช่ นเดียวกับหลักทรัพย์ประเภทตราสารทุน หากวันที่ซ้ื อขายหลักทรัพย์ตรงกับ
วันที่จ่ายดอกเบี้ย แต่ถาวันที่ซ้ื อขายหลักทรัพย์ไม่ตรงกับวันที่จ่ายดอกเบี้ย จานวนเงิ นที่ซ้ื อขายจะต้อง
                           ้
รวมดอกเบี้ยค้างรับด้วย ซึ่ งแสดงการบันทึกบัญชีได้ ดังนี้
49



            1.1 ถ้ากิ จการซื้ อขายหลักทรั พ ย์ประเภทหนี้ ตรงกับวันที่ จ่า ยดอกเบี้ ย กิ จการจะบันทึ ก
บัญชี โดย
         กรณี กิจการถือหลักทรัพย์โดยมีวตถุประสงค์เพื่อค้า
                                           ั
                   เดบิต บัญชีหลักทรัพย์เพื่อค้า-หุ นหนี้
                                                       ้                     XX
                           เครดิต บัญชีเงินสด                                      XX
         กรณี กิจการถือหลักทรัพย์ โดยมีวตถุประสงค์เผือขาย
                                                 ั               ่
                   เดบิต บัญชีหลักทรัพย์เผือขาย-หุ นหนี้
                                                   ่       ้                 XX
                           เครดิต บัญชีเงินสด                                      XX
              1.2 ถ้ากิจการซื้ อขายหลักทรัพย์ประเภทหนี้ ไม่ตรงกับวันที่จ่ายดอกเบี้ย กิจการจะบันทึก
บัญชี โดย
         กรณี กิจการถือหลักทรัพย์โดยมีวตถุประสงค์เพื่อค้า
                                             ั
                   เดบิต บัญชีหลักทรัพย์เพื่อค้า- หุ นหนี้
                                                         ้                   XX
                           บัญชีดอกเบี้ยค้างรับ                              XX
                           เครดิต บัญชีเงินสด                                      XX
         กรณี กิจการถือหลักทรัพย์โดยมีวตถุประสงค์เผือขาย
                                               ั               ่
                   เดบิต บัญชีหลักทรัพย์เผือขาย-หุ นหนี้
                                                     ่       ้               XX
                           บัญชีดอกเบี้ยค้างรับ                              XX
                           เครดิต บัญชีเงินสด                                      XX
         บัญชีดอกเบี้ยค้างรับที่บนทึกนั้น จะถูกโอนออกในวันรับดอกเบี้ยงวดแรก โดยจานวนเงินสดที่
                                  ั
ได้รับ ณ วันที่ รับ ดอกเบี้ ย งวดแรก จะถื อเป็ นรายได้ ของกิ จการเฉพาะช่ วงเวลาที่ นับ จากวัน ที่ ซ้ื อ
หลักทรัพย์จนถึงวันที่รับดอกเบี้ยงวดแรก ซึ่ งกิจการจะบันทึกบัญชี โดย
                   เดบิต บัญชีเงินสด                                         XX
                           เครดิต บัญชีดอกเบี้ยค้างรับ                             XX
                                    บัญชีดอกเบี้ยรับ                               XX
         เมื่อกิ จการได้รับดอกเบี้ยงวดถัดไป จานวนเงิ นสดที่ได้รับ ณ วันที่จ่ายดอกเบี้ยในงวดนี้ จะถื อ
เป็ นรายได้ ของกิจการทั้งจานวน ซึ่ งกิจการจะบันทึกบัญชี โดย
                           เดบิต บัญชีเงินสด                                 XX
                                    เครดิต บัญชีดอกเบี้ยรับ                        XX
50



        ในวันสิ้ นของระยะเวลาบัญชี ให้ทาการปรับปรุ งดอกเบี้ยค้างรับ ของหลักทรัพย์ท่ีกิจการถือไว้
แต่ยงไม่ครบกาหนด เวลาจ่ายดอกเบี้ย นับช่วงเวลาจากวันที่ได้รับดอกเบี้ยครั้งสุ ดท้ายจนถึงวันสิ้ นรอบ
    ั
เวลาบัญชี ซึ่ งถือเป็ นรายได้ของกิจการที่เกิดขึ้นแล้วแต่ยงไม่ได้รับเงิน กิจการจะบันทึกบัญชี โดย
                                                         ั
                           เดบิต บัญชีดอกเบี้ยค้างรับ                         XX
                                   เครดิต บัญชีดอกเบี้ยรับ                            XX

                       ั                           ้
ตัวอย่างที่ 4 บริ ษทเมืองไทยจากัด ลงทุนซื้ อหุ ้นกูของบริ ษท ที่จดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่ ง
                                                                ั
ประเทศไทย เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2547 ดังนี้
-           บริ ษ ัท              1,000 หุ ้ น มู ล ค่ า หุ ้ น ละ 100 บาท ในราคาหุ ้น ละ 105 บาท
                             ้
ค่าธรรมเนี ยม 0.5% หุ ้นกูกาหนดจ่ายดอกเบี้ยในอัตราร้ อยละ 10 โดยจ่ายดอกเบี้ ยในวันที่ 1 เมษายน
และ 1 ตุลาคม โดยมีวตถุประสงค์เพื่อค้า
                     ั
-           บริ ษท
                 ั                2,000 บ ท มูลค่าหุ ้นละ 100 บาท ในราคาหุ ้นละ 108 บาท เสี ย
                           ้
ค่าธรรมเนี ยม 0.5% หุ ้นกูกาหนดจ่ายดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 12 โดยจ่ายดอกเบี้ยในวันที่ 1 มิถุนายน
และ 1 ธันวาคม โดยมีวตถุประสงค์ถือไว้เผือขาย
                         ั              ่
        จะบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้
                                     ่
 2547
                               ้ ้ ั
  เม.ย.28 หลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนกูบริ ษท C จากัด                               104,475 -
                  เงินสด                                                                   104,475 -
          บั น ทึ ก การลงทุ น ในหลัก ทรั พ ย์หุ้ น กู้ บ ริ ษัท C จ ากั ด มี
          วัตถุประสงค์เพื่อค้า
          หลักทรัพย์เผื่อขาย-หุนบริ ษท D จากัด
                                ้      ั                                       214,920 -
          ดอกเบี้ยค้างรับ                                                        8,000 -
                  เงินสด                                                                   222,920 -
          บัน ทึ ก การลงทุ น ในหลัก ทรั พ ย์หุ้ น กู้ บริ ษัท D จ ากัด มี
          วัตถุประสงค์ถือไว้เผื่อขาย
51




2547
  มิ.ย. 1 เงินสด                                                             12,000 -
                 ดอกเบี้ยค้างรับ                                                        8,000 -
                 ดอกเบี้ยรับ                                                            4,000 -
          บัน ทึ ก รั บ ดอกเบี้ ย หุ ้นกู้ 12% ของบริ ษ ัท D จ ากัด จ านวน
          2,000 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 100 บาท ระยะเวลา 6 เดือน (1ธ.ค.
          2547 – 1 มิ.ย. 2547)
 ต.ค. 1 เงินสด                                                               5,000 -
                 ดอกเบี้ยรับ                                                            5,000 -
          บันทึ กรับดอกเบี้ ยหุ ้นกู้ 10% ของบริ ษท C จากัด จานวน
                                                          ั
          1,000 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 100 บาท ระยะเวลา 6 เดือน (1 เม.ย. –
          1 ต.ค. 2547)
  ธ.ค. 1 เงินสด                                                              12,000 -
                 ดอกเบี้ยรับ                                                            12,000 -
          บันทึกรับดอกเบี้ยหุ ้นกู้ 12% ของบริ ษท     ั       ่ากัด จานวน
          2,000 หุน มูลค่าหุนละ 100 บาท ระยะเวลา 6 เดือน (1 มิ.ย. – 1
                    ้           ้
          ธ.ค. 2547)
       31 ดอกเบี้ยค้างรับ                                                    2,500 -
                 ดอกเบี้ยรับ                                                            2,500 -
          ปรับปรุ งดอกเบี้ ยหุ ้นกู้ 10% ของบริ ษท C จากัด จานวน
                                                            ั
          1,000 หุน มูลค่าหุ ้นละ 100 บาท ระยะเวลา 3 เดือน (1 ต.ค. –
                      ้
          31 ธ.ค. 2547)
       31 ดอกเบี้ยค้างรับ                                                    2,000 -
                 ดอกเบี้ยรับ                                                            2,000 -
          ปรับปรุ งดอกเบี้ยหุ ้นกู้ 12% ของบริ ษท       ั     ่ากัด จานวน
          2,000 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 100 บาท ระยะเวลา 1 เดือน (1 ธ.ค.-
          31 ธ.ค. 2547)
52



วิธีคานวณเมื่อซื้อ -          รายการหลักทรัพย์เพื่อค้า บริ ษท ่ากัด
                                                             ั
                              ราคาทุน :ราคาซื้ อ (1,000 หุน x 105 บาท)
                                                          ้                                 105,000    บาท
                                       หัก ค่าธรรมเนียม (0.5% x 105,000บ ท)                     525    บท
                                       ราคาทุน                                              104,475    บาท
                                       ราคาทุนต่อหุ น = 104,475 บาท =
                                                     ้                                      104.475    บท
                                                            1,000 หุน
                                                                    ้
  -                           รายการหลักทรัพย์เผือขาย บริ ษท D จากัด
                                                 ่            ั
                              ราคาทุน              (2,000 หุน x 108 บาท)
                                                            ้                               216,000    บาท
                                        หัก ค่าธรรมเนียม (0.5% x 216,000 บ ท)                 1,080    บท
                                        ราคาทุน                                             214,920    บาท
                                        ราคาทุนต่อหุ น = 214,920 บ ท =
                                                       ้                                    107.46     บาท
                                                                2,000 หุน
                                                                        ้
                  ดอกเบี้ยค้างรับ       บ       ที่มีการจ่ายดอกเบี้ยครั้งสุ ดท้าย จนถึงวันที่ซ้ื อหลักทรัพย์
                                     1 ธ.ค. 2546 – 1 เม.ย. 2547          =        4เ
                                     = (2,000 หุน x 100 บ ท) x 12% x 4
                                                ้
                                                                         12
                                     = 200,000 x 12 x 4
                                                  100 12
                                     = 8,000 บาท
         2. การบันทึกบัญชีเมื่อขายหลักทรัพย์
             เมื่ อกิ จการมี ความต้องการใช้เงิ น หรื อเห็ นว่าขณะนี้ ราคาตลาดของหลักทรั พย์ได้สูง ขึ้ น
กิ จการจะทาการขายหลักทรั พย์ที่ถืออยู่ออกไป ซึ่ งในการขายจะต้องเสี ยค่าธรรมเนี ยมและค่าใช้จ่าย
ต่างๆ จึงทาให้กิจการได้รับเงินสุ ทธิ จากราคาขาย เท่ากับ ราคาขาย หักค่าธรรมเนี ยมและค่าใช้จ่ายต่างๆ
แล้ว หากวันที่ ขายหลักทรัพย์ตรงกับวันที่ จ่ายดอกเบี้ย แต่ถาวันที่ ขายหลักทรั พย์ไม่ตรงกับวันที่จ่าย
                                                                  ้
ดอกเบี้ ย กิ จ การผู ้ข ายหลัก ทรั พ ย์จ ะต้อ งคิ ด ดอกเบี้ ย จากผู ้ซ้ื อ หลัก ทรั พ ย์ด้ว ยระยะเวลาจากวัน ที่
หลักทรั พย์จ่ายดอกเบี้ยครั้ งสุ ดท้าย จนถึ งวันที่ ขายหลักทรั พย์ ฉะนั้น จานวนเงิ นสุ ทธิ จากการขายที่
กิจการจะได้รับ จึงรวมดอกเบี้ยค้างรับด้วย
53



ตัวอย่างที่ 5 จากตัวอย่างที่ 4 สมมติวา เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2547 บริ ษทเมืองไทย จากัด ขายหุ ้นกู้
                                     ่                                ั
ของบริ ษท ่ากัด จาวน 600 หุ ้น ในราคาหุ ้นละ 107 บาท เสี ยค่าธรรมเนี ยม 0.5% และ ขายหุ ้นกู้
         ั
ของบริ ษท D จากัด จานวน 1,500 หุ ้น ในราคาหุ ้นละ 110 บาท เสี ยค่าธรรมเนี ยม 0.5% ะบันทึก
           ั
รายการในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้
                    ่
2547
ต.ค. 1   เงินสด                                                                5,000 -
               ดอกเบี้ยรับ                                                                     5,000 -
         บันทึกรับดอกเบี้ยหุ ้นกู้ 10% ของบริ ษท C จากัด จานวน 1,000 หุ ้น
                                                  ั
         มูลค่าหุนละ 100 บาท ระยะเวลา 6 เดือน (1 เม.ย. – 1 ต.ค. 2547)
                 ้
         จานวน 600 หุน ในราคาหุนละ 107 บาท เสี ยค่าธรรมเนียม 0.5%
                       ้                ้
         เงินสด                                                               63,879 -
               หลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนกู้ บริ ษท C จากัด
                                          ้     ั                                             62,685 -
               รายการกาไรที่เกิดขึ้นจากการจาหน่ายหลักทรัพย์                                    1,194 -
         บันทึกการขายหุ ้นกู้ บริ ษท C จากัด จานวน 600 หุ ้น ในราคาหุ ้นละ
                                      ั
         107 บาท เสี ยค่าธรรมเนียม 0.5%
         เงินสด (164,175 + 6,000)                                             170,175 -
                            ่               ้ ้ ั
               หลักทรัพย์เผือขาย-หุนกูบริ ษท D จากัด                                          161,190 -
               รายการกาไรที่เกิดขึ้นจากการจาหน่ายหลักทรัพย์                                     2,985 -
               ดอกเบี้ยรับ                                                                      6,000 -
         บันทึกการขายหุนกู้ บริ ษท D จากัด จานวน 1,500 หุ ้น ในราคาหุ ้นละ
                         ้          ั
         110 บาท เสี ยค่าธรรมเนี ยม 0.5% วมดอกเบี้ยที่คาง 4 เดือน (1มิ.ย. –
                                                        ้
         1 ต.ค. 2547)


วิธีการคานวณเมื่อขาย -       รายการหลักทรัพย์เพื่อค้าบริ ษท C จากัด
                                                          ั
                                  ราคาขาย (6,000 หุน x 107 บ ท)
                                                     ้                               64,200   บาท
                                  หัก ค่าธรรมเนียม (0.5% x 64,200)                      321   บท
                                    จานวนเงินสุ ทธิที่ได้รับจากการขาย                63,879   บาท
                                  หัก ราคาทุน (600 หุน x 104.475)
                                                       ้                             62,685   บาท
                                    กาไรจากการจาหน่ายหลักทรัพย์                       1,194   บาท
54



  -                            รายการหลักทรัพย์เพื่อขาย บริ ษท ่ากัด
                                                               ั
                                    ราคาขาย (1,500 หุน x 110 บ ท)
                                                      ้                                          165,000    บาท
                                    หัก ค่าธรรมเนียม (0.5% x 165,000 บ ท)                            825    บท
                                      จานวนเงินสุ ทธิที่ได้รับจากการขาย                          164,175    บาท
                                    หัก ราคาทุน (1,500 หุน x 107.46 บาท)
                                                          ้                                      161,190    บาท
                                      กาไรจากการจาหน่ายเงินลงทุน                                   2,985    บาท

                             ดอกเบี้ยรับ สาหรับระยะเวลา 4 เดือน (1 มิ.ย. – 1 ต.ค. 2547)
                                     = (1,500 หุน x 100 บ ท) x12% x 4
                                                ้
                                                                   12
                                     = 150,000 x 12 x 4
                                                  100 12
                                     = 6,000 บ ท

          การบันทึกบัญชี เมื่อมีการเปลียนแปลงมูลค่ าของหลักทรัพย์
                                       ่
          มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 ของสมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาตแห่ งประเทศไทย
                                                                            ้
ได้กาหนดให้เงินลงทุนชัวคราวที่เป็ นหลักทรัพย์ประเภทตราสารทุน และตราสารหนี้ ในความต้องการ
                             ่
ของตลาด ที่จดอยู่ในประเภทของหลักทรัพย์เพื่อค้า และหลักทรัพย์เผื่อขาย แสดงมูลค่าในงบดุ ลด้วย
                ั
มูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ในงบดุลมูลค่ายุติธรรมดังกล่าว ก็คือราคาซื้ อขายหรื อราคาตลาดของหลักทรัพย์ที่
ปรากฏอยู่ในตลาดหลักทรัพย์ ณ สิ้ นวันนั้น ณ วันที่ในงบดุล ถ้ามีการเปลี่ ยนแปลงมูลค่าระหว่างราคา
ทุนกับราคาตลาดของหลักทรัพย์ ในปี แรก และถ้ามีการเปลี่ยนแปลงมูลค่าระหว่างราคาตามบัญชี กบ                             ั
ราคาตลาดของหลักทรัพย์ในปี ต่อๆ ไป กิจการจะต้องบันทึกการเปลี่ยนแปลงดังนี้
          กรณี เป็ นหลักทรัพย์ประเภทตราสารทุนในความต้องการของตลาด ที่อยูในประเภทหลักทรัพย์  ่
เพื่อค้า และหลักทรัพย์เผื่อขาย ผลต่างของการเปลี่ยนแปลงมูลค่าระหว่างราคาตามบัญชี กับราคาตลาด
ของหลัก ทรั พ ย์เ พื่ อ ค้า และหลัก ทรั พ ย์เ ผื่ อ ขาย รั บ รู ้ เ ป็ นก าไรหรื อ ขาดทุ น ในงวดบัญ ชี ที่ เ กิ ด การ
เปลี่ยนแปลงมูลค่าทันที โดยบันทึกบัญชีของกาไรขาดทุนนั้น ใน “บัญชี กาไรขาดทุนที่ยงไม่เกิดขึ้นจาก  ั
หลักทรัพย์เพื่อค้า – หุนทุน” หรื อ “บัญชีกาไรขาดทุนที่ยงไม่เกิดขึ้นจากหลักทรัพย์เผื่อขาย-หุ ้นทุน” ซึ่ ง
                        ้                                           ั
จะแสดงในงบกาไรขาดทุ นประจางวด ส่ วนมูล ค่ า ของหลัก ทรั พ ย์เพื่ อค้าและหลัก ทรั พ ย์เ ผื่อขาย ที่
เพิ่มขึ้นหรื อลดลง จากราคาตามบัญชีจะบันทึกใน “บัญชีค่าเผือการปรับมูลค่าหลักทรัพย์เพื่อค้า-หุ ้นทุน”
                                                                         ่
หรื อ “บัญชีค่าเผือการปรับมูลค่าหลักทรัพย์เผือขาย-หุนทุน” ซึ่ งเป็ นบัญชีปรับมูลค่าของบัญชี
                   ่                                ่       ้
55



หลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนทุน หรื อบัญชีหลักทรัพย์เผือขาย-หุ นทุน ในงบดุลนันเอง
                     ้                             ่     ้                 ่
             1. เมื่อกิจการเกิดผลต่างของการเปลี่ ยนแปลงมูลค่าของหลักทรัพย์ เนื่ องจากราคาตลาด
มากกว่าราคาตามบัญชี จะรับรู ้เป็ นกาไร บันทึกบัญชีโดย
        เดบิต บัญชีค่าเผือปรับมูลค่าหลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนทุน
                           ่                               ้                           XX
                  เครดิต บัญชีกาไรขาดทุนที่ยงไม่เกิดขึ้นจากหลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนทุน
                                               ั                                   ้         XX
        หรื อ
        เดบิต บัญชีค่าเผือการปรับมูลค่าหลักทรัพย์เผือขาย-หุนทุน
                             ่                         ่       ้                       XX
                  เครดิต บัญชีกาไรขาดทุนที่ยงไม่เกิดขึ้นจากหลักทรัพย์เผือขาย-หุ นทุน
                                                 ั                               ่   ้       XX
             2. ถ้าผลต่างที่เกิ ดขึ้น เนื่ องจากราคาตลาดน้อยกว่าราคาตามบัญชี จะรั บรู ้ เป็ นขาดทุ น
บันทึกบัญชีโดย
        เดบิต บัญชีกาไรขาดทุนที่ยงไม่เกิดขึ้นจากหลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนทุน
                                        ั                                    ้         XX
                  เครดิต บัญชีค่าเผือการปรับมูลค่าหลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนทุน
                                    ่                                  ้                     XX
        หรื อ
        เดบิต บัญชีกาไรขาดทุนที่ยงไม่เกิดขึ้นจากหลักทรัพย์เผือขาย-หุนทุน
                                          ั                        ่           ้       XX
                  เครดิต บัญชีค่าเผือการปรับมูลค่าหลักทรัพย์เผือขาย-หุ นทุน
                                      ่                          ่       ้                   XX

        สาหรับงวดต่อมา หากหลักทรัพย์ประเภทตราสารทุนในความต้องการของตลาด ไม่วาจะเป็ น      ่
ประเภทหลักทรัพย์เพื่อค้า หรื อหลักทรัพย์เ ผื่อขาย ยังคงมียอดคงเหลื ออยู่ กิ จการยังคงต้องการแสดง
มูลค่าของหลักทรัพย์ดงกล่าวในงบดุล ด้วยมูลค่ายุติธรรมหรื อราคาตลาด ณ วันที่ในงบดุล โดยกิจการ
                     ั
ต้องบันทึกการเปลี่ยนแปลงมูลค่าระหว่างราคาตามบัญชี ของหลักทรัพย์ซ่ ึ งเป็ นราคาตลาด ณ วันที่ของ
งบดุลในงวดก่อน กับราคาตลาด ณ วันที่ในงบดุลของงวดปั จจุบน    ั

ตัวอย่างที่ 6 บริ ษทสยามชัย จากัด ซื้ อหลักทรัพย์เพื่อค้าหุ ้นสามัญ บริ ษท อเนก จากัด เมื่อวันที่ 1
                        ั                                                    ั
มีนาคม 2547 เป็ นเงิน 120,000 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 หุ ้นสามัญของบริ ษทอเนก จากัด มี
                                                                                     ั
มูลค่ายุติธรรม 130,000 บาท
          หลักทรัพย์เพื่อค้า ราคาทุน 120,000 บาท ณ วันสิ้ นปี มีมูลค่ายุติธรรม 130,000 บาท เนื่องจาก
ราคาตลาดมากว่าราคาทุน จะรับรู ้ เป็ นกาไรที่ยงไม่เกิดขึ้น 10,000 บาท ที่จะบันทึกในงบกาไรขาดทุน
                                              ั
และหลักทรัพย์มีมูลค่าเพิ่มขึ้น 10,000 บาท บันทึกบัญชี โดย
56



        เดบิต   ค่าเผื่อการปรับมูลค่าหลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนสามัญบริ ษทอเนก จากัด 10,000
                                                          ้          ั
                เครดิต กาไรขาดทุนที่ยงไม่เกิดขึ้นจากหลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนสามัญบริ ษทอเนก จากัด 10,000
                                         ั                                ้           ั
        บัญชีค่าเผือการปรับมูลค่าหลักทรัพย์เพื่อค้า-หุ นสามัญบริ ษทอเนก จากัด เมื่อแสดงในงบดุลจะ
                    ่                                  ้          ั
เป็ นบัญชี ปรับเพิ่มยอดหลักทรัพย์เพื่อค้า ทาให้มูลค่าของหลักทรัพย์เพื่อค้าที่แสดงในงบดุ ล จะแสดง
ด้วยมูลค่ายุติธรรม คือ 130,000 บาท

ตัวอย่างที่ 7 บริ ษทสยามชัย จากัด ซื้ อหลักทรัพย์เผื่อขาย หุ ้นสามัญบริ ษท อนันต์ จากัด เมื่อวันที่ 1
                          ั                                                   ั
เมษายน 2547 เป็ นเงิน 150,000 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 หุ ้นสามัญของบริ ษทอนันต์ จากัด มี
                                                                                        ั
มูลค่ายุติธรรม 110,000 บาท
          หลักทรัพย์เผื่อขาย ราคาทุน 150,000 บาท ณ วันสิ้ นปี มีมูลค่ายุติธรรม 110,000 บาท เนื่องจาก
ราคาตลาดน้อยกว่าราคาทุ น จะรั บรู ้ เป็ นขาดทุ นที่ ยง ไม่เกิ ดขึ้ น 40,000 บาท ที่ จะบันทึ ก ในงบกาไร
                                                      ั
ขาดทุนและหลักทรัพย์มีมูลค่าลดลง 40,000 บาท บันทึกบัญชี โดย
          เดบิต กาไรขาดทุนที่ยงไม่เกิดขึ้นจากหลักทรัพย์เผือขาย-
                                       ั                        ่
                    หุนสามัญบริ ษท อนันต์ จากัด
                        ้            ั                                          40,000
                    เครดิต ค่าเผือการปรับมูลค่าหลักทรัพย์เผือขาย-
                                   ่                          ่
                            หุ นสามัญ บริ ษท อนันต์ จากัด
                               ้           ั                                           40,000
          บัญชีค่าเผือการปรับมูลค่าหลักทรัพย์เผือขาย-หุ นสามัญบริ ษท อนันต์ จากัด เมื่อแสดงในงบดุล
                      ่                          ่       ้             ั
จะเป็ นบัญชีปรับลดยอดหลักทรัพย์เผื่อขายทาให้มูลค่าของหลักทรัพย์เผื่อขายที่แสดงในงบดุ ลจะแสดง
ด้วยมูลค่ายุติธรรม คือ 110,000 บาท
          กรณี เ ป็ นหลัก ทรั พ ย์ป ระเภทตราสารหนี้ ในความต้อ งการของตลาด ที่ จ ัด อยู่ใ นประเภท
หลักทรัพย์เพื่อค้า และหลักทรัพย์เผือขาย ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงมูลค่าระหว่างราคาทุนกับราคาตลาดของ
                                         ่
หลัก ทรั พ ย์ใ นปี แรก และถ้า มี ก ารเปลี่ ย นแปลงมู ล ค่ า ระหว่า งราคาตามบัญ ชี กับ ราคาตลาดของ
หลักทรัพย์ในปี ต่อๆ ไป ให้บนทึกการเปลี่ยนแปลงเช่นเดียวกับหลักทรัพย์ประเภทตราสารทุน
                                 ั

การแสดงรายการเงินลงทุนชั่ วคราวในงบการเงิน
       เงิ นลงทุนชัวคราวที่เป็ นหลักทรัพย์ประเภทตราสารทุนและตราสารหนี้ ในความต้องการของ
                   ่
           ่
ตลาด ไม่วาจะเป็ นหลักทรัพย์เพื่อค้าหรื อหลักทรัพย์เผื่อขาย จะแสดงภาพใต้หวข้อสิ นทรัพย์หมุนเวียน
                                                                        ั
ในงบดุล ด้วยราคาตามบัญชีหรื อราคาตลาด ณ วันที่ ในงบดุล ดังนี้
57



                                         งบดุล (บางส่ วน)
                                     ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x1
                                              สิ นทรัพย์
สิ นทรัพย์หมุนเวียน
         :
เงินลงทุนชัวคราว
             ่
         หลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนทุน  ้                                                 XX
         บวก(หัก) ค่าเผือการปรับมูลค่าหลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนทุน
                            ่                               ้                         XX XX
         หลักทรัพย์เผือขาย-หุนทุน
                          ่             ้                                             XX
         บวก(หัก) ค่าเผือการปรับมูลค่าหลักทรัพย์เผือขาย-หุนทุน
                              ่                       ่         ้                     XX XX
         หลักทรัพย์เพื่อค้า-หุ นหนี้  ้                                               XX
         บวก(หัก) ค่าเผือการปรับมูลค่าหลักทรัพย์เพื่อค้า-หุ นหนี้
                                ่                             ้                       XX XX
         หลักทรัพย์เผือขาย-หุ นหนี้
                        ่                 ้                                           XX
         บวก(หัก) ค่าเผือการปรับมูลค่าหลักทรัพย์เผือขาย-หุ นหนี้
                                  ่                     ่         ้                   XX XX
         ส่ วนบัญชี กาไรขาดทุนที่ ยงไม่เกิ ดขึ้น หรื อกาไรขาดทุ นที่เกิ ดขึ้นแล้ว ในหลักทรัพย์ประเภท
                                              ั
                                            ่
ตราสารทุน และตราสารหนี้ ไม่วาจะเป็ นหลักทรัพย์เพื่อค้าหรื อหลักทรัพย์เผื่อขาย แสดงภายใต้หัวข้อ
รายได้อื่น หรื อค่าใช้จ่ายอื่น ในงบกาไรขาดทุน

ตัวอย่างที่ 8 จากตัวอย่างที่ 6 และ 7 จะแสดงรายการหลักทรัพย์เพื่อค้า และหลักทรัพย์เ ผื่อขาย ของ
บริ ษทสยามชัย จากัด ในงบดุล และงบกาไรขาดทุน ได้ดงนี้
     ั                                                  ั
                                 การแสดงรายการในงบดุล 2547 (บางส่ วน)
สิ นทรัพย์หมุนเวียน
        :
เงินลงทุนชัวคราว
             ่
        หลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนสามัญ
                             ้                                    120,000
        บวก ค่าเผือการปรับมูลค่าหลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนสามัญ
                    ่                                 ้            10,000   130,000
        หลักทรัพย์เผือขาย-หุนสามัญ
                      ่        ้                                  150,000
        หัก ค่าเผือการปรับมูลค่าหลักทรัพย์เผือขาย-หุนสามัญ
                  ่                          ่      ้              40,000   110,000
58



                             การแสดงรายการในงบกาไรขาดทุน 2547 (บางส่ วน)
รายได้อื่น
          กาไรขาดทุนที่ยงไม่เกิดขึ้นจากหลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนสามัญ
                        ั                                   ้                                        10,000
ค่าใช้จ่ายอื่น
          กาไรขาดทุนที่ยงไม่เกิดขึ้นจากหลักทรัพย์เผือขาย-หุนสามัญ
                          ั                         ่         ้                                      40,000

              กิจการย่อมต้องการมีรายได้เกิดขึ้นจานวนมากในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชี การซื้ อขายสิ นค้า
หรื อการให้บริ การ จึงมีท้ งที่เป็ นการซื้ อขายเป็ นเงินสดและเป็ นเงินเชื่ อ ส่ วนใหญ่จะเป็ นการซื้ อขายเป็ น
                            ั
เงิ นเชื่ อ แล้วได้รับช าระหนี้ เป็ นเอกสารเครดิ ต ที่ เรี ยกว่า ตัวเงิ นรั บ ซึ่ งเป็ นการเขี ยนสั ญญาเป็ นลาย
                                                                   ๋
ลักษณ์อกษรจากลูกค้าที่ซ้ื อสิ นค้าว่าจะนาเงินสดมาชดใช้ให้แก่กิจการ ตัวเงินรับจะเปลี่ยนเป็ นเงินสดได้
            ั                                                                  ๋
ก็ต่อเมื่อครบกาหนดเวลาจ่ายชาระตามที่ระบุไว้ในตัว แต่ถากิจการมีความจาเป็ นต้องใช้เงินสดก่อนวันที่
                                                        ๋      ้
ตัวครบกาหนด ก็สามารถนาตัวเงินรับไปขายลดให้สถาบันการเงิน เพื่อนาเงินมาใช้ก่อนได้
  ๋                                ๋

ความหมายของตั๋วเงินรับ
         ตัวเงินรับ หมายถึง คามันสัญญาเป็ นลายลักษณ์อกษรโดยปราศจากเงื่อนไขที่บุคคลหนึ่ งรับจะ
           ๋                    ่                     ั
ชาระเงิ นจานวนหนึ่ งที่แน่นอนให้แก่อีกบุคคลหนึ่ งภายในเวลาที่กาหนด (สมาคมนักบัญชี และผูสอบ   ้
บัญชี รับอนุ ญาตแห่ งประเทศไทย, 2538, หน้า68) ดังนั้น ตัวเงินรับจึงเป็ นเอกสารแสดงสิ ทธิ ในการรับ
                                                        ๋
ชาระหนี้ของกิจการ ซึ่ งนอกจากกิจการจะได้รับตามจานวนเงินที่เป็ นมูลค่าหนี้ แล้ว กิจการอาจจะได้รับ
ผลตอบแทนจากตัวเงินรับในรู ปของดอกเบี้ยรับอีกด้วย
                   ๋

ประเภทของตั๋วเงินรับ
          ตามประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา 898 แบ่งตัวเงินออกเป็ น 3 ประเภท คือ ตัวแลก
                                                                           ๋                                   ๋
เงิน ตัวสัญญาใช้เงิน และ เช็ค
       ๋
          ตั๋วแลกเงิน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา 908 ได้บญญัติวา “อันตัวแลกเงิ น
                                                                                         ั         ่       ๋
นั้นคื อ หนัง สื อตราสารซึ่ งบุ ค คลหนึ่ งเรี ย กว่า ผูสั่ง จ่าย สั่งบุ ค คลอี ก คนหนึ่ งเรี ย กว่า ผูจ่าย ให้ใ ช้เงิ น
                                                       ้                                              ้
จานวนหนึ่ งแก่บุคคลหนึ่ ง หรื อให้ใช้ตามคาสั่งอีกบุคคลหนึ่ ง ซึ่ งเรี ยกว่า ผูรับเงิน และ มาตรา 909 ได้
                                                                                    ้
บัญญัติให้ตวแลกเงิน ต้องมีรายการ ดังต่อไปนี้
              ั๋
                 1. คาบอกชื่อว่า เป็ นตัวแลกเงิน
                                        ๋
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ

More Related Content

What's hot

หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนหลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนtelecentreacademy
 
การบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointการบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointOrawonya Wbac
 
บัญชีเบื้องต้น
บัญชีเบื้องต้นบัญชีเบื้องต้น
บัญชีเบื้องต้นsaowanee
 
การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1Siriya Lekkang
 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...Earn LikeStock
 
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจOrawonya Wbac
 
บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1Orawonya Wbac
 
Read financial statement in 3 hours
Read financial statement in 3 hoursRead financial statement in 3 hours
Read financial statement in 3 hoursEarn LikeStock
 
Financial management for exceutive
Financial management for exceutiveFinancial management for exceutive
Financial management for exceutiveKASETSART UNIVERSITY
 
บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชีบทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชีPa'rig Prig
 
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจการเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจsmile-girl
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าKu'kab Ratthakiat
 

What's hot (19)

ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2
 
5
55
5
 
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนหลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
 
Ch1
Ch1Ch1
Ch1
 
การบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointการบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power point
 
4เช็ค
4เช็ค4เช็ค
4เช็ค
 
บัญชีเบื้องต้น
บัญชีเบื้องต้นบัญชีเบื้องต้น
บัญชีเบื้องต้น
 
หน่วยที่ 3ร่วมค้า
หน่วยที่ 3ร่วมค้าหน่วยที่ 3ร่วมค้า
หน่วยที่ 3ร่วมค้า
 
1
11
1
 
การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
 
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
 
บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1
 
Read financial statement in 3 hours
Read financial statement in 3 hoursRead financial statement in 3 hours
Read financial statement in 3 hours
 
Financial management for exceutive
Financial management for exceutiveFinancial management for exceutive
Financial management for exceutive
 
บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชีบทที่  3   การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
บทที่ 3 การเลิกห้างหุ้นส่วนและการชำระบัญชี
 
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจการเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
 

Viewers also liked

แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชีแบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชีวาสนา ทีคะสาย
 
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตนCh4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตนple2516
 
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไปแผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไปNoree Sapsopon
 
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารเรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารNoo Jomkwan Parida
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าKu'kab Ratthakiat
 
แบบฝึกหัดบทที่ 7
แบบฝึกหัดบทที่ 7แบบฝึกหัดบทที่ 7
แบบฝึกหัดบทที่ 7PümPüy Ża
 
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรมCh7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรมple2516
 
งบการเงิน
งบการเงินงบการเงิน
งบการเงินsiriwaan seudee
 
เอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชีเอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชีAttachoke Putththai
 
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102Chenchira Chaengson
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชีความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชีAttachoke Putththai
 

Viewers also liked (20)

013
013013
013
 
023
023023
023
 
010
010010
010
 
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชีแบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
 
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตนCh4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
 
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไปแผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
 
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
 
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารเรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
 
รายวิชา
รายวิชารายวิชา
รายวิชา
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
 
แบบฝึกหัดบทที่ 7
แบบฝึกหัดบทที่ 7แบบฝึกหัดบทที่ 7
แบบฝึกหัดบทที่ 7
 
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรมCh7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
 
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
 
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
 
งบการเงิน
งบการเงินงบการเงิน
งบการเงิน
 
เอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชีเอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชี
 
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
 
ระบบใบสำคัญจ่าย 2
ระบบใบสำคัญจ่าย 2ระบบใบสำคัญจ่าย 2
ระบบใบสำคัญจ่าย 2
 
บัญชีต้นทุน1
บัญชีต้นทุน1บัญชีต้นทุน1
บัญชีต้นทุน1
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชีความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
 

Similar to Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ

บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุนบทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุนWannisa Chaisingkham
 
ตราสารทางการเงิน Financial instruments
ตราสารทางการเงิน Financial instrumentsตราสารทางการเงิน Financial instruments
ตราสารทางการเงิน Financial instrumentsPeerapat Teerawattanasuk
 
บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8praphol
 
ใบหลักทรัพย์Km
ใบหลักทรัพย์Kmใบหลักทรัพย์Km
ใบหลักทรัพย์Kmseteru
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2praphol
 
ประหยัดภาษีอย่างฉลาดไม่พลาดลงุทุน Ltf&rmf
ประหยัดภาษีอย่างฉลาดไม่พลาดลงุทุน Ltf&rmfประหยัดภาษีอย่างฉลาดไม่พลาดลงุทุน Ltf&rmf
ประหยัดภาษีอย่างฉลาดไม่พลาดลงุทุน Ltf&rmfThanyawan Chaisiri
 
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารpptapple_clubx
 
หลักการลงทุน-Forex.pdf
หลักการลงทุน-Forex.pdfหลักการลงทุน-Forex.pdf
หลักการลงทุน-Forex.pdfPawachMetharattanara
 
ชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนthnaporn999
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศthnaporn999
 

Similar to Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ (20)

TAS 105
TAS 105TAS 105
TAS 105
 
08chap06
08chap0608chap06
08chap06
 
08chap06 (2)
08chap06 (2)08chap06 (2)
08chap06 (2)
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุนบทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
บทที่ 6 การแตกหุ้น สิทธิซื้อหุ้น เงินกองทุน
 
ตราสารทางการเงิน Financial instruments
ตราสารทางการเงิน Financial instrumentsตราสารทางการเงิน Financial instruments
ตราสารทางการเงิน Financial instruments
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8
 
ใบหลักทรัพย์Km
ใบหลักทรัพย์Kmใบหลักทรัพย์Km
ใบหลักทรัพย์Km
 
ฉลาดใช้ฉลาดออม
ฉลาดใช้ฉลาดออมฉลาดใช้ฉลาดออม
ฉลาดใช้ฉลาดออม
 
Chapter 6 2
Chapter 6 2Chapter 6 2
Chapter 6 2
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 
08 businessfinance v1
08 businessfinance v108 businessfinance v1
08 businessfinance v1
 
unit01
unit01unit01
unit01
 
ประหยัดภาษีอย่างฉลาดไม่พลาดลงุทุน Ltf&rmf
ประหยัดภาษีอย่างฉลาดไม่พลาดลงุทุน Ltf&rmfประหยัดภาษีอย่างฉลาดไม่พลาดลงุทุน Ltf&rmf
ประหยัดภาษีอย่างฉลาดไม่พลาดลงุทุน Ltf&rmf
 
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
8)หน่วยที่ 8 การเงิน การธนาคารppt
 
หลักการลงทุน-Forex.pdf
หลักการลงทุน-Forex.pdfหลักการลงทุน-Forex.pdf
หลักการลงทุน-Forex.pdf
 
ใบงานที่ T7
ใบงานที่ T7ใบงานที่ T7
ใบงานที่ T7
 
ชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วนชุด ห้างหุ้นส่วน
ชุด ห้างหุ้นส่วน
 
การค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศการค้าระหว่างประเทศ
การค้าระหว่างประเทศ
 

Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ

  • 1. บทที่ 2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ ่ ในการดาเนิ นงานของกิจการ บางครั้งอาจจะมีเงินสด คงเหลืออยูมากเกินกว่าความต้องการใช้ ในขณะนั้น กิ จการที่ มีการบริ หารเงิ นที่ดีจะนาเงิ นไปซื้ อเงิ นลงทุ น เพื่อแสวงหาผลตอบแทนจากการ ลงทุนในรู ปดอกเบี้ย เงิ นปั นผล หรื อค่าสิ ทธิ เป็ นต้น หรื อกิ จการอาจมีความจาเป็ นที่จะต้องสร้ าง ความสัมพันธ์ในเชิ งธุ รกิ จ โดยลงทุนในรู ปของหลักทรัพย์ประเภทหุ ้นสามัญ ซึ่ งจะทาให้กิจการได้รับ ประโยชน์ในอนาคต โดยทัวไปแล้วกิจการมักนาเงินสดไปลงทุนหาผลตอบแทนในระยะเวลาสั้น ๆ ซึ่ ง ่ เป็ นการลงทุนชัวคราว และเมื่อใดที่ตองการจะใช้เงินก็สามารถขายเงินลงทุนเปลี่ยนเป็ นเงินสดได้ทนที ่ ้ ั และไม่ทาให้เกิ ดผลขาดทุน ดังนั้น เพื่อให้เกิ ดประโยชน์มากที่สุดในการบริ หารเงิ น กิ จการควรมีการ พิจารณากาหนดจานวนเงินที่จะนาไปลงทุน และช่วงระยะเวลาที่จะลงทุนให้เหมาะสม ซึ่ งบทนี้ จะเน้น การศึกษาเกี่ยวกับเงินลงทุนชัวคราว ่ ความหมายของเงินลงทุน มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 เรื่ องการบัญชี สาหรับเงิ นลงทุนในตราสารหนี้ และตราสารทุน ของสมาคมนักบัญชี และผูสอบบัญชีรับอนุ ญาตแห่ งประเทศไทย (2542, หน้า4-5) ได้กาหนดคานิยาม ้ ศัพท์ โดยเฉพาะ ไว้ดงนี้ ั เงินลงทุน หมายถึง สิ นทรั พย์ที่กิจการมีไว้เพื่อเพิ่มความมังคังให้กบกิจการ ไม่วาจะอยูในรู ป ่ ่ ั ่ ่ ของส่ วนแบ่งที่จะได้รับ (เช่น ดอกเบี้ย ค่าสิ ทธิ และเงินปั นผล) ในรู ปของราคาที่เพิ่มขึ้น หรื อในรู ปของ ประโยชน์อย่างอื่นที่กิจการได้รับ (เช่น ประโยชน์ที่ได้รับจากความสัมพันธ์ทางการค้า) ประเภทของเงินลงทุน เงินลงทุน สามารถแบ่งตามระยะเวลาการถือไว้ในกิจการ ได้เป็ น 2 ประเภท คือ 1. เงินลงทุนชัวคราว หมายถึง เงินลงทุนที่กิจการตั้งใจจะถือไว้ไม่เกิน 1 ปี เงินลงทุนชัวคราว ่ ่ รวมถึงหลักทรัพย์เพื่อค้า หลักทรัพย์เ ผื่อขาย เงิ นลงทุนทัวไป และตราสารหนี้ ที่จะครบกาหนดภายใน ่ 1 ปี
  • 2. 42 2. เงินลงทุนระยะยาว หมายถึง เงินลงทุนที่กิจการตั้งใจจะถือไว้เกิน 1 ปี เงินลงทุนระยะยาว รวมถึง ตราสารทุนที่จดประเภทเป็ นหลักทรัพย์เ ผื่อขาย เงิ นลงทุนทัวไป ตราสารหนี้ ที่จดประเภทเป็ น ั ่ ั หลักทรัพย์เผือขาย และตราสารหนี้ท่ีจะถือจนครบกาหนด ่ เงินลงทุน สามารถแบ่งตามแหล่งที่มาของหลักทรัพย์ เป็ น 2 ชนิด คือ 1. เงินลงทุนในหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด หมายถึง หลักทรัพย์ หรื อเงินลงทุนอื่น ที่มีการซื้ อขายในตลาดซื้ อขายคล่อง จึ งทาให้สามารถกาหนดมูลค่ายุติธรรมของหลักทรัพย์หรื อเงิ น ลงทุนนั้นได้ทนที มูลค่ายุติธรรมจะถื อว่าสามารถกาหนดได้ในทันที หากราคาขายหรื อราคาเสนอซื้ อ ั หรื อเสนอขายมีการเผยแพร่ ท่ีเป็ นปั จจุบนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย หรื อตลาดหลักทรัพย์อื่น ั ที่ทาการเผยแพร่ ราคาต่อสาธารณชน ่ 2. เงินลงทุนทัวไป หมายถึง เงินลงทุนในตราสารทุน ที่ไม่อยูในความต้องการของตลาด ทา ่ ให้กิจการไม่สามารถจัดประเภทเป็ นหลักทรัพย์เพื่อค้าหรื อหลักทรัพย์เพื่อขาย เงินลงทุนทัวไปสามารถ ่ แยกประเภทเป็ นเงินลงทุนชัวคราว หรื อเงินลงทุนระยะยาว ่ เงินลงทุนในหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด ยังสามารถแบ่งได้เป็ น 2 ประเภท คือ 1. ตราสารทุ น หมายถึ ง สั ญญาที่ แสดงว่า ผูถือตราสารมี ความเป็ นเจ้าของในส่ วนได้เสี ย ้ คงเหลือของกิ จการที่ไปลงทุน เช่น หุ ้นสามัญ หุ นบุริมสิ ทธิ และยังรวมถึ งใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ในหุ ้น ้ ทุน ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ในการซื้ อหุ ้นทุน (หน่วยลงทุนในกองทุนรวม) ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ใบหุ ้นปั น ผล และตราสารหรื อหลักฐานแสดงสิ ทธิในสิ นทรัพย์ของโครงการจัดการลงทุน แต่หลักทรัพย์หุนทุนนี้ ้ จะไม่รวมถึงหุ นบุริมสิ ทธิ ที่อาจไถ่ถอนได้ และไม่รวมถึงหุ นกู้ ที่อาจแปลงสภาพเป็ นหุ นทุนได้ ้ ้ ้ 2. ตราสารหนี้ หมายถึง สัญญาที่แสดงว่าผูออกตราสารมีภาระผูกพันทั้งทางตรงและทางอ้อม ้ ที่จะต้องจ่ายเงิ นสด หรื อสิ นทรัพย์อื่น ให้แก่ผูถือตราสารตามจานวนและเงื่อนไข ที่ได้กาหนดไว้ เช่ น ้ หุ นกู้ พันธบัตร ทั้งนี้ได้รวมถึงใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ในหุ นกู้ ใบสาคัญแสดงสิ ทธิ ที่จะซื้ อหุ นกู้ ้ ้ ้ ซึ่ งการลงทุนในตราสารทุนและตราสารหนี้ในหลักทรัพย์ตามความต้องการของตลาด สามารถ จัดประเภทได้ ดังนี้ หลักทรัพย์เพื่อค้า หมายถึง เงินลงทุนในตราสารหนี้ ทุกชนิ ด หรื อตราสารทุนในความต้องการ ของตลาดที่กิจการถือไว้โดยมีวตถุประสงค์หลักที่จะขายในอนาคตอันใกล้ ทาให้กิจการถื อหลักทรัพย์ ั
  • 3. 43 นั้นไว้เป็ นระยะเวลาสั้นๆ เพื่อหากาไรจากการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์ ดังนั้น หลักทรัพย์เผื่อ ค้าจึงมีอตราการหมุนเวียนสู ง ั หลัก ทรั พ ย์เ ผื่ อขาย หมายถึ ง เงิ น ลงทุ นในตราสารหนี้ ทุ ก ชนิ ด หรื อตราสารทุ น ในความ ต้องการของตลาดซึ่ งไม่ถือเป็ นหลักทรัพย์เพื่อค้า และขณะเดียวกันไม่ถือเป็ นตราสารหนี้ท่ีจะถือจนครบ กาหนดหรื อเงิ นลงทุ นในบริ ษทย่อย หรื อบริ ษทร่ วม หลักทรัพย์เผื่อขายสามารถแยกประเภทเป็ นเงิ น ั ั ลงทุนชัวคราว หรื อเงินลงทุนระยะยาว ่ ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกาหนด หมายถึง ลงทุนในหลักทรัพย์ประเภทตราสารหนี้ ที่กิจการ มีความตั้งใจแน่วแน่ และมีความสามารถที่จะถือไว้จนครบกาหนดไถ่ถอน เนื่องจากว่าหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาดมีสภาพคล่องสู ง ทาให้กิจการมักจะนาเงินสด คงเหลือเกินความต้องการใช้ในกิจการมาลงทุนกับตราสารทุน หรื อตราสารหนี้ ในประเภทหลักทรัพย์ เพื่อค้า เพราะนอกจากจะได้รับผลตอบแทนในกาไรจากการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย์แล้ว เมื่อมี ความต้องการใช้เงินก็สามารถนาไปขายเปลี่ยนมาเป็ นเงินสดได้ทนที ั การซื้ อขายหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด ที่จะจัดอยู่ในประเภทของหลักทรัพย์เพื่อค้า นั้น ต้องเข้าตามหลักเกณฑ์ที่กาหนดไว้ หากหลักทรัพย์ใดไม่เป็ นไปตามเกณฑ์ท่ีกาหนด จะให้จดเป็ น ั ประเภทหลักทรัพย์เผือขายซึ่ งหลักเกณฑ์ที่ใช้กาหนดประเภทหลักทรัพย์เพื่อค้า มีดงนี้ ่ ั 1. หลักทรั พย์น้ ันต้องมี สภาพซื้ อง่ายขายคล่ อง หรื อสามารถทาการซื้ อขายได้ทนทีในตลาด ั หลักทรัพย์และ 2. หลักทรัพย์น้ นจะต้องมีการซื้ อขายกันอย่างสม่าเสมอ และ ั 3. ผูลงทุนในหลักทรัพย์น้ น มีความตั้งใจที่จะหากาไรจากการขึ้นลงของราคาในช่วงเวลาสั้นๆ ้ ั โดยจัดรวมเป็ นกลุ่มหลักทรัพย์ซ่ ึ งกิจการเจาะจงถือไว้เพื่อค้า เมื่ อกิ จการต้องการลงทุ นชัวคราว โดยการซื้ อหลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด จะต้อง ่ ติดต่อกับบริ ษทสมาชิกของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยเป็ นผูจดการให้ เนื่องจากตลาดหลักทรัพย์ ั ้ั จะทาการซื้ อขายเฉพาะกับบริ ษทสมาชิ กเท่านั้น โดยกิ จการจะต้องจ่ายค่าธรรมเนี ยมให้บริ ษทสมาชิ ก ั ั เหล่านั้นในอัตราที่ ตลาดหลักทรัพย์แห่ งประเทศไทยเป็ นผูกาหนดให้เรี ย กเก็บเป็ นร้ อยละ 0.50 ของ ้ จานวนเงิ นที่ซ้ื อขายสาหรับตราสารทุน และร้ อยละ 0.10 ของจานวนเงิ นที่ซ้ื อขายสาหรับตราสารหนี้ จาพวกพันธบัตร ทั้งนี้การคิดค่าธรรมเนียมดังกล่าวในแต่ละครั้งจะต้องไม่ต่ากว่า 50 บาท ทุกกรณี ซึ่ งการทาการซื้ อขายหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์จะใช้วิธีการประมูลราคา ดังนั้น กฎหมาย ไทยจึ งห้ามจาหน่ ายหลัก ทรั พย์ในราคาที่ ต่ ากว่ามู ลค่า คือ ราคาที่ตราไว้ (atpar) บนใบหุ ้นกู้ โดยให้
  • 4. 44 จาหน่ ายในราคาเท่ากับมูลค่าหรื อสู งกว่ามูลค่าก็ได้ถาคาดว่าหลักทรัพย์น้ ันจะให้ผลตอบแทนสู งกว่า ้ อัตราดอกเบี้ยในท้องตลาด การบัญชีเกียวกับเงินลงทุนชั่ วคราว ่ ในบทนี้ จะเป็ นการศึกษาเฉพาะ เงิ นลงทุนชัวคราวที่เป็ นหลักทรัพย์ประเภทตราสารทุน และ ่ ั ่ ตราสารหนี้ ในความต้องการของตลาดที่จดอยูในประเภทของหลักทรัพย์เพื่อค้า และหลักทรัพย์เผื่อขาย ซึ่ งมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 ของสมาคมนักบัญชี และผูส อบบัญชี รับอนุ ญาตแห่ งประเทศไทย ้ ั ่ กาหนดให้วดมูลค่าโดยใช้มูลค่ายุติธรรม และให้คานิยามมูลค่ายุติธรรมไว้วา หมายถึง จานวนเงินที่ผซ้ื อ ู้ ้ ั และผูขายตกลงแลกเปลี่ยนสิ นทรัพย์กน ในขณะที่ท้ งสองฝ่ ายมีความรอบรู ้และเต็มใจในการแลกเปลี่ยน ั และสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็ นอิสระ ในลักษณะของผูที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน โดยมีวิธีปฏิบติ ้ ั เกี่ยวกับการบัญชีสาหรับหลักทรัพย์ประเภทตราสารทุน และตราสารหนี้ ดังนี้ การบัญชี สาหรับหลักทรัพย์ ประเภทตราสารทุนในความต้ องการของตลาด ต้นทุนของหลักทรัพย์ประเภทตราสารทุน จะประกอบด้วยจานวนเงินของหลักทรัพย์ท่ีกิจการ ลงทุนซื้ อรวมทั้งค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่กิจการจ่ายเพื่อให้ได้มาซึ่ งหลักทรัพย์ดงกล่าวมาเช่น ค่าธรรมเนี ยม ค่า ั นายหน้า ค่ า ภาษี ค่ า ใช้จ่า ยในการโอน เป็ นต้น หากกิ จ การนาสิ น ทรั พ ย์อื่ นไปแลก ก็ ใ ห้ใ ช้มู ล ค่ า ยุติธรรมของสิ นทรัพย์ที่นาไปแลกเป็ นต้นทุนของหลักทรัพย์น้ น ั 1. การบันทึกบัญชีเมื่อซื้ อหลักทรัพย์ เมื่อกิ จการซื้ อตราสารทุนในความต้องการของตลาด ให้บนทึกบัญชี แยกแสดงเป็ นหลักทรัพย์ ั ่ ั เพื่อค้าหรื อหลักทรัพย์เผือขาย ทั้งนี้ข้ ึนอยูกบวัตถุประสงค์ในการลงทุนของกิจการว่าเป็ นอย่างไร ่ 1.1 ถ้ากิจการถือไว้เป็ นหลักทรัพย์เพื่อค้า จะบันทึกบัญชี ดังนี้ เดบิต บัญชีหลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนทุน้ XX เครดิต บัญชีเงินสด XX 1.2 ถ้าการถือไว้เป็ นหลักทรัพย์เผือขาย จะบันทึกบัญชี ดังนี้ ่ เดบิต บัญชีหลักทรัพย์เผือขาย-หุนทุน ่ ้ XX เครดิต บัญชีเงินสด XX
  • 5. 45 ตัวอย่างที่ 1 บริ ษัท เมื อ งไทย จ ากัด ลงทุ น ซื้ อ หุ ้ น สามัญ ของบริ ษัท ที่ จ ดทะเบี ย นกับ ตลาด หลักทรัพย์แห่งประเทศไทย เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2547 ดังนี้ - บริ ษท A จากัด จานวน 500 หุ ้น มู ลค่ า หุ ้นละ 100 บาท ในราคาหุ ้นละ 110 บาท เสี ย ั ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ รวมเป็ นเงิน 400 บาท โดยมีวตถุประสงค์เพื่อค้า ั - บริ ษทั 1,000 หุ ้น มูลค่ าหุ ้นละ 100 บาท ในราคาหุ ้นละ 120 บาท เสี ย ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ รวมเป็ นเงิน 700 บาท โดยมีวตถุประสงค์ถือไว้เผือขาย ั ่ จะบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้ ่ 2547 มิ.ย. 1 เดบิต หลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนสามัญบริ ษท A จากัด ้ ั 55,400 - เครดิต เงินสด 55,400 - บันทึกการลงทุนในหลักทรัพย์หุนสามัญ บริ ษท A จากัด ้ ั มีวตถุประสงค์เพื่อค้า ั เดบิต หลักทรัพย์เผือขาย-หุนสามัญ บริ ษท B จากัด ่ ้ ั 120,700 - เครดิต เงินสด 120,700 - บันทึกการลงทุนในหลักทรัพย์หุ้นสามัญบริ ษท B จากัด ั มีวตถุประสงค์ถือไว้เผื่อขาย ั วิธีการคานวณ - รายการหลักทรัพย์เพื่อค้า บริ ษท A จากัด ั ราคาซื้ อ (500 หุน x 110 บาท) ้ 55,000 บาท บวก ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ 400 บาท ราคาทุน 55,400 บาท ราคาทุนต่อหุ น = 55,400 บาท ้ = 110.80 บาท 500 หุน ้ วิธีการคานวณ - รายการหลักทรัพย์เผือขาย บริ ษท B จากัด ่ ั ราคาซื้ อ (1,000 หุน x 120 บาท) ้ 120,000 บาท บวก ค่าธรรมเนียมและค่าใช้จ่ายต่าง ๆ 700 บาท ราคาทุน 120,700 บาท ราคาทุนต่อหุ น = ้ 120,700 บาท = 120.70 บาท 1,000
  • 6. 46 2. การบันทึกบัญชีเมื่อรับผลตอบแทนจากการลงทุน เมื่ อ กิ จ การไม่ มี ก ารจ าหน่ า ยหลัก ทรั พ ย์ป ระเภทตราสารทุ น ในความต้อ งการของตลาด ผลตอบแทนที่ กิจการจะได้รับจากการลงทุ นซื้ อหลักทรั พย์ประเภทนี้ ก็ คือ เงิ นปั นผลรั บ (dividend revenue) ซึ่ งแสดงเป็ นบัญชี รายได้อื่น ในงบกาไรขาดทุน โดยผูออกหุ ้นที่กิจการไปลงทุนจะประกาศ ้ จ่ายเงินปั นผลและรายชื่อผูมีสิทธิ รับเงินปั นผลก่อน แล้วจึงจ่ายเงินให้ภายหลัง ้ 2.1 เมื่อมีการประกาศจ่ายเงินปั นผล บันทึกบัญชี โดย เดบิต บัญชีเงินปันผลค้างรับ XX เครดิต บัญชีเงินปันผลรับ XX 2.2 เมื่อกิจการได้รับเงินปั นผล บันทึกบัญชีโดย เดบิต บัญชีเงินสด XX เครดิต บัญชีเงินปันผลค้างรับ XX ในกรณี ท่ีระยะเวลา วันที่ประกาศจ่ายเงิ นปั นผลไม่ห่างจากวันที่จ่ายเงิ นปั นผลมากนัก และอยู่ ในรอบระยะเวลาบัญชีเดียวกัน ให้กิจการบันทึกรายการเมื่อได้รับเงินปันผลเลย ตัวอย่างที่ 2 จากตัวอย่างที่ 1 บริ ษท A จากัด ประกาศจ่ายเงินปั นผลหุ นสามัญ หุ ้นละ 15 บาท เมื่อ ั ้ วันที่ 24 ธันวาคม 2547 และจะจ่ายเงินปั นผลให้ในวันที่ 15 มกราคม 2548 ส่่ วนทางด้านบริ ษท B ั จากัด ประกาศจ่ายเงินปั นผลหุ ้นสามัญ หุ ้นละ 10 บาท เมื่อวันที่ 25 ธันวาคม 2547 และจะจ่ายเงินปั น ผลให้ในวันที่ 29 ธันวาคม 2547 ะบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้ ่ 2547 ธ.ค. 24 เงินปั นผลค้างรับ 7,500 - เงินปั นผลรับ 7,500 - บันทึกเงินปั นผลค้างรับ จากบริ ษท A จากัด (500 หุน x 15 บาท) ั ้ 29 เงินสด เงินปั นผลรับ 10,000 - บันทึกเงินปั นผล จากบริ ษท B จากัด (1,000 หุน x 10 บาท) ั ้ 10,000 - 2548 ม.ค. 15 เงินสด 7,500 - เงินปั นผลค้างรับ 7,500 - บันทึกรับเงินปั นผลที่คางรับจากบริ ษท A จากัด ้ ั
  • 7. 47 3. การบันทึกบัญชีเมื่อขายหลักทรัพย์ เมื่ อกิ จการมี ค วามต้องการใช้เงิ นหรื อเห็ นว่า ขณะนี้ ราคาตลาดของหลัก ทรั พ ย์ไ ด้สู ง ขึ้ น กิจการก็จะขายหลักทรัพย์ที่ถืออยูออกไป ซึ่ งในการขายจะต้องเสี ยค่าธรรมเนี ยมและค่าใช้จ่ายต่างๆ จึง ่ ทาให้กิจการได้รับเงินสุ ทธิ จากการขาย เท่ากับ ราคาขาย หัก ค่าธรรมเนี ยมและค่าใช้จ่ายต่างๆ แล้ว ใน การบันทึกบัญชีการขายหลักทรัพย์ กิจการจะโอนหลักทรัพย์ออกจากบัญชี ดวยราคาทุน ผลต่างระหว่าง ้ ั ราคาทุนของหลักทรัพย์กบจานวนเงินสุ ทธิ ที่ได้รับ จะบันทึกเป็ นรายการกาไรขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการ จาหน่ายหลักทรัพย์ ซึ่ งแสดงเป็ นบัญชีรายได้ค่าใช้จ่ายอื่น ในงบกาไรขาดทุน ตัวอย่ างที่ 3 จากตัวอย่างที่ 1 เมื่อวันที่ 28 มกราคม 2547 บริ ษทเมืองไทย จากัด ขายหุ นของบริ ษท A ั ้ ั จากัด จานวน 300 หุน ในราคาหุนละ 114 บาท เสี ยค่าใช้จ่ายในการขายรวม 200 บาท และ ขายหุ ้นของ ้ ้ บริ ษท B จากัด จานวน 800 หุ ้น ในราคาหุ ้นละ 119 บาท เสี ยค่าใช้จ่ายในการขายรวม 600 บาท จะ ั บันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้ ่ 2547 ธ.ค. 28 เงินสด 34,000 - หลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนสามัญบริ ษท A จากัด ้ ั 33,240 - รายการกาไรที่เกิดขึ้นจากการจาหน่ายหลักทรัพย์ 760 - บันทึกการขายหุนสามัญ บริ ษท A จากัดจานวน 300 หุ ้น ้ ั ราคาหุนละ 114 บาท เสี ยค่าใช้จ่าย 200 บาท ้ เงินสด รายการขาดทุนที่เกิดขึ้นจากการจาหน่ายหลักทรัพย์ 94,600 - หลักทรัพย์เผือขาย-หุนสามัญบริ ษท B จากัด ่ ้ ั 1,960 - บันทึกการขายหุนสามัญ บริ ษท B จากัด จานวน 800 หุ ้น ้ ั 96,560 - ราคาหุนละ 119 บาท เสี ยค่าใช้จ่าย 600 บาท ้
  • 8. 48 วิธีการคานวณ - รายการหลักทรัพย์เพื่อค้า ราคาขาย (300 หุน x 114 บาท) ้ 34,200 บาท หัก ค่าใช้จ่าย 200 บาท จานวนเงินสุ ทธิที่ได้รับ 34,000 บาท หัก ราคาทุน (300 หุน x 110.80 บาท) ้ 33,240 บาท กาไรจากการขายหลักทรัพย์ 760 บาท วิธีการคานวณ - รายการหลักทรัพย์เผือขาย ่ ราคาขาย (800 หุน x 119 บ ท) ้ 95,200 บาท หัก ค่าใช้จ่าย 600 บาท จานวนเงินสุ ทธิที่ได้รับ 94,600 บาท หัก ราคาทุน (800 หุน x 120.70 บาท) ้ 96,560 บาท ขาดทุนจากการขายหลักทรัพย์ (1,960) บาท การบัญชีสาหรับหลักทรัพย์ประเภทตราสารหนี้ ในความต้ องการของตลาด ในท านองเดี ย วกับ หลัก ทรั พ ย์ป ระเภทตราสารทุ น ในความต้องการของตลาด ต้น ทุ น ของ หลักทรัพย์ ประเภทตราสารทุน จะประกอบด้วย จานวนเงินของหลักทรัพย์ที่กิจการลงทุนซื้ อ รวมทั้ง ค่าใช้จ่ายต่างๆ ที่กิจการจ่ายเพื่อให้ได้มา ซึ่ งหลักทรัพย์ดงกล่าว เช่น ค่าธรรมเนี ยม ค่านายหน้า ค่าภาษี ั ค่าใช้จ่ายในการโอน เป็ นต้น หากกิจการนาสิ นทรัพย์อื่นไปแลก ก็ให้ใช้มูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ที่ นาไปแลก เป็ นต้นทุนของหลักทรัพย์น้ น ั 1. การบันทึกบัญชีเมื่อซื้ อหลักทรัพย์ และรับผลตอบแทนจากการลงทุน เมื่อกิจการซื้ อตราสารหนี้ในความต้องการของตลาด ให้บนทึกแยกแสดงเป็ นหลักทรัพย์เพื่อค้า ั หรื อ หลัก ทรั พ ย์เ ผื่อ ขาย ทั้ง นี้ ข้ ึ น อยู่ก ับ วัต ถุ ป ระสงค์ใ นการลงทุ น ของกิ จ การว่า เป็ นอย่า งไร และ เนื่องจากว่าตราสารหนี้ เช่นหุ นกู้ พันธบัตร จะให้ผลตอบแทนผูถือในรู ปดอกเบี้ย โดยผูออกหลักทรัพย์ ้ ้ ้ จะกาหนดอัตราดอกเบี้ยและวันที่จ่ายดอกเบี้ยไว้แน่ นอน การบันทึกบัญชี เกี่ ยวกับหลักทรัพย์ประเภท ตราสารหนี้ มีหลักการเช่ นเดียวกับหลักทรัพย์ประเภทตราสารทุน หากวันที่ซ้ื อขายหลักทรัพย์ตรงกับ วันที่จ่ายดอกเบี้ย แต่ถาวันที่ซ้ื อขายหลักทรัพย์ไม่ตรงกับวันที่จ่ายดอกเบี้ย จานวนเงิ นที่ซ้ื อขายจะต้อง ้ รวมดอกเบี้ยค้างรับด้วย ซึ่ งแสดงการบันทึกบัญชีได้ ดังนี้
  • 9. 49 1.1 ถ้ากิ จการซื้ อขายหลักทรั พ ย์ประเภทหนี้ ตรงกับวันที่ จ่า ยดอกเบี้ ย กิ จการจะบันทึ ก บัญชี โดย กรณี กิจการถือหลักทรัพย์โดยมีวตถุประสงค์เพื่อค้า ั เดบิต บัญชีหลักทรัพย์เพื่อค้า-หุ นหนี้ ้ XX เครดิต บัญชีเงินสด XX กรณี กิจการถือหลักทรัพย์ โดยมีวตถุประสงค์เผือขาย ั ่ เดบิต บัญชีหลักทรัพย์เผือขาย-หุ นหนี้ ่ ้ XX เครดิต บัญชีเงินสด XX 1.2 ถ้ากิจการซื้ อขายหลักทรัพย์ประเภทหนี้ ไม่ตรงกับวันที่จ่ายดอกเบี้ย กิจการจะบันทึก บัญชี โดย กรณี กิจการถือหลักทรัพย์โดยมีวตถุประสงค์เพื่อค้า ั เดบิต บัญชีหลักทรัพย์เพื่อค้า- หุ นหนี้ ้ XX บัญชีดอกเบี้ยค้างรับ XX เครดิต บัญชีเงินสด XX กรณี กิจการถือหลักทรัพย์โดยมีวตถุประสงค์เผือขาย ั ่ เดบิต บัญชีหลักทรัพย์เผือขาย-หุ นหนี้ ่ ้ XX บัญชีดอกเบี้ยค้างรับ XX เครดิต บัญชีเงินสด XX บัญชีดอกเบี้ยค้างรับที่บนทึกนั้น จะถูกโอนออกในวันรับดอกเบี้ยงวดแรก โดยจานวนเงินสดที่ ั ได้รับ ณ วันที่ รับ ดอกเบี้ ย งวดแรก จะถื อเป็ นรายได้ ของกิ จการเฉพาะช่ วงเวลาที่ นับ จากวัน ที่ ซ้ื อ หลักทรัพย์จนถึงวันที่รับดอกเบี้ยงวดแรก ซึ่ งกิจการจะบันทึกบัญชี โดย เดบิต บัญชีเงินสด XX เครดิต บัญชีดอกเบี้ยค้างรับ XX บัญชีดอกเบี้ยรับ XX เมื่อกิ จการได้รับดอกเบี้ยงวดถัดไป จานวนเงิ นสดที่ได้รับ ณ วันที่จ่ายดอกเบี้ยในงวดนี้ จะถื อ เป็ นรายได้ ของกิจการทั้งจานวน ซึ่ งกิจการจะบันทึกบัญชี โดย เดบิต บัญชีเงินสด XX เครดิต บัญชีดอกเบี้ยรับ XX
  • 10. 50 ในวันสิ้ นของระยะเวลาบัญชี ให้ทาการปรับปรุ งดอกเบี้ยค้างรับ ของหลักทรัพย์ท่ีกิจการถือไว้ แต่ยงไม่ครบกาหนด เวลาจ่ายดอกเบี้ย นับช่วงเวลาจากวันที่ได้รับดอกเบี้ยครั้งสุ ดท้ายจนถึงวันสิ้ นรอบ ั เวลาบัญชี ซึ่ งถือเป็ นรายได้ของกิจการที่เกิดขึ้นแล้วแต่ยงไม่ได้รับเงิน กิจการจะบันทึกบัญชี โดย ั เดบิต บัญชีดอกเบี้ยค้างรับ XX เครดิต บัญชีดอกเบี้ยรับ XX ั ้ ตัวอย่างที่ 4 บริ ษทเมืองไทยจากัด ลงทุนซื้ อหุ ้นกูของบริ ษท ที่จดทะเบียนกับตลาดหลักทรัพย์แห่ ง ั ประเทศไทย เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2547 ดังนี้ - บริ ษ ัท 1,000 หุ ้ น มู ล ค่ า หุ ้ น ละ 100 บาท ในราคาหุ ้น ละ 105 บาท ้ ค่าธรรมเนี ยม 0.5% หุ ้นกูกาหนดจ่ายดอกเบี้ยในอัตราร้ อยละ 10 โดยจ่ายดอกเบี้ ยในวันที่ 1 เมษายน และ 1 ตุลาคม โดยมีวตถุประสงค์เพื่อค้า ั - บริ ษท ั 2,000 บ ท มูลค่าหุ ้นละ 100 บาท ในราคาหุ ้นละ 108 บาท เสี ย ้ ค่าธรรมเนี ยม 0.5% หุ ้นกูกาหนดจ่ายดอกเบี้ยในอัตราร้อยละ 12 โดยจ่ายดอกเบี้ยในวันที่ 1 มิถุนายน และ 1 ธันวาคม โดยมีวตถุประสงค์ถือไว้เผือขาย ั ่ จะบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้ ่ 2547 ้ ้ ั เม.ย.28 หลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนกูบริ ษท C จากัด 104,475 - เงินสด 104,475 - บั น ทึ ก การลงทุ น ในหลัก ทรั พ ย์หุ้ น กู้ บ ริ ษัท C จ ากั ด มี วัตถุประสงค์เพื่อค้า หลักทรัพย์เผื่อขาย-หุนบริ ษท D จากัด ้ ั 214,920 - ดอกเบี้ยค้างรับ 8,000 - เงินสด 222,920 - บัน ทึ ก การลงทุ น ในหลัก ทรั พ ย์หุ้ น กู้ บริ ษัท D จ ากัด มี วัตถุประสงค์ถือไว้เผื่อขาย
  • 11. 51 2547 มิ.ย. 1 เงินสด 12,000 - ดอกเบี้ยค้างรับ 8,000 - ดอกเบี้ยรับ 4,000 - บัน ทึ ก รั บ ดอกเบี้ ย หุ ้นกู้ 12% ของบริ ษ ัท D จ ากัด จ านวน 2,000 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 100 บาท ระยะเวลา 6 เดือน (1ธ.ค. 2547 – 1 มิ.ย. 2547) ต.ค. 1 เงินสด 5,000 - ดอกเบี้ยรับ 5,000 - บันทึ กรับดอกเบี้ ยหุ ้นกู้ 10% ของบริ ษท C จากัด จานวน ั 1,000 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 100 บาท ระยะเวลา 6 เดือน (1 เม.ย. – 1 ต.ค. 2547) ธ.ค. 1 เงินสด 12,000 - ดอกเบี้ยรับ 12,000 - บันทึกรับดอกเบี้ยหุ ้นกู้ 12% ของบริ ษท ั ่ากัด จานวน 2,000 หุน มูลค่าหุนละ 100 บาท ระยะเวลา 6 เดือน (1 มิ.ย. – 1 ้ ้ ธ.ค. 2547) 31 ดอกเบี้ยค้างรับ 2,500 - ดอกเบี้ยรับ 2,500 - ปรับปรุ งดอกเบี้ ยหุ ้นกู้ 10% ของบริ ษท C จากัด จานวน ั 1,000 หุน มูลค่าหุ ้นละ 100 บาท ระยะเวลา 3 เดือน (1 ต.ค. – ้ 31 ธ.ค. 2547) 31 ดอกเบี้ยค้างรับ 2,000 - ดอกเบี้ยรับ 2,000 - ปรับปรุ งดอกเบี้ยหุ ้นกู้ 12% ของบริ ษท ั ่ากัด จานวน 2,000 หุ ้น มูลค่าหุ ้นละ 100 บาท ระยะเวลา 1 เดือน (1 ธ.ค.- 31 ธ.ค. 2547)
  • 12. 52 วิธีคานวณเมื่อซื้อ - รายการหลักทรัพย์เพื่อค้า บริ ษท ่ากัด ั ราคาทุน :ราคาซื้ อ (1,000 หุน x 105 บาท) ้ 105,000 บาท หัก ค่าธรรมเนียม (0.5% x 105,000บ ท) 525 บท ราคาทุน 104,475 บาท ราคาทุนต่อหุ น = 104,475 บาท = ้ 104.475 บท 1,000 หุน ้ - รายการหลักทรัพย์เผือขาย บริ ษท D จากัด ่ ั ราคาทุน (2,000 หุน x 108 บาท) ้ 216,000 บาท หัก ค่าธรรมเนียม (0.5% x 216,000 บ ท) 1,080 บท ราคาทุน 214,920 บาท ราคาทุนต่อหุ น = 214,920 บ ท = ้ 107.46 บาท 2,000 หุน ้ ดอกเบี้ยค้างรับ บ ที่มีการจ่ายดอกเบี้ยครั้งสุ ดท้าย จนถึงวันที่ซ้ื อหลักทรัพย์ 1 ธ.ค. 2546 – 1 เม.ย. 2547 = 4เ = (2,000 หุน x 100 บ ท) x 12% x 4 ้ 12 = 200,000 x 12 x 4 100 12 = 8,000 บาท 2. การบันทึกบัญชีเมื่อขายหลักทรัพย์ เมื่ อกิ จการมี ความต้องการใช้เงิ น หรื อเห็ นว่าขณะนี้ ราคาตลาดของหลักทรั พย์ได้สูง ขึ้ น กิ จการจะทาการขายหลักทรั พย์ที่ถืออยู่ออกไป ซึ่ งในการขายจะต้องเสี ยค่าธรรมเนี ยมและค่าใช้จ่าย ต่างๆ จึงทาให้กิจการได้รับเงินสุ ทธิ จากราคาขาย เท่ากับ ราคาขาย หักค่าธรรมเนี ยมและค่าใช้จ่ายต่างๆ แล้ว หากวันที่ ขายหลักทรัพย์ตรงกับวันที่ จ่ายดอกเบี้ย แต่ถาวันที่ ขายหลักทรั พย์ไม่ตรงกับวันที่จ่าย ้ ดอกเบี้ ย กิ จ การผู ้ข ายหลัก ทรั พ ย์จ ะต้อ งคิ ด ดอกเบี้ ย จากผู ้ซ้ื อ หลัก ทรั พ ย์ด้ว ยระยะเวลาจากวัน ที่ หลักทรั พย์จ่ายดอกเบี้ยครั้ งสุ ดท้าย จนถึ งวันที่ ขายหลักทรั พย์ ฉะนั้น จานวนเงิ นสุ ทธิ จากการขายที่ กิจการจะได้รับ จึงรวมดอกเบี้ยค้างรับด้วย
  • 13. 53 ตัวอย่างที่ 5 จากตัวอย่างที่ 4 สมมติวา เมื่อวันที่ 1 ตุลาคม 2547 บริ ษทเมืองไทย จากัด ขายหุ ้นกู้ ่ ั ของบริ ษท ่ากัด จาวน 600 หุ ้น ในราคาหุ ้นละ 107 บาท เสี ยค่าธรรมเนี ยม 0.5% และ ขายหุ ้นกู้ ั ของบริ ษท D จากัด จานวน 1,500 หุ ้น ในราคาหุ ้นละ 110 บาท เสี ยค่าธรรมเนี ยม 0.5% ะบันทึก ั รายการในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้ ่ 2547 ต.ค. 1 เงินสด 5,000 - ดอกเบี้ยรับ 5,000 - บันทึกรับดอกเบี้ยหุ ้นกู้ 10% ของบริ ษท C จากัด จานวน 1,000 หุ ้น ั มูลค่าหุนละ 100 บาท ระยะเวลา 6 เดือน (1 เม.ย. – 1 ต.ค. 2547) ้ จานวน 600 หุน ในราคาหุนละ 107 บาท เสี ยค่าธรรมเนียม 0.5% ้ ้ เงินสด 63,879 - หลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนกู้ บริ ษท C จากัด ้ ั 62,685 - รายการกาไรที่เกิดขึ้นจากการจาหน่ายหลักทรัพย์ 1,194 - บันทึกการขายหุ ้นกู้ บริ ษท C จากัด จานวน 600 หุ ้น ในราคาหุ ้นละ ั 107 บาท เสี ยค่าธรรมเนียม 0.5% เงินสด (164,175 + 6,000) 170,175 - ่ ้ ้ ั หลักทรัพย์เผือขาย-หุนกูบริ ษท D จากัด 161,190 - รายการกาไรที่เกิดขึ้นจากการจาหน่ายหลักทรัพย์ 2,985 - ดอกเบี้ยรับ 6,000 - บันทึกการขายหุนกู้ บริ ษท D จากัด จานวน 1,500 หุ ้น ในราคาหุ ้นละ ้ ั 110 บาท เสี ยค่าธรรมเนี ยม 0.5% วมดอกเบี้ยที่คาง 4 เดือน (1มิ.ย. – ้ 1 ต.ค. 2547) วิธีการคานวณเมื่อขาย - รายการหลักทรัพย์เพื่อค้าบริ ษท C จากัด ั ราคาขาย (6,000 หุน x 107 บ ท) ้ 64,200 บาท หัก ค่าธรรมเนียม (0.5% x 64,200) 321 บท จานวนเงินสุ ทธิที่ได้รับจากการขาย 63,879 บาท หัก ราคาทุน (600 หุน x 104.475) ้ 62,685 บาท กาไรจากการจาหน่ายหลักทรัพย์ 1,194 บาท
  • 14. 54 - รายการหลักทรัพย์เพื่อขาย บริ ษท ่ากัด ั ราคาขาย (1,500 หุน x 110 บ ท) ้ 165,000 บาท หัก ค่าธรรมเนียม (0.5% x 165,000 บ ท) 825 บท จานวนเงินสุ ทธิที่ได้รับจากการขาย 164,175 บาท หัก ราคาทุน (1,500 หุน x 107.46 บาท) ้ 161,190 บาท กาไรจากการจาหน่ายเงินลงทุน 2,985 บาท ดอกเบี้ยรับ สาหรับระยะเวลา 4 เดือน (1 มิ.ย. – 1 ต.ค. 2547) = (1,500 หุน x 100 บ ท) x12% x 4 ้ 12 = 150,000 x 12 x 4 100 12 = 6,000 บ ท การบันทึกบัญชี เมื่อมีการเปลียนแปลงมูลค่ าของหลักทรัพย์ ่ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 40 ของสมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับอนุญาตแห่ งประเทศไทย ้ ได้กาหนดให้เงินลงทุนชัวคราวที่เป็ นหลักทรัพย์ประเภทตราสารทุน และตราสารหนี้ ในความต้องการ ่ ของตลาด ที่จดอยู่ในประเภทของหลักทรัพย์เพื่อค้า และหลักทรัพย์เผื่อขาย แสดงมูลค่าในงบดุ ลด้วย ั มูลค่ายุติธรรม ณ วันที่ในงบดุลมูลค่ายุติธรรมดังกล่าว ก็คือราคาซื้ อขายหรื อราคาตลาดของหลักทรัพย์ที่ ปรากฏอยู่ในตลาดหลักทรัพย์ ณ สิ้ นวันนั้น ณ วันที่ในงบดุล ถ้ามีการเปลี่ ยนแปลงมูลค่าระหว่างราคา ทุนกับราคาตลาดของหลักทรัพย์ ในปี แรก และถ้ามีการเปลี่ยนแปลงมูลค่าระหว่างราคาตามบัญชี กบ ั ราคาตลาดของหลักทรัพย์ในปี ต่อๆ ไป กิจการจะต้องบันทึกการเปลี่ยนแปลงดังนี้ กรณี เป็ นหลักทรัพย์ประเภทตราสารทุนในความต้องการของตลาด ที่อยูในประเภทหลักทรัพย์ ่ เพื่อค้า และหลักทรัพย์เผื่อขาย ผลต่างของการเปลี่ยนแปลงมูลค่าระหว่างราคาตามบัญชี กับราคาตลาด ของหลัก ทรั พ ย์เ พื่ อ ค้า และหลัก ทรั พ ย์เ ผื่ อ ขาย รั บ รู ้ เ ป็ นก าไรหรื อ ขาดทุ น ในงวดบัญ ชี ที่ เ กิ ด การ เปลี่ยนแปลงมูลค่าทันที โดยบันทึกบัญชีของกาไรขาดทุนนั้น ใน “บัญชี กาไรขาดทุนที่ยงไม่เกิดขึ้นจาก ั หลักทรัพย์เพื่อค้า – หุนทุน” หรื อ “บัญชีกาไรขาดทุนที่ยงไม่เกิดขึ้นจากหลักทรัพย์เผื่อขาย-หุ ้นทุน” ซึ่ ง ้ ั จะแสดงในงบกาไรขาดทุ นประจางวด ส่ วนมูล ค่ า ของหลัก ทรั พ ย์เพื่ อค้าและหลัก ทรั พ ย์เ ผื่อขาย ที่ เพิ่มขึ้นหรื อลดลง จากราคาตามบัญชีจะบันทึกใน “บัญชีค่าเผือการปรับมูลค่าหลักทรัพย์เพื่อค้า-หุ ้นทุน” ่ หรื อ “บัญชีค่าเผือการปรับมูลค่าหลักทรัพย์เผือขาย-หุนทุน” ซึ่ งเป็ นบัญชีปรับมูลค่าของบัญชี ่ ่ ้
  • 15. 55 หลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนทุน หรื อบัญชีหลักทรัพย์เผือขาย-หุ นทุน ในงบดุลนันเอง ้ ่ ้ ่ 1. เมื่อกิจการเกิดผลต่างของการเปลี่ ยนแปลงมูลค่าของหลักทรัพย์ เนื่ องจากราคาตลาด มากกว่าราคาตามบัญชี จะรับรู ้เป็ นกาไร บันทึกบัญชีโดย เดบิต บัญชีค่าเผือปรับมูลค่าหลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนทุน ่ ้ XX เครดิต บัญชีกาไรขาดทุนที่ยงไม่เกิดขึ้นจากหลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนทุน ั ้ XX หรื อ เดบิต บัญชีค่าเผือการปรับมูลค่าหลักทรัพย์เผือขาย-หุนทุน ่ ่ ้ XX เครดิต บัญชีกาไรขาดทุนที่ยงไม่เกิดขึ้นจากหลักทรัพย์เผือขาย-หุ นทุน ั ่ ้ XX 2. ถ้าผลต่างที่เกิ ดขึ้น เนื่ องจากราคาตลาดน้อยกว่าราคาตามบัญชี จะรั บรู ้ เป็ นขาดทุ น บันทึกบัญชีโดย เดบิต บัญชีกาไรขาดทุนที่ยงไม่เกิดขึ้นจากหลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนทุน ั ้ XX เครดิต บัญชีค่าเผือการปรับมูลค่าหลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนทุน ่ ้ XX หรื อ เดบิต บัญชีกาไรขาดทุนที่ยงไม่เกิดขึ้นจากหลักทรัพย์เผือขาย-หุนทุน ั ่ ้ XX เครดิต บัญชีค่าเผือการปรับมูลค่าหลักทรัพย์เผือขาย-หุ นทุน ่ ่ ้ XX สาหรับงวดต่อมา หากหลักทรัพย์ประเภทตราสารทุนในความต้องการของตลาด ไม่วาจะเป็ น ่ ประเภทหลักทรัพย์เพื่อค้า หรื อหลักทรัพย์เ ผื่อขาย ยังคงมียอดคงเหลื ออยู่ กิ จการยังคงต้องการแสดง มูลค่าของหลักทรัพย์ดงกล่าวในงบดุล ด้วยมูลค่ายุติธรรมหรื อราคาตลาด ณ วันที่ในงบดุล โดยกิจการ ั ต้องบันทึกการเปลี่ยนแปลงมูลค่าระหว่างราคาตามบัญชี ของหลักทรัพย์ซ่ ึ งเป็ นราคาตลาด ณ วันที่ของ งบดุลในงวดก่อน กับราคาตลาด ณ วันที่ในงบดุลของงวดปั จจุบน ั ตัวอย่างที่ 6 บริ ษทสยามชัย จากัด ซื้ อหลักทรัพย์เพื่อค้าหุ ้นสามัญ บริ ษท อเนก จากัด เมื่อวันที่ 1 ั ั มีนาคม 2547 เป็ นเงิน 120,000 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 หุ ้นสามัญของบริ ษทอเนก จากัด มี ั มูลค่ายุติธรรม 130,000 บาท หลักทรัพย์เพื่อค้า ราคาทุน 120,000 บาท ณ วันสิ้ นปี มีมูลค่ายุติธรรม 130,000 บาท เนื่องจาก ราคาตลาดมากว่าราคาทุน จะรับรู ้ เป็ นกาไรที่ยงไม่เกิดขึ้น 10,000 บาท ที่จะบันทึกในงบกาไรขาดทุน ั และหลักทรัพย์มีมูลค่าเพิ่มขึ้น 10,000 บาท บันทึกบัญชี โดย
  • 16. 56 เดบิต ค่าเผื่อการปรับมูลค่าหลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนสามัญบริ ษทอเนก จากัด 10,000 ้ ั เครดิต กาไรขาดทุนที่ยงไม่เกิดขึ้นจากหลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนสามัญบริ ษทอเนก จากัด 10,000 ั ้ ั บัญชีค่าเผือการปรับมูลค่าหลักทรัพย์เพื่อค้า-หุ นสามัญบริ ษทอเนก จากัด เมื่อแสดงในงบดุลจะ ่ ้ ั เป็ นบัญชี ปรับเพิ่มยอดหลักทรัพย์เพื่อค้า ทาให้มูลค่าของหลักทรัพย์เพื่อค้าที่แสดงในงบดุ ล จะแสดง ด้วยมูลค่ายุติธรรม คือ 130,000 บาท ตัวอย่างที่ 7 บริ ษทสยามชัย จากัด ซื้ อหลักทรัพย์เผื่อขาย หุ ้นสามัญบริ ษท อนันต์ จากัด เมื่อวันที่ 1 ั ั เมษายน 2547 เป็ นเงิน 150,000 บาท ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2547 หุ ้นสามัญของบริ ษทอนันต์ จากัด มี ั มูลค่ายุติธรรม 110,000 บาท หลักทรัพย์เผื่อขาย ราคาทุน 150,000 บาท ณ วันสิ้ นปี มีมูลค่ายุติธรรม 110,000 บาท เนื่องจาก ราคาตลาดน้อยกว่าราคาทุ น จะรั บรู ้ เป็ นขาดทุ นที่ ยง ไม่เกิ ดขึ้ น 40,000 บาท ที่ จะบันทึ ก ในงบกาไร ั ขาดทุนและหลักทรัพย์มีมูลค่าลดลง 40,000 บาท บันทึกบัญชี โดย เดบิต กาไรขาดทุนที่ยงไม่เกิดขึ้นจากหลักทรัพย์เผือขาย- ั ่ หุนสามัญบริ ษท อนันต์ จากัด ้ ั 40,000 เครดิต ค่าเผือการปรับมูลค่าหลักทรัพย์เผือขาย- ่ ่ หุ นสามัญ บริ ษท อนันต์ จากัด ้ ั 40,000 บัญชีค่าเผือการปรับมูลค่าหลักทรัพย์เผือขาย-หุ นสามัญบริ ษท อนันต์ จากัด เมื่อแสดงในงบดุล ่ ่ ้ ั จะเป็ นบัญชีปรับลดยอดหลักทรัพย์เผื่อขายทาให้มูลค่าของหลักทรัพย์เผื่อขายที่แสดงในงบดุ ลจะแสดง ด้วยมูลค่ายุติธรรม คือ 110,000 บาท กรณี เ ป็ นหลัก ทรั พ ย์ป ระเภทตราสารหนี้ ในความต้อ งการของตลาด ที่ จ ัด อยู่ใ นประเภท หลักทรัพย์เพื่อค้า และหลักทรัพย์เผือขาย ถ้ามีการเปลี่ยนแปลงมูลค่าระหว่างราคาทุนกับราคาตลาดของ ่ หลัก ทรั พ ย์ใ นปี แรก และถ้า มี ก ารเปลี่ ย นแปลงมู ล ค่ า ระหว่า งราคาตามบัญ ชี กับ ราคาตลาดของ หลักทรัพย์ในปี ต่อๆ ไป ให้บนทึกการเปลี่ยนแปลงเช่นเดียวกับหลักทรัพย์ประเภทตราสารทุน ั การแสดงรายการเงินลงทุนชั่ วคราวในงบการเงิน เงิ นลงทุนชัวคราวที่เป็ นหลักทรัพย์ประเภทตราสารทุนและตราสารหนี้ ในความต้องการของ ่ ่ ตลาด ไม่วาจะเป็ นหลักทรัพย์เพื่อค้าหรื อหลักทรัพย์เผื่อขาย จะแสดงภาพใต้หวข้อสิ นทรัพย์หมุนเวียน ั ในงบดุล ด้วยราคาตามบัญชีหรื อราคาตลาด ณ วันที่ ในงบดุล ดังนี้
  • 17. 57 งบดุล (บางส่ วน) ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25x1 สิ นทรัพย์ สิ นทรัพย์หมุนเวียน : เงินลงทุนชัวคราว ่ หลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนทุน ้ XX บวก(หัก) ค่าเผือการปรับมูลค่าหลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนทุน ่ ้ XX XX หลักทรัพย์เผือขาย-หุนทุน ่ ้ XX บวก(หัก) ค่าเผือการปรับมูลค่าหลักทรัพย์เผือขาย-หุนทุน ่ ่ ้ XX XX หลักทรัพย์เพื่อค้า-หุ นหนี้ ้ XX บวก(หัก) ค่าเผือการปรับมูลค่าหลักทรัพย์เพื่อค้า-หุ นหนี้ ่ ้ XX XX หลักทรัพย์เผือขาย-หุ นหนี้ ่ ้ XX บวก(หัก) ค่าเผือการปรับมูลค่าหลักทรัพย์เผือขาย-หุ นหนี้ ่ ่ ้ XX XX ส่ วนบัญชี กาไรขาดทุนที่ ยงไม่เกิ ดขึ้น หรื อกาไรขาดทุ นที่เกิ ดขึ้นแล้ว ในหลักทรัพย์ประเภท ั ่ ตราสารทุน และตราสารหนี้ ไม่วาจะเป็ นหลักทรัพย์เพื่อค้าหรื อหลักทรัพย์เผื่อขาย แสดงภายใต้หัวข้อ รายได้อื่น หรื อค่าใช้จ่ายอื่น ในงบกาไรขาดทุน ตัวอย่างที่ 8 จากตัวอย่างที่ 6 และ 7 จะแสดงรายการหลักทรัพย์เพื่อค้า และหลักทรัพย์เ ผื่อขาย ของ บริ ษทสยามชัย จากัด ในงบดุล และงบกาไรขาดทุน ได้ดงนี้ ั ั การแสดงรายการในงบดุล 2547 (บางส่ วน) สิ นทรัพย์หมุนเวียน : เงินลงทุนชัวคราว ่ หลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนสามัญ ้ 120,000 บวก ค่าเผือการปรับมูลค่าหลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนสามัญ ่ ้ 10,000 130,000 หลักทรัพย์เผือขาย-หุนสามัญ ่ ้ 150,000 หัก ค่าเผือการปรับมูลค่าหลักทรัพย์เผือขาย-หุนสามัญ ่ ่ ้ 40,000 110,000
  • 18. 58 การแสดงรายการในงบกาไรขาดทุน 2547 (บางส่ วน) รายได้อื่น กาไรขาดทุนที่ยงไม่เกิดขึ้นจากหลักทรัพย์เพื่อค้า-หุนสามัญ ั ้ 10,000 ค่าใช้จ่ายอื่น กาไรขาดทุนที่ยงไม่เกิดขึ้นจากหลักทรัพย์เผือขาย-หุนสามัญ ั ่ ้ 40,000 กิจการย่อมต้องการมีรายได้เกิดขึ้นจานวนมากในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชี การซื้ อขายสิ นค้า หรื อการให้บริ การ จึงมีท้ งที่เป็ นการซื้ อขายเป็ นเงินสดและเป็ นเงินเชื่ อ ส่ วนใหญ่จะเป็ นการซื้ อขายเป็ น ั เงิ นเชื่ อ แล้วได้รับช าระหนี้ เป็ นเอกสารเครดิ ต ที่ เรี ยกว่า ตัวเงิ นรั บ ซึ่ งเป็ นการเขี ยนสั ญญาเป็ นลาย ๋ ลักษณ์อกษรจากลูกค้าที่ซ้ื อสิ นค้าว่าจะนาเงินสดมาชดใช้ให้แก่กิจการ ตัวเงินรับจะเปลี่ยนเป็ นเงินสดได้ ั ๋ ก็ต่อเมื่อครบกาหนดเวลาจ่ายชาระตามที่ระบุไว้ในตัว แต่ถากิจการมีความจาเป็ นต้องใช้เงินสดก่อนวันที่ ๋ ้ ตัวครบกาหนด ก็สามารถนาตัวเงินรับไปขายลดให้สถาบันการเงิน เพื่อนาเงินมาใช้ก่อนได้ ๋ ๋ ความหมายของตั๋วเงินรับ ตัวเงินรับ หมายถึง คามันสัญญาเป็ นลายลักษณ์อกษรโดยปราศจากเงื่อนไขที่บุคคลหนึ่ งรับจะ ๋ ่ ั ชาระเงิ นจานวนหนึ่ งที่แน่นอนให้แก่อีกบุคคลหนึ่ งภายในเวลาที่กาหนด (สมาคมนักบัญชี และผูสอบ ้ บัญชี รับอนุ ญาตแห่ งประเทศไทย, 2538, หน้า68) ดังนั้น ตัวเงินรับจึงเป็ นเอกสารแสดงสิ ทธิ ในการรับ ๋ ชาระหนี้ของกิจการ ซึ่ งนอกจากกิจการจะได้รับตามจานวนเงินที่เป็ นมูลค่าหนี้ แล้ว กิจการอาจจะได้รับ ผลตอบแทนจากตัวเงินรับในรู ปของดอกเบี้ยรับอีกด้วย ๋ ประเภทของตั๋วเงินรับ ตามประมวลกฎหมาย แพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา 898 แบ่งตัวเงินออกเป็ น 3 ประเภท คือ ตัวแลก ๋ ๋ เงิน ตัวสัญญาใช้เงิน และ เช็ค ๋ ตั๋วแลกเงิน ตามประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิ ชย์ มาตรา 908 ได้บญญัติวา “อันตัวแลกเงิ น ั ่ ๋ นั้นคื อ หนัง สื อตราสารซึ่ งบุ ค คลหนึ่ งเรี ย กว่า ผูสั่ง จ่าย สั่งบุ ค คลอี ก คนหนึ่ งเรี ย กว่า ผูจ่าย ให้ใ ช้เงิ น ้ ้ จานวนหนึ่ งแก่บุคคลหนึ่ ง หรื อให้ใช้ตามคาสั่งอีกบุคคลหนึ่ ง ซึ่ งเรี ยกว่า ผูรับเงิน และ มาตรา 909 ได้ ้ บัญญัติให้ตวแลกเงิน ต้องมีรายการ ดังต่อไปนี้ ั๋ 1. คาบอกชื่อว่า เป็ นตัวแลกเงิน ๋