SlideShare a Scribd company logo
1 of 44
Download to read offline
บทที่ 4
                       ทีดิน อาคารและอุปกรณ์ และสิ นทรัพย์ ไม่ มตัวตน
                         ่                                      ี


            การดาเนิ นธุ รกิจของกิ จการทุกประเภท จาเป็ นต้องมีสินทรัพย์ไว้เพื่อใช้ในการดาเนิ นงาน ซึ่ ง
สิ นทรัพย์ที่ใช้จะแบ่งประเภทออกเป็ น สิ นทรัพย์หมุนเวียน (current assets) และสิ นทรัพย์ถาวร (long-
lived assets) สิ นทรั พย์หมุ นเวียน จะถื อว่าเป็ นสิ นทรั พย์ที่ใช้หมดไปภายในหนึ่ งปี หรื อหนึ่ งรอบ
ระยะเวลาบัญชี อันประกอบด้วยรายการเงินสด เงินฝากธนาคาร หลักทรัพย์ตามความต้องการของตลาด
ตัวเงินรับ ลูกหนี้ สิ นค้าคงเหลือ เป็ นต้น ซึ่ งได้กล่าวถึงโดยละเอียดในตอนต้นแล้ว ส่ วนสิ นทรัพย์ถาวร
   ๋
หรื อที่เรี ยกกันในปั จจุบน คือ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (property , plant and equipment) จะเป็ น
                            ั
สิ นทรั พย์ที่มีอายุใช้งานเกิ นกว่าหนึ่ งปี หรื อหนึ่ งรอบระยะเวลาบัญชี อันประกอบด้วยรายการที่ ดิน
อาคาร เครื่ องจักร เครื่ องมืออุปกรณ์ต่างๆ ยานพาหนะ ฯลฯ รวมทั้งทรัพยากรธรรมชาติ และสิ นทรัพย์
ไม่มีตวตน ที่กิจการมีไว้ใช้ดวย โดยปกติทวไป ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ จะเป็ นสิ นทรัพย์ส่วนใหญ่ที่
       ั                        ้              ั่
กิจการมีอยู่ มีลกษณะคงทนถาวร มีราคาต่อหน่ วยสู ง จึงเป็ นรายการสาคัญในการแสดงฐานะการเงิ น
                  ั
ของกิ จการที่ควรบันทึกมูลค่าของสิ นทรัพย์ให้ถูกต้อง และเนื่ องจากว่าสิ นทรัพย์ประเภทนี้ เมื่อใช้ไป
แล้วมีการเสื่ อมราคาตามสภาพการใช้งานหรื อตามระยะเวลาที่ผ่านไป หรื อ มีการเสื่ อมราคาลงเพราะ
เกิ ดจากความล้าสมัยทั้งที่สภาพยังดี อยู่ ยกเว้นที่ดิน กิจการจึงมีการคิดค่าเสื่ อมราคาและค่าสู ญสิ้ นจาก
การใช้งาน โดยการปั นส่ วนต้นทุ นของสิ นทรั พ ย์ที่ มีก ารเสื่ อมสภาพ มาเป็ นค่ าใช้จ่า ยในแต่ ละรอบ
ระยะเวลาบัญชี ซึ่ งมีวิธีการคิดค่าเสื่ อมราคาได้หลายวิธีที่ให้ผลของการคิดค่าเสื่ อมราคาในแต่ละวิธีไม่
เท่ากัน ดังนั้น การที่ กิจการจะเลื อกใช้วิธีการคิ ดค่าเสื่ อมราคาวิธีใดก็ควรมีการพิจารณาให้รอบคอบ
เพราะอาจมีผลกระทบต่อการแสดงผลการดาเนินงานของกิจการ

ความหมายของทีดิน อาคารและอุปกรณ์
                  ่
        มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 เรื่ องที่ ดิน อาคารและอุปกรณ์ของสมาคมนักบัญชี และผูสอบ ้
บัญชีรับอนุญาตแห่ งประเทศไทย (2542, หน้า 4)ได้กาหนดคานิ ยามศัพท์ ของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
โดยเฉพาะไว้ดงนี้
               ั
        ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ หมายถึง สิ นทรัพย์ที่มีตวตน ซึ่ งเข้าเงื่อนไขทุกข้อต่อไปนี้
                                                       ั
128




          1. กิจการมีไว้เพื่อใช้ประโยชน์ในการผลิต เพื่อใช้ในการจาหน่ายสิ นค้าหรื อให้บริ การ เพื่อให้
เช่าหรื อเพื่อให้ใช้ในการบริ หารงาน
          2. กิจการคาดว่าจะใช้ประโยชน์มากกว่าหนึ่งรอบบัญชี
          จากความหมายข้างต้น จะเห็นว่า ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์เป็ นสิ นทรัพย์ท่ีมีตวตน ซึ่ งกิจการมี
                                                                                       ั
ไว้ใ ช้ใ นการดาเนิ นงานตามปกติ ข องกิ จการและอาจรวมถึ ง สิ่ ง ที่ มี ไว้เพื่ อใช้ในการบ ารุ ง รั ก ษาหรื อ
ซ่ อมแซม โดยกิจการได้มาหรื อสร้างขึ้นเอง และไม่ได้มีวตถุประสงค์ที่จะขาย แต่มีความตั้งใจว่าจะใช้
                                                               ั
ประโยชน์จากสิ นทรั พย์น้ ันต่อเนื่ องตลอดไป ฉะนั้น อายุการใช้งานของสิ นทรั พย์จึงเกิ นกว่าหนึ่ ง ปี
ได้แก่ ที่ ดิน อาคาร เครื่ องจัก ร เครื่ องมื ออุ ป กรณ์ ต่างๆ ทั้งในโรงงานและส านัก งาน เครื่ องตกแต่ ง
ยานพาหนะ ทรัพยากรธรรมชาติ เป็ นต้น
          ในอดี ต กิ จการแสดง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ในงบดุ ลภายใต้หัวข้อ สิ นทรั พย์ถาวร แต่ใน
ปัจจุบน ได้แสดงไว้ภายใต้หวข้อ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
        ั                     ั

ประเภทของทีดิน อาคารและอุปกรณ์
                ่
         ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ
         1. สิ นทรัพย์ที่มีตวตน จะหมายถึง สิ นทรัพย์ที่จบต้องได้ โดยแยกเป็ น
                            ั                              ั
            1.1 สิ นทรัพย์ที่มีตวตนที่มีอายุการใช้งานไม่จากัด จะเป็ นสิ นทรัพย์ที่ใช้งานแล้วสภาพยังคง
                                 ั
เดิม ไม่มีการเสื่ อมสภาพ จึงไม่ตองหักค่าเสื่ อมราคา ได้แก่ ที่ดิน
                                     ้
            1.2 สิ นทรัพย์ที่มีตวตนที่มีอายุการใช้งานจากัด จะเป็ นสิ นทรัพย์ท่ีมีการเสื่ อมสภาพตามการ
                                   ั
ใช้งานหรื อตามระยะเวลาที่ผ่านไปหรื อเกิ ดจาความล้าสมัยทั้งที่สภาพยังดี อยู่ จึงต้องหักค่าเสื่ อมราคา
ได้แก่ อาคาร เครื่ องจักร เครื่ องมืออุปกรณ์ต่างๆ ทั้งในโรงงานและสานักงาน เครื่ องตกแต่ง ยานพาหนะ
เป็ นต้น
            1.3 ทรัพยากรธรรมชาติ จะเป็ นสิ นทรัพย์ที่ใช้แล้วจะต้องหมดเปลืองไปตามสภาพที่ได้มีการ
ใช้ทรัพยากรนั้นๆ

          2. สิ นทรัพย์ไม่มีตวตน จะหมายถึง สิ นทรัพย์ที่ไม่มีรูปร่ างไม่สามารถจับต้องได้ โดยกิ จการ
                             ั
ถื อไว้เพื่อใช้ใ นการผลิ ต หรื อจาหน่ ายสิ นค้าหรื อให้บ ริ ก าร ซึ่ ง จะก่ อให้เกิ ดประโยชน์ต่อกิ จการใน
อนาคตเกินกว่าหนึ่ งรอบระยะเวลาบัญชี (กชกร โมรากุล , วชิระ บุญยาเนตร, และปริ ญญา มณี โรจน์,
2543, หน้า 90) สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
129




             2.1 สิ น ทรั พ ย์ไ ม่ มี ต ัว ตนที่ มี อ ายุ ไ ม่ จ ากัด จะเป็ นสิ น ทรั พ ย์ที่ ไ ม่ จ าหน่ า ยออกจากบัญ ชี
เนื่องจากสามารถใช้ประโยชน์ได้ต่อไปเรื่ อย ๆ ได้แก่ ค่าความนิยม เครื่ องหมายการค้า เป็ นต้น
             2.2 สิ นทรัพย์ไม่มีตวตนที่มีอายุจากัด จะเป็ นสิ นทรัพย์ที่กิจการจะตัดจาหน่ายออกจากบัญชี
                                      ั
เป็ นค่ า ใช้จ่า ยตามระยะเวลาที่ ไ ด้รับ ประโยชน์ จ ากสิ นทรั พ ย์ ได้แก่ สิ ท ธิ บ ตร ลิ ข สิ ท ธิ์ สั ม ปทาน
                                                                                                    ั
เป็ นต้น

ราคาทุนของทีดิน อาคารและอุปกรณ์
                ่
          การปฏิบติทางบัญชีเกี่ยวกับราคาทุนของสิ นทรัพย์ในหมวดที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ จะปฏิบติ
                  ั                                                                                        ั
ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 ที่ให้กิจการบันทึกสิ นทรัพย์ที่มีอยูโดยใช้ราคาทุน
                                                                     ่
          ราคาทุนของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ประกอบด้วย ราคาซื้ อหลังจากหักส่ วนลดต่างๆ และค่า
ภาษีที่จะรวมภาษีนาเข้า ภาษีซ้ื อที่เรี ยนคืนไม่ได้ และต้นทุนทางตรงอื่นๆ ที่เกี่ยวกับการจัดหาสิ นทรัพย์
                    ่
เพื่อให้สินทรัพย์อยูในสภาพพร้อมที่จะใช้ได้ตามวัตถุประสงค์ รายการที่เป็ นต้นทุนทางตรง เช่น ต้นทุน
การเตรี ยมสถานที่ ต้นทุ นการขนส่ งเริ่ มแรกและการเก็บรักษาต้นทุนการติดตั้ง ค่าธรรมเนี ยมวิชาชี พ
ประมาณการรายจ่ า ยในการรื้ อหรื อขนไปทิ้ ง และการบู รณะสถานที่ ภายหลังการเลิ ก ใช้สิ นทรั พ ย์
นอกจากนี้ อาจจะมี ต้น ทุ น ในการจัด หาเงิ น เช่ น ดอกเบี้ ย จ่ า ย เฉพาะส่ ว นที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการจัด หา
สิ นทรัพย์จนกระทังสิ นทรัพย์น้ นอยู่ในสภาพพร้ อมใช้งานได้ก็ให้รวมเป็ นราคาทุนของสิ นทรัพย์ดวย
                      ่         ั                                                                        ้
ส่ วนค่าใช้จ่ายในการบริ หารและค่าใช้จ่ายทัวไปอื่นๆ เช่นค่าใช้จ่ายในการเริ่ มเดินเครื่ องหรื อค่าใช้จ่ายใน
                                             ่
การเตรี ยมการผลิตตามปกติ จะไม่ถือเป็ นราคาทุนของสิ นทรัพย์

ตัวอย่างที่ 1 บริ ษท ฟ้ ารุ่ ง จากัด ซื้ อเครื่ องจักรราคา 2,000,000 บาท ส่ วนลดการค้า 5% เงื่อนไข
                         ั
การชาระเงิน 2/10 , n/30 บริ ษทขอกูเ้ งินจากธนาคาร 1,000,000 บาท อัตราดอกเบี้ย 10% ต่อปี เพื่อชาระ
                                 ั
ค่าเครื่ องจักร ระยะเวลาตั้งแต่ซ้ื อจนเครื่ องจักรเริ่ มใช้งานได้ 3 เดือน บริ ษทเสี ยค่าใช้จ่าย ดังนี้
                                                                               ั
 -             ค่าเตรี ยมสถานที่                                           20,000 บาท
 -             ค่าขนส่ ง                                                   30,000 บาท
 -             ค่าจ้างวิศวกรติดตั้งเครื่ อง                                15,000 บาท
 -             ค่าใช้จ่ายในการเริ่ มเดินเครื่ องและเตรี ยมการผลิต          10,000 บาท
130




การคานวณราคาทุนของเครื่ องจักร :
      ราคาซื้ อ                                                             2,000,000          บาท
      หัก ส่ วนลดการค้า 5% 2,000,000                                          100,000          บาท
                                                                            1,900,000          บาท
        หัก ส่ วนลดเงินสด 2% 1,900,000                                         38,000          บาท
        ราคาซื้ อเงินสด                                                     1,862,000          บาท
        บวก ค่าเตรี ยมสถานที่                                                  20,000          บาท
             ค่าขนส่ ง                                                         30,000          บาท
             ค่าจ้างวิศวกรติดตั้งเครื่ อง                                      15,000          บาท
             ดอกเบี้ยเงินกู้ (1,000,000 x 10% x 3 )                            25,000          บาท
                                              12
        รวมราคาทุนของเครื่ องจักร                                           1,952,000          บาท

การบันทึกบัญชี เมื่อรับทีดิน อาคารและอุปกรณ์
                           ่
          กิจการจะบันทึกบัญชี ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ที่ได้รับมาในราคาทุน ซึ่ งจะมีวธีการได้มา ดังนี้
                                                                                       ิ
          1. สิ นทรัพย์ที่ได้มาโดยการซื้ อ
             กิจการที่ได้รับสิ นทรัพย์มาโดยวิธีการซื้ อ ให้บนทึกราคาทุนของสิ นทรัพย์ ในราคาซื้ อสุ ทธิ
                                                            ั
ด้วยเงิ นสด คือ ราคาซื้ อ หัก ส่ วนลดต่างๆ เช่ น ส่ วนลดการค้า ส่ วนลดเงิ นสด และบวกด้วยค่าใช้จ่าย
ต่างๆ ที่ตองจ่ายทั้งสิ้ นจนกระทังสิ นทรัพย์น้ นอยูในสภาพพร้อมจะใช้งานได้ สาหรับในกรณี กิจการจ่าย
           ้                     ่            ั ่
ชาระหนี้ ไม่ทนกาหนด ส่ วนลดที่ไม่ได้รับนี้ ให้ถือเป็ นดอกเบี้ยจ่าย หรื อกรณี ซ้ื อสิ นทรัพย์โดยวิธีผ่อน
                ั
ชาระผลต่างระหว่างราคาเงินสด กับราคาเงินผ่อนให้ถือเป็ นดอกเบี้ยจ่าย

ตัวอย่ างที่ 2 เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2547 บริ ษท ฟ้ าใส จากัด ซื้ อเครื่ องจักรราคา 3,000,000 บาท ส่ วนลด
                                              ั
การค้า 5% เงื่ อนไขการชาระเงิ น 2/10 , n/30 จ่า ยค่าขนส่ ง 15,000 บาท ค่า จ้างวิศวกรติ ดตั้งเครื่ อง
30,000 บาท
131




การคานวณราคาทุนของเครื่ องจักร :
      ราคาซื้ อ                                                           3,000,000        บาท
      หัก ส่ วนลดการค้า 5% 3,000,000                                        150,000        บาท
                                                                          2,850,000        บาท
           หัก ส่ วนลดเงินสด 2% 850,000                                      57,000        บาท
                                                                          2,793,000        บาท
           บวก ค่าขนส่ ง                                                     15,000        บาท
               ค่าจ้างวิศวกรติดตั้งเครื่ อง                                  30,000        บาท
           รวมราคาทุนเครื่ องจักร                                         2,838,000        บาท

           การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป เมื่อซื้ อดังนี้
                                       ่
 2547
 มี.ค. 1      เครื่ องจักร                                             2,838,000 -
                      เจ้าหนี้-ค่าเครื่ องจักร                                        2,793,000 -
                      เงินสด                                                             45,000 -
              ซื้ อ เครื่ องจัก ร 3,000,000 บาท ส่ ว นลด 5%
              เงื่ อ นไข 2/10 , n/30 เสี ย ค่ า ขนส่ ง และค่ า จ้า ง
              วิศวกรติดตั้งเครื่ อง 45,000 บาท

           การบันทึกรายการในสมุดรายวันทัวไป ในกรณี จ่ายชาระหนี้ทนกาหนด ดังนี้
                                        ่                       ั
 2547
 มี.ค. 31      เจ้าหนี้-ค่าเครื่ องจักร                                2,793,000 -
                     เงินสด                                                           2,793,000 -
               จ่ายชาระหนี้ค่าเครื่ องจักรทันภายในกาหนด
132




 2547
 มี.ค. 31    เจ้าหนี้-ค่าเครื่ องจักร                                    2,793,000 -
             ดอกเบี้ยจ่าย                                                   57,000 -
                   เงินสด                                                                2,850,000 -
             จ่ายชาระหนี้ ค่าเครื่ องจักรไม่ทนภายในกาหนด
                                             ั
             ไม่ได้ส่วนลด

         2. สิ นทรัพย์ที่ได้มาโดยการสร้างขึ้นเอง
              กิจการที่สร้างสิ นทรัพย์ข้ ึนมาเพื่อใช้เอง ให้บนทึกราคาทุน เท่ากับ ราคาทุนของสิ นค้าที่ผลิต
                                                              ั
เพื่อขาย ซึ่ งประกอบด้วยค่าวัตถุดิบ ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายในการผลิต ในส่ วนที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับ
                                                  ้ื                                     ั ่
การสร้างสิ นทรัพย์น้ น รวมทั้งดอกเบี้ยเงินกูยมตั้งแต่วนเริ่ มสร้างจนถึงวันที่สินทรัพย์น้ นอยูในสภาพที่
                       ั                                    ั
จะใช้งานได้

ตัวอย่ างที่ 3 เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2547 บริ ษท ฟ้ าใส จากัด เริ่ มสร้างอาคารโรงงาน กาหนดแล้วเสร็ จ
                                              ั
และพร้ อมใช้งานได้ภายใน 6 เดื อน โดยบริ ษทได้กูเ้ งิ นจากธนาคาร จานวน 7,000,000 บาท อัตรา
                                                ั
ดอกเบี้ย 10% ต่อปี เพื่อเป็ นค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง โดยมีค่าใช้จ่าย ดังนี้ ค่าวัตถุดิบ 4,000,000 บาท
ค่าแรงงาน 1,000,000 บาท ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง 1,200,000 บาท ค่าจ้างวิศวกรออกแบบและควบคุม
งาน 300,000 บาท
การคานวณราคาทุนของอาคารโรงงาน มีดงนี้     ั
         ค่าวัตถุดิบ                                                   4,000,000 บาท
         ค่าแรงงาน                                                     1,000,000 บาท
         ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง                                       1,200,000 บาท
         ค่าจ้างวิศวกรออกแบบและควบคุมงาน                                  300,000 บาท
                        ้ื
         ดอกเบี้ยเงินกูยม (7,000,000 x 10% x 6)                           350,000 บาท
                                             12
             รวมราคาทุนอาคารโรงงาน                                      6,850,000 บาท
133




          3. สิ นทรัพย์ที่ได้มาโดยการแลกเปลี่ยน
             กิ จ การได้สิ น ทรั พ ย์ม าโดยการแลกเปลี่ ย นกับ สิ น ทรั พ ย์อื่ น แบ่ ง เป็ น 2 กรณี คื อ การ
แลกเปลี่ยนกับสิ นทรัพย์อื่นที่ไม่คล้ายคลึงกัน และการแลกเปลี่ยนกับสิ นทรัพย์ที่คล้ายคลึงกัน
            3.1 การแลกเปลี่ยนกับสิ นทรัพย์อื่นที่ไม่คล้ายคลึงกัน กิจการต้องบันทึกราคาทุนของรายการ
ดังกล่าวด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ที่ได้มา ซึ่ งมีมูลค่าเทียบเท่ากับมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ที่
นาไปแลกปรับปรุ งด้วยจานวนเงินสด หรื อรายการเทียบเท่าเงินสดที่กิจการต้องโอน หรื อรับโอนในการ
แลกเปลี่ยน
          มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จานวนเงินที่ผซ้ื อและผูขายตกลงแลกเปลี่ยนสิ นทรัพย์กน ในขณะที่
                                                  ู้      ้                                     ั
ทั้งสองฝ่ ายมีความรอบรู ้และเต็มใจในการแลกเปลี่ยน และสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็ นอิสระใน
ลักษณะของผูที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน
                ้

ตัวอย่างที่ 4 เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2547 บริ ษท ฟ้ าใส จากัด นารถยนต์ซ่ ึ งมีราคาทุน 3,000,000 บาท ค่า
                                               ั
เสื่ อมราคาสะสม 1,000,000 บาท ไปแลกกับที่ดิน โดยมูลค่ายุติธรรมของที่ดินและรถยนต์เท่ากัน ซึ่ ง
แยกเป็ น 4 กรณี ดังนี้
         กรณี ที่ 1 มูลค่ายุติธรรม เป็ นเงิน 2,000,000 บาท
         กรณี ที่ 2 มูลค่ายุติธรรม เป็ นเงิน 1,700,000 บาท
         กรณี ที่ 3 มูลค่ายุติธรรมของที่ดินเป็ นเงิน 2,100,000 บาท มูลค่ายุติธรรมของรถยนต์เป็ นเงิน
                     1,800,000 บาท บริ ษทจ่ายเงินสดอีก จานวน 300,000 บาท
                                           ั
         กรณี ที่ 4 มูลค่ายุติธรรมของที่ดินเป็ นเงิน 2,200,000 บาท มูลค่ายุติธรรมของรถยนต์เป็ นเงิน
                     2,400,000 บาท บริ ษทได้รับเงินเพิ่ม จานวน 200,000 บาท
                                             ั

          การบันทึกรายการในสมุดรายวันทัวไป กรณี ที่ 1 มูลค่ายุติธรรมที่ดินและรถยนต์เท่ากัน เป็ น
                                         ่
เงิน 2,000,000 บาท
   2547
   เม.ย. 1 ที่ดิน                                                 2,000,000 -
             ค่าเสื่ อมราคาสะสม – รถยนต์                          1,000,000 -
                      รถยนต์                                                    3,000,000 -
             บันทึกการนารถยนต์ไปแลกกับที่ดิน
134




         การบันทึกรายการในสมุดรายวันทัวไป กรณี ที่ 2 มูลค่ายุติธรรมที่ดินและรถยนต์เท่ากัน เป็ น
                                       ่
เงิน 1,700,000 บาท
   2547
   เม.ย. 1 ที่ดิน                                                1,700,000 -
             ค่าเสื่ อมราคาสะสม-รถยนต์                           1,000,000 -
             ขาดทุนจากการแลกเปลี่ยนสิ นทรัพย์                      300,000 -
                      รถยนต์                                                   3,000,000 -
             บันทึกการนารถยนต์ไปแลกกับที่ดิน

  การคานวณกาไรขาดทุนจากการแลกเปลี่ยน :             การคานวณเงินสด :
  รถยนต์ราคาทุน           3,000,000 บาท            มูลค่ายุติธรรมของรถยนต์ 1,700,000 บาท
  ค่าเสื่ อมราคาสะสม      1,000,000 บาท            มูลค่ายุติธรรมของที่ดิน  1,700,000 บาท
  ราคาตามบัญชี            2,000,000 บาท            ไม่มีการรับ – จ่ายเงินสด        -
  มูลค่ายุติธรรมของรถยนต์ 1,700,000 บาท
  ขาดทุนจากการแลกเปลี่ยน 300,000 บาท

       การบันทึกรายการในสมุดรายวันทัวไปกรณี ที่ 3 มูลค่ายุติธรรมของที่ดิน เป็ นเงิน 2,100,000
                                        ่
บาท มูลค่ายุติธรรมของรถยนต์เป็ นเงิน1,800,000 บาท บริ ษท จ่ายเงินสดอีก จานวน 300,000 บาท
                                                       ั
 2547
 เม.ย. 1 ที่ดิน                                                  2,100,000 -
            ค่าเสื่ อมราคาสะสม-รถยนต์                            1,000,000 -
            ขาดทุนจากการแลกเปลี่ยนสิ นทรัพย์                       200,000 -
                     รถยนต์                                                    3,000,000 -
                     เงินสด                                                      300,000 -
            บันทึกการนารถยนต์ไปแลกเปลี่ยนกับที่ดิน
135




  การคานวณกาไรขาดทุนจากการแลกเปลี่ยน :               การคานวณเงินสด :
  รถยนต์ราคาทุน           3,000,000 บาท              มูลค่ายุติธรรมของรถยนต์ 2,100,000 บาท
  ค่าเสื่ อมราคาสะสม      1,000,000 บาท              มูลค่ายุติธรรมของที่ดิน 1,800,000 บาท
  ราคาตามบัญชี            2,000,000 บาท              เงินสดจ่าย                300,000 บาท
  มูลค่ายุติธรรมของรถยนต์ 1,800,000 บาท
  ขาดทุนจากการแลกเปลี่ยน    200,000 บาท

       การบันทึกรายการในสมุดรายวันทัวไปกรณี ที่4 มูลค่ายุติธรรมของที่ดิน เป็ นเงิ น 2,200,000
                                          ่
บาท มูลค่ายุติธรรมของรถยนต์เป็ นเงิน2,400,000 บาท บริ ษทได้รับเงินสดเพิม จานวน 200,000 บาท
                                                       ั               ่
 2547
 เม.ย. 1 ที่ดิน                                                   2,200,000 -
            ค่าเสื่ อมราคาสะสม-รถยนต์                             1,000,000 -
            เงินสด                                                  200,000 -
                     รถยนต์                                                    3,000,000 -
                     กาไรจากการแลกเปลี่ยนสิ นทรัพย์                              400,000 -
            บันทึกการนารถยนต์ไปแลกเปลี่ยนกับที่ดิน

  การคานวณกาไรขาดทุนจากการแลกเปลี่ยน :               การคานวณเงินสด :
  รถยนต์ราคาทุน           3,000,000 บาท              มูลค่ายุติธรรมของรถยนต์ 2,400,000 บาท
  ค่าเสื่ อมราคาสะสม      1,000,000 บาท              มูลค่ายุติธรรมของที่ดิน 2,200,000 บาท
  ราคาตามบัญชี            2,000,000 บาท              เงินสดรับ                 200,000 บาท
  มูลค่ายุติธรรมของรถยนต์ 2,400,000 บาท
  กาไรจากการแลกเปลี่ยน      400,000 บาท

           3.2 การแลกเปลี่ยนสิ นทรัพย์ที่คล้ายคลึงกัน กิจการต้องบันทึกราคาทุนของสิ นทรัพย์ท่ีได้รับ
มาด้วยราคาตามบัญชี ของสิ นทรัพย์ที่โอนไป โดยไม่รับรู ้รายการกาไรหรื อขาดทุนจากการแลกเปลี่ยน
ในกรณี ที่มูลค่ายุติธรรมของสิ นทรั พย์ที่ได้รับมาต่ ากว่าราคาตามบัญชี ของสิ นทรัพย์ที่โอนไป กิ จการ
ต้องบันทึกลดราคาตามบัญชี ของสิ นทรัพย์ที่โอนไป เป็ นรายการขาดทุนจากการด้อยค่า และใช้ราคา
136




ตามบัญชี ที่ปรับลดแล้วเป็ นราคาทุนของสิ นทรัพย์ใหม่ และถ้าการแลกเปลี่ ยนมีรายการเงิ นสดเข้ามา
เกี่ยวข้อง ให้ถือเป็ นการแลกเปลี่ยนสิ นทรัพย์ไม่คล้ายคลึงกัน เนื่องจากมีมูลค่ายุติธรรมไม่ใกล้เคียงกัน

ตัวอย่างที่ 5 เมื่ อ วัน ที่ 1 มิ ถุ น ายน 2547 บริ ษ ัท ฟ้ าใส จ ากัด น ารถยนต์ค ัน เก่ า ซึ่ งมี ร าคาทุ น
850,000 บาท ค่าเสื่ อมราคาสะสม 350,000 บาท ไปแลกรถยนต์คนใหม่ โดยมูลค่ายุติธรรมของรถยนต์
                                                                   ั
คันใหม่ และคันเก่า มีราคา 460,000 บาท เท่ากัน
การคานวณ
        ราคาทุนรถยนต์คนเก่า
                          ั                                                  850,000               บาท
        ค่าเสื่ อมราคาสะสม                                                   350,000               บาท
        ราคาตามบัญชี                                                         500,000               บาท
        มูลค่ายุติธรรมของรถยนต์คนใหม่   ั                                    460,000               บาท
        ขาดทุนจากการด้อยค่าของรถยนต์                                          40,000               บาท

         การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้
                                     ่
  2547
  มิ.ย. 1     ขาดทุนจากการด้อยค่าของรถยนต์                                        40,000 -
                    รถยนต์ (คันเก่า)                                                                40,000 -
              บันทึกลดราคาตามบัญชีของรถยนต์คนเก่า
                                            ั

              รถยนต์ (คันใหม่)                                                   460,000 -
              ค่าเสื่ อมราคาสะสม-รถยนต์ (คันเก่า)                                350,000 -
                       รถยนต์ (คันเก่า)                                                            810,000 -
              บันทึกการแลกเปลี่ยนรถยนต์

ค่ าเสื่ อมราคา
           ที่ ดิ น อาคารและอุ ป กรณ์ เป็ นสิ นทรั พ ย์ส่ ว นใหญ่ ที่ กิ จ การมี อ ยู่ เพื่ อใช้ใ นการด าเนิ น งาน
ตามปกติของกิ จการ โดยมีอายุการใช้งานเกิ นกว่าหนึ่ งปี หรื อ หนึ่ งรอบระยะเวลาบัญชี และเมื่อใช้ไป
แล้วย่อมมีการเสื่ อมสภาพตามการใช้งาน หรื อตามระยะเวลาที่ผ่านไป หรื อเกิ ดความล้าสมัย จึงต้องมี
137




การปั นส่ วนต้นทุนของสิ นทรัพย์ที่มีการเสื่ อมสภาพมาเป็ นค่าใช้จ่ายตามประโยชน์ที่ได้รับในแต่ละรอบ
ระยะเวลาบัญ ชี ตลอดอายุ ก ารใช้ง านของสิ น ทรั พ ย์ที่ ไ ด้มี ก ารประมาณไว้ เรี ย กว่า ค่ า เสื่ อ มราคา
(depreciation)
          มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 เรื่ องที่ดินอาคารและอุปกรณ์ ของสมาคมนักบัญชีและผูสอบ              ้
บัญชี รับอนุ ญาตแห่ งประเทศไทย (2542, หน้า 4) ได้กาหนดคานิ ยามศัพท์ ที่ใช้ในการคานวณค่าเสื่ อม
ราคา โดยเฉพาะไว้ ดังนี้
          ค่าเสื่ อมราคา หมายถึง การปั นส่ วนมูลค่าเสื่ อมสภาพของสิ นทรัพย์อย่างมีระบบตลอดอายุการ
ใช้งานที่ได้ประมาณไว้
          อายุการใช้งาน หมายถึง กรณี ใดกรณี หนึ่งต่อไปนี้
               1. ระยะเวลาที่กิจการคาดว่าจะใช้ประโยชน์จากสิ นทรัพย์
               2. จานวนผลผลิตหรื อจานวนหน่ วยในลักษณะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ซึ่ งกิจการคาดว่าจะได้รับ
จากการใช้สินทรัพย์
          ราคาทุน หมายถึ ง จานวนเงิ นสด หรื อรายการเที ย บเท่าเงิ นสดที่ กิจการจ่า ยไป หรื อมู ลค่ า
ยุติธรรมของสิ่ งอื่นที่กิจการมอบให้ เพื่อให้ได้มาซึ่ งสิ นทรัพย์ ณ เวลาที่ซ้ื อหรื อสร้างสิ นทรัพย์น้ น
                                                                                                      ั
          ราคาซาก หมายถึ ง จานวนเงิ นสุ ทธิ ซ่ ึ งกิ จการคาดว่าจะได้รับจากการจาหน่ ายสิ นทรัพย์ เมื่อ
สิ้ นสุ ดอายุการใช้งาน หลังจากหักค่าใช้จ่ายที่คาดว่าจะเกิดจากการจาหน่ายสิ นทรัพย์น้ น       ั
          จากความหมายข้างต้น จะเห็ นว่า ค่าเสื่ อมราคาเป็ นการปั นส่ วนต้นทุนของสิ นทรัพย์ไปเป็ น
ค่าใช้จ่ายในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชี ตลอดอายุของสิ นทรัพย์น้ น ซึ่ งเป็ นไปตามข้อสมมติข้ นมูลฐาน
                                                                     ั                              ั
ของการบัญชีเรื่ องการเปรี ยบเทียบรายได้กบค่าใช้จ่าย ดังนั้น การกาหนดจานวนค่าเสื่ อมราคาแต่ละปี จึง
                                            ั
ต้องทาอย่างมีระบบเนื่องจากจานวนค่าเสื่ อมราคาจะมีความแตกต่างกันในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชี ซึ่ ง
จะขึ้นอยู่กบ การประมาณอายุการใช้งาน การประมาณราคาซาก และการเลือกวิธีการคานวณค่าเสื่ อม
             ั
ราคา

การคานวณค่ าเสื่ อมราคา
      วิธีการคานวณค่าเสื่ อมราคาที่นิยมใช้ มีดงนี้
                                                ั
      1. วิธีเส้นตรง (straight- line method)
      2. วิธีอตราเร่ ง (accelerated depreciation method) ซึ่ งได้แก่
               ั
          2.1 วิธีผลรวมจานวนปี (sum- of – the – years’-digits method)
138




            2.2 วิธียอดลดลง (declining balance method)
            2.3 วิธียอดลดลงทวีคูณ (double – declining balance method)
         3. วิธีจานวนผลผลิต (units of output method)

         วิธีเส้ นตรง
         การคานวณค่าเสื่ อมราคาตามวิธีเส้นตรง จัดเป็ นวิธีที่ง่ายและนิยมใช้มากที่สุด โดยค่าเสื่ อมราคา
ในแต่ละปี จะคานวณจากการนาราคาทุนของสิ นทรัพย์ หัก ด้วยราคาซาก แล้ว หาร ด้วยอายุการใช้งาน
โดยประมาณของสิ นทรัพย์น้ น หรื อ อาจนาอัตราร้อยละค่าเสื่ อมราคา คูณ ด้วยราคาทุนของสิ นทรัพย์ที่
                                ั
หัก ด้วยราคาซากแล้ว ซึ่ ง ค่ า เสื่ อมราคาวิ ธี น้ ี จะมี จานวนเท่ า กัน ทุ ก ปี จึ ง เหมาะกับ สิ นทรั พ ย์ที่ มี ก าร
เสื่ อมสภาพตามระยะเวลาและมีการใช้งานสม่ าเสมอตลอดปี เช่ น อาคาร อุปกรณ์สานักงาน เครื่ อง
ตกแต่งสานักงาน ตูเ้ อกสาร โต๊ะทางาน เก้าอี้ เป็ นต้น
         ค่าเสื่ อมราคาตามวิธีเส้นตรง สามารถแสดงสู ตรการคานวณ ได้ดงนี้              ั
            ค่าเสื่ อมราคาต่อปี      =       ราคาทุน – ราคาซาก
                                          ประมาณอายุการใช้งาน
                   หรื อ             =      อัตราร้อยละค่าเสื่ อมราคา x (ราคาทุน – ราคาซาก)
         (โดยที่ : อัตราร้อยละค่าเสื่ อมราคา =                1           x 100%)
                                                ประมาณอายุการใช้งาน
ตัวอย่างที่ 6 เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2541 บริ ษท ฟ้ าใส จากัด จ่ายเงิ นซื้ ออุปกรณ์ ราคา 400,000 บาท
                                                 ั
ประมาณอายุใช้งาน 5 ปี บริ ษทคาดว่าหลังจากสิ้ นปี ที่ 5 จะขายเป็ นเศษซากได้ในราคา 25,000 บาท
                                ั
บริ ษทปิ ดบัญชีทุกวันที่ 31 ธันวาคม
     ั
         การคานวณค่าเสื่ อมราคา เป็ นดังนี้
            ค่าเสื่ อมราคาต่อปี    =        400,000 – 25,000       =        75,000 บาท
                                                    5
                     หรื อ         =        20% (400,000 – 25,000) =        75,000 บาท
         (โดยที่ : อัตราร้อยละค่าเสื่ อมราคา = 1 x 100% = 20% )
                                               5
139




       การคิดค่าเสื่ อมราคาตามวิธีเส้นตรงนี้ ถ้าอายุการใช้งานของสิ นทรัพย์เต็มปี ทุกปี ค่าเสื่ อมราคา
ในแต่ละปี ที่คานวณได้จะเท่ากัน สามารถสรุ ปค่าเสื่ อมราคา ค่าเสื่ อมราคาสะสม และราคาตามบัญชี ได้
ตามตาราง ดังนี้
                ราคาทุน        ค่าเสื่ อมราคาแต่ละปี    ค่าเสื่ อมราคาสะสม      ราคาตามบัญชี
       สิ้นปี
                  (1)                     (2)              (3) = (3) + (2)      (4) = (1) – (3)
       2541     400,000    400,000 – 25,000 = 75,000             75,000            325,000
                                  5
       2542     400,000    400,000 – 25,000 = 75,000         150,000               250,000
                                  5
       2543     400,.000   400,000 – 25,000 = 75,000         225,000               175,000
                                  5
       2544     400,000    400,000 – 25,000 = 75,000         300,000               100,000
                                  5
       2545     400,000    400,000 – 25,000 = 75,000         375,000               25,000
                                  5


          จะเห็นว่า เมื่อกิจการใช้สินทรัพย์ในแต่ละปี เต็มปี ค่าเสื่ อมราคาตามวิธีเส้นตรงจะเท่ากันทุกปี
คือ ปี ละ 75,000 บาท และเมื่อหมดอายุการใช้งานในวันสิ้ นปี 2545 อุปกรณ์ จะมีราคาตามบัญชี เท่ากับ
ราคาซาก คือ จานวน 25,000 บาท
          ในกรณี ที่กิจการมีการใช้สินทรัพย์ไม่เต็มปี จะคานวณค่าเสื่ อมราคาตามสัดส่ วนของอายุการใช้
งานในปี นั้น เช่น จากตัวอย่างเดิม ถ้าอายุการใช้งานในปี แรกไม่เต็มปี สมมติให้บริ ษท ฟ้ าใส จากัด ซื้ อ
                                                                                     ั
อุปกรณ์ เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2541 ดัง นั้น ในปี 2541 อายุก ารใช้งานของอุ ปกรณ์ จะนับตั้งแต่วนที่ 1
                                                                                                 ั
เมษายน 2541 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม 2541 เป็ นระยะเวลา 9 เดือน จะคานวณค่าเสื่ อมราคาได้ดงนี้ ั
          ค่าเสื่ อมราคาปี 2541 = 75,000 x 9 = 56,250 บาท
                                          12
          ส่ วนในปี 2542 , 2543, 2544 และ 2545 บริ ษทจะคิดค่าเสื่ อมราคาเต็มปี คือปี ละ 75,000 บาท
                                                         ั
เท่าเดิม เพราะบริ ษทได้ใช้อุปกรณ์ต้ งแต่วนที่ 1 มกราคม – 31 ธันวาคม และอายุการใช้งานของอุปกรณ์
                      ั              ั ั
จะสิ้ นสุ ดวันที่ 1 เมษายน 2546 ดังนั้น ค่าเสื่ อมราคาปี 2546 จึงเท่ากับ 75,000 x 3 = 18,750 บาท
                                                                                12
(นับระยะเวลา 1 มกราคม 2546 – 1 เมษายน 2546 = 3 เดือน)
140




           วิธีอตราเร่ ง
                ั
           การคานวณค่าเสื่ อมราคาตามวิธีอตราเร่ ง จะเป็ นการคิ ดค่าเสื่ อมราคาจานวนมากในปี แรก ๆ
                                                ั
และค่ อยลดน้อยลงไปตามล าดับ ในปี ต่ อไป จนหมดอายุก ารใช้ง าน จึ ง เหมาะสมกับ สิ น ทรั พ ย์ที่ มี
                                                                         ่ ั
ประสิ ทธิ ภาพการใช้งานสู งในระยะแรก หรื อสิ นทรัพย์ที่ข้ ึนอยูกบความนิ ยม เช่น เครื่ องคอมพิวเตอร์
เครื่ องถ่ายเอกสาร ซึ่ งก่อให้เกิดรายได้สูงในปี แรก ๆ และลดต่าลงในปี หลัง ๆ ดังนั้น เพื่อให้สอดคล้อง
กับข้อสมมติฐานของการบัญชีเรื่ องการเปรี ยบเทียบค่าใช้จ่ายกับรายได้ค่าเสื่ อมราคาในปี แรก ๆ จึงควรมี
จานวนมากและลดต่าลงในปี หลัง ๆ เช่นกัน
           วิธีคานวณค่าเสื่ อมราคาอัตราเร่ ง ที่นิยมใช้ มี 3 วิธีได้แก่
              1. วิธีผลรวมจานวนปี ตามวิธีน้ ีค่าเสื่ อมราคาต่อปี จะคานวณจาก เศษส่ วนของผลประโยชน์
ที่จะได้รับจากการใช้สินทรัพย์คงเหลือ คูณด้วยราคาทุนที่หกราคาซากแล้ว โดยตัวเศษ คือ ผลประโยชน์
                                                                  ั
ที่จะได้รับจากการใช้สินทรัพย์คงเหลือ ณ วันต้นงวดของแต่ละงวด ตัวส่ วนคือ ผลรวมของอายุการใช้
งานคงเหลือทุกงวด เช่น อายุการใช้งานของสิ นทรัพย์ 5 ปี ดังนั้นปี แรกเริ่ มใช้สินทรัพย์ผลประโยชน์ที่
จะได้รับจากการใช้สินทรัพย์คงเหลือ ณ วันต้นงวดจะเป็ น 5 ปี และผลรวมของอายุการใช้งานคงเหลือ
ทุกงวด คือ 5 + 4 + 3 + 2 + 1 เท่ากับ 15 ดังนั้น ในปี แรก เศษส่ วนที่จะใช้ในการคานวณค่าเสื่ อมราคา
คือ 5 ในปี ที่สอง เนื่ องจากใช้ประโยชน์ไ ปแล้วหนึ่ งปี ผลประโยชน์ที่จะได้รับจากการใช้สินทรัพ ย์
    15
คงเหลือ ณ วันต้นงวด จะเหลือ 4 ปี เศษส่ วนคือ 4 เป็ นต้น
                                                     15
ค่าเสื่ อมราคาวิธีผลรวมจานวนปี สามารถแสดงสู ตรการคานวณ ได้ดงนี้                 ั
           ค่าเสื่ อมราคาต่อปี = ผลประโยชน์ที่จะได้รับจากการใช้สินทรัพย์ ณ วันต้นงวดของแต่ละงวด x (ราคาทุน – ราคาซาก)
                                       ผลรวมของอายุการใช้งานคงเหลือทุกงวด
         ตัวเลขที่เป็ นส่ วน อาจใช้สูตรคานวณได้ดงนี้ คือ N (N + 1)
                                                ั
                                                              2
         N         = อายุการใช้งานโดยประมาณของสิ นทรัพย์

ตัวอย่างที่ 7 จากข้อมูล ตัวอย่า งที่ 6 สมมติ บริ ษท คิ ดค่าเสื่ อมราคาตามวิธีผลรวมจานวนปี การ
                                                     ั
คานวณค่าเสื่ อมราคา เป็ นดังนี้
        ค่าเสื่ อมราคาปี ที่ 1 = 5 x (400,000 – 25,000)
                                15
                               = 125,000 บาท
141




      การคิ ดค่าเสื่ อมราคาตามวิธีผลรวมจานวนปี สามารถสรุ ปค่าเสื่ อมราคา ค่าเสื่ อมราคาสะสม
และราคาตามบัญชี ได้ตามตารางดังนี้
              ราคาทุน          ค่าเสื่ อมราคาแต่ละปี      ค่าเสื่ อมราคาสะสม   ราคาตามบัญชี
     สิ้นปี
                (1)                       (2)                (3) = (3) + (2)   (4) = (1) – (3)
     2541     400,000    5 (400,000 – 25,000) = 125,000           125,000         275,000
                         15
     2542     400,000    4 (400,000 – 25,000) = 100,000        225,000            175,000
                         15
     2543     400,.000   3 (400,000 – 25,000) = 75,000         300,000            100,000
                         15
     2544     400,000    2 (400,000 – 25,000) = 50,000         350,000            50,000
                         15
     2545     400,000    1 (400,000 – 25,000) = 25,000         375,000            25,000
                         15


          ค่าเสื่ อมราคาในปี แรกจะสู งและค่อยลดน้อยลงตามลาดับ และเมื่อหมดอายุการใช้งาน ในวัน
สิ้ นปี 2545 ราคาตามบัญชีจะเท่ากับราคาซาก คือ จานวน 25,000 บาท

                                      ่
          2. วิธียอดลดลง ตามวิธีน้ ีคาเสื่ อมราคาต่อปี จะคานวณจากอัตราร้อยละค่าเสื่ อมราคาคูณด้วย
ราคาตามบัญชีของสิ นทรัพย์ตนงวด อัตราร้อยละค่าเสื่ อมราคาจะคานวณจากสู ตร
                              ้
                   r      =       100 (1- n √s : c)
       โดยที่ r           =       อัตราร้อยละค่าเสื่ อมราคา
                   s      =       ราคาซาก
                   c      =       ราคาทุน
                   n      =       อายุการใช้งานของสิ นทรัพย์
       ค่าเสื่ อมราคาวิธียอดลดลง สามารถแสดงสู ตรการคานวณ ดังนี้
          ค่าเสื่ อมราคาต่อปี = อัตราร้อยละค่าเสื่ อมราคา x ราคาตามบัญชีของสิ นทรัพย์ตนงวด
                                                                                      ้
142




ตัวอย่างที่ 8 จากข้อมูลตัวอย่างที่ 6 สมมติบริ ษทคิดค่าเสื่ อมราคาตามวิธียอดลดลงการคานวณค่าเสื่ อม
                                               ั
ราคา เป็ นดังนี้
         จากสู ตร            r      =     100 (1- n √s : c)
                                    =     100 (1- 5 √25,000 :400,000)
                                    =     100 (1 – 0.5744)
                                    =     100 x 0.4256
                                    =     42.56 %
            ค่าเสื่ อมราคาปี ที่ 1 =      อัตราร้อยละค่าเสื่ อมราคา x ราคาตามบัญชี
                                    =     42.56 % x 400,000
                                    =     170,240 บาท

      การคิดค่าเสื่ อมราคาตามวิธียอดลดลง สามารถสรุ ปค่าเสื่ อมราคา ค่าเสื่ อมราคาสะสม และราคา
ตามบัญชีได้ตามตาราง ดังนี้
              ราคาทุน         ค่าเสื่ อมราคาแต่ละปี         ค่าเสื่ อมราคาสะสม   ราคาตามบัญชี
     สิ้นปี
                (1)                      (2)                   (3) = (3) + (2)   (4) = (1) – (3)
              400,000                                                               400,000
     2541     400,000    42.56 % x 400,000 =   170,240           170,240            229,760
     2542     400,000    42.56 % x 229,760 =    97,786           268,026            131,974
     2543     400,.000   42.56 % x 131,974 =    56,168           324,194             75,806
     2544     400,000    42.56 % x 75,806 =    32,263            356,457             43,543
     2545     400,000    *43,543 – 25,000 =    18,543            375,000             25,000


          * เนื่องจาก เมื่อหมดอายุการใช้งาน ในวันสิ้ นปี 2545 ราคาตามบัญชีจะต้องเท่ากับราคาซาก คือ
จานวน 250,000 บาท ดังนั้น ค่าเสื่ อมราคาในปี สุ ดท้าย 2545 จึงเท่ากับ 18,543 บาท (43,543 – 25,000)
ไม่ใช่เท่ากับ 18,532 บาท (42.56% x 43,543)

            3. วิธียอดลดลงทวีคูณ ตามวิธีน้ ี ค่าเสื่ อมราคาต่อปี จะคานวณโดยใช้ สองเท่าของอัตราร้อย
ละค่าเสื่ อมราคาตามวิธีเส้นตรง คูณด้วยราคาตามบัญชี ของสิ นทรัพย์ตนงวด สามารถแสดงสู ตรการ
                                                                        ้
คานวณได้ดงนี้ั
143




         ค่าเสื่ อมราคาต่อปี = สองเท่าของอัตราร้อยละค่าเสื่ อมราคาตามวิธีเส้นตรง x ราคาตามบัญชีของสิ นทรัพย์ตนงวด
                                                                                                             ้
         อัตราร้อยละค่าเสื่ อมราคาตามวิธีเส้นตรง =                    1 x 100%
                                                                อายุการใช้งาน

ตัวอย่างที่ 9 จากข้อมูลตัวอย่างที่ 6 สมมติบริ ษทคิดค่าเสื่ อมราคาตามวิธียอดลดลงทวีคูณ การคานวณ
                                                ั
ค่าเสื่ อมราคา เป็ นดังนี้
          อัตราร้อยละค่าเสื่ อมราคาตามวิธีเส้นตรง =         1     x 100%
                                                            อายุการใช้งาน
                                              =      1 x 100 %        = 20%
                                                     5
        สองเท่าของอัตราร้อยละวิธีเส้นตรง = 2 x 20 %                  = 40 %
         ค่าเสื่ อมราคา ปี ที่ 1              = 40% x 400,000
                                              = 160,000 บาท
       การคิ ดค่าเสื่ อมราคาตามวิธียอดลดลงทวีคูณ สามารถสรุ ปค่าเสื่ อมราคา ค่าเสื่ อมราคาสะสม
และ ราคาตามบัญชี ได้ตามตารางดังนี้
               ราคาทุน            ค่าเสื่ อมราคาแต่ละปี              ค่าเสื่ อมราคาสะสม    ราคาตามบัญชี
     สิ้นปี
                 (1)                         (2)                        (3) = (3) + (2)    (4) = (1) – (3)
               400,000                                                                        400,000
     2541      400,000     40 % x 400,000 = 160,000                       160,000             240,000
     2542      400,000     40 % x 240,000 = 96,000                        256,000             144,000
     2543      400,.000    40 % x 144,000 = 57,600                        313,600              86,400
     2544      400,000     40 % x 86,400 = 34,560                         348,160              51,840
     2545      400,000     * 51,840 – 25,000 = 26,840                     375,000              25,000
        * เนื่ องจาก เมื่อหมดอายุการใช้งาน ในวันสิ้ นปี 2545 ราคาตามบัญชี จะต้องเท่ากับราคาซาก
คือ จานวน 25,000 บาท ดังนั้น ค่า เสื่ อมราคาในปี สุ ดท้า ย 2545 จึ งเท่า กับ 26,840 บาท (51,840 –
25,000) ไม่ใช่เท่ากับ 20,736 บาท (40% x 51,840)

วิธีจานวนผลผลิต
        การคานวณค่าเสื่ อมราคาตามวิธีจานวนผลผลิ ต จะเป็ นการคิ ดค่าเสื่ อมราคาผันแปรไปตาม
จานวนผลผลิต คือ ยิงใช้สินทรัพย์ในการผลิตมากเท่าใดสิ นทรัพย์ก็ยิ่งต้องเสื่ อมสภาพลงมากเท่านั้น ซึ่ ง
                  ่
จะสอดคล้องกับข้อสมมติฐานของการบัญชีเรื่ องการเปรี ยบเทียบรายได้กบค่าใช้จ่ายมากที่สุด เพราะเมื่อ
                                                                    ั
144




สิ นทรัพย์ให้ผลประโยชน์มากก็ควรแบ่งต้นทุนสิ นทรัพย์เป็ นค่าใช้จ่ายมากตามไปด้วย วิธีน้ ี เหมาะจะ
          ั
นามาใช้กบสิ นทรัพย์ที่มีการเสื่ อมสภาพตามการใช้งาน หรื อ สิ นทรัพย์ที่ใช้งานไม่สม่ าเสมอเป็ นบาง
ช่ วงเวลา เช่ น เครื่ องจักร รถยนต์ ซึ่ งจะคานวณค่ าเสื่ อมราคา โดยการนาค่า เสื่ อมราคาต่ อหน่ วย
ผลผลิต คูณด้วยจานวนผลผลิตที่ได้ในแต่ละงวดบัญชี
        ค่าเสื่ อมราคาตามวิธีจานวนผลผลิต สามารถแสดงสู ตรการคานวณได้ดงนี้          ั
            ค่าเสื่ อมราคาต่อหน่วยผลผลิต =              ราคาทุน – ราคาซาก
                                            จานวนผลผลิตที่คาดว่าจะผลิตได้ท้ งหมด    ั
            ค่าเสื่ อมราคาต่อปี           = ค่าเสื่ อมราคาต่อหน่วยผลผลิต x จานวยผลผลิตที่ได้ในแต่ละงวดบัญชี

ตัวอย่างที่ 10 เมื่ อวันที่ 1 มี นาคม 2541 บริ ษ ท ฟ้ าใส จากัด ซื้ อเครื่ องจักร ราคา 850,000 บาท
                                                        ั
ประมาณว่าจะสามารถผลิ ตสิ นค้าได้จานวนทั้ง สิ้ น 200,000 ชิ้ น และมี ราคาซาก 50,000 บาท ใน
ระยะเวลา 5 ปี เครื่ องจักรสามารถผลิตสิ นค้า ได้ดงนี้  ั
        ปี ที่ 2541         เครื่ องจักรผลิตสิ นค้า           30,000 ชิ้น
        ปี ที่ 2542         เครื่ องจักรผลิตสิ นค้า           40,000 ชิ้น
        ปี ที่ 2543         เครื่ องจักรผลิตสิ นค้า           50,000 ชิ้น
        ปี ที่ 2544         เครื่ องจักรผลิตสิ นค้า           60,000 ชิ้น
        ปี ที่ 2545         เครื่ องจักรผลิตสิ นค้า           20,000 ชิ้น
                            รวม                               200,000 ชิ้น
        การคานวณค่าเสื่ อมราคา เป็ นดังนี้
            ค่าเสื่ อมราคาต่อหน่วยผลผลิต =                  ราคาทุน – ราคาซาก
                                                    จานวนผลผลิตที่คาดว่าจะผลิตได้ท้ งหมด
                                                                                    ั
                                               = 850,000 – 50,000
                                                         200,000
                                      = 4 บาท
      การคิดค่าเสื่ อมราคาตามวิธีจานวนผลผลิต ถ้าจานวนผลผลิตที่ได้ในแต่ละปี เปลี่ยนไป ค่าเสื่ อม
ราคาในแต่ละปี ก็เปลี่ยนไปด้วย สามารถสรุ ปค่าเสื่ อมราคา ค่าเสื่ อมราคาสะสม และราคาตามบัญชี ได้
ตามตาราง ดังนี้
145




                ราคาทุน            ค่าเสื่ อมราคาแต่ละปี         ค่าเสื่ อมราคาสะสม        ราคาตามบัญชี
      สิ้นปี
                  (1)                         (2)                   (3) = (3) + (2)        (4) = (1) – (3)
      2541      850,000   4   x   30,000 = 120,000                       120,000              730,000
      2542     850,000    4   x   40,000 = 160,000                       280,000              570,000
      2543     850,.000   4   x   50,000 = 200,000                       480,000              370,000
      2544     850,000    4   x   60,000 = 240,000                       720,000              130,000
      2545     850,000    4   x   20,000 = 80,000                        800,000               50,000


        ค่าเสื่ อมราคาจะเปลี่ยนไปตามจานวนผลผลิตในแต่ละปี และเมื่อหมดอายุการใช้งานในวันสิ้ น
ปี 2545 ราคาตามบัญชีจะเท่ากับราคาซาก คือ จานวน 50,000 บาท

การบันทึกบัญชีค่าเสื่ อมราคา
          กิจการจะคานวณค่าเสื่ อมราคาของสิ นทรัพย์แต่ละประเภทที่จะบันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายตามวิธีใด
วิธีหนึ่ งที่ กล่ าวมาข้างต้น ณ วันสิ้ นงวดบัญชี พร้ อมรายการปรับปรุ งต่างๆ ในสมุดรายวัน ทัวไป โดย
                                                                                           ่
บันทึกรายการบัญชี ได้ดงนี้  ั
                     เดบิต บัญชีค่าเสื่ อมราคา                               XX
                              เครดิต บัญชีค่าเสื่ อมราคาสะสม                       XX
          บัญชี ค่าเสื่ อมราคา เป็ นบัญชี ค่าใช้จ่ายแสดงรายการในงบกาไรขาดทุน ภายใต้หวข้อค่าใช้จ่าย
                                                                                      ั
ในการบริ หารส่ วนบัญชี ค่าเสื่ อมราคาสะสม เป็ นบัญชี ปรับมูลค่าของสิ นทรัพย์โดยนาไปหักจากบัญชี
สิ นทรัพย์ในหมวดที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสิ นทรัพย์จะได้แสดงราคาสุ ทธิ ตามบัญชี ใน
งบดุล การแสดงรายการในงบการเงินจะเป็ น ดังนี้

                                                 งบกาไรขาดทุน
ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร
          :
ค่าเสื่ อมราคา                                                                        XX
146




                                                   งบดุล
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
         :
สิ นทรัพย์                                                 XX
หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม                                     (XX)       XX

ตัวอย่างที่ 11 จากโจทย์ในตัวอย่างที่ 6 การบันทึกการซื้ ออุปกรณ์ และค่าเสื่ อมราคาประจาปี 2541-
2545 ในสมุดรายวันทัวไป สมุดบัญชี แยกประเภท และยอดราคาสุ ทธิ ตามบัญชี ของอุปกรณ์ ในงบดุ ล
                        ่
เป็ นดังนี้
            การบันทึกรายการในสมุดรายวันทัวไป
                                         ่
 2541
 ม.ค. 1    อุปกรณ์                                                 400,000 -
                    เงินสด                                                        400,000 -
           บันทึกการซื้ออุปกรณ์เป็ นเงินสด
 ธ.ค. 31   ค่าเสื่ อมราคา – อุปกรณ์                                 75,000 -
                    ค่าเสื่ อมราคาสะสม – อุปกรณ์                                   75,000 -
           บันทึกค่าเสื่ อมราคาอุปกรณ์
 2542
 ธ.ค. 31   ค่าเสื่ อมราคา – อุปกรณ์                                 75,000 -
                    ค่าเสื่ อมราคาสะสม – อุปกรณ์                                   75,000 -
           บันทึกค่าเสื่ อมราคาอุปกรณ์
 2543
 ธ.ค. 31   ค่าเสื่ อมราคา – อุปกรณ์                                 75,000 -
                    ค่าเสื่ อมราคาสะสม – อุปกรณ์                                   75,000 -
           บันทึกค่าเสื่ อมราคาอุปกรณ์
 2544
 ธ.ค. 31   ค่าเสื่ อมราคา – อุปกรณ์                                 75,000 -
                    ค่าเสื่ อมราคาสะสม – อุปกรณ์                                   75,000 -
           บันทึกค่าเสื่ อมราคาอุปกรณ์
147




2545
ธ.ค. 31       ค่าเสื่ อมราคา – อุปกรณ์                                              75,000 -
                       ค่าเสื่ อมราคาสะสม – อุปกรณ์                                             75,000 -
              บันทึกค่าเสื่ อมราคาอุปกรณ์


          การบันทึกรายการในสมุดบัญชีแยกประเภท
                                    ค่าเสื่ อมราคา – อุปกรณ์
 2541                                                         2541
 ธ.ค. 31     ค่าเสื่ อมราคาสะสม-อุปกรณ์           75,000    - ธ.ค. 31   โอนไปบัญชี กาไรขาดทุน   75,000 -
                                                  75,000    -                                   75,000 -
 2542                                                         2542
 ธ.ค. 31     ค่าเสื่ อมราคาสะสม-อุปกรณ์           75,000    - ธ.ค. 31   โอนไปบัญชี กาไรขาดทุน   75,000 -
                                                  75,000    -                                   75,000 -
 2543                                                         2543
 ธ.ค. 31     ค่าเสื่ อมราคาสะสม-อุปกรณ์           75,000    - ธ.ค. 31   โอนไปบัญชี กาไรขาดทุน   75,000 -
                                                  75,000    -                                   75,000 -
 2544                                                         2544
 ธ.ค. 31     ค่าเสื่ อมราคาสะสม-อุปกรณ์           75,000    - ธ.ค. 31   โอนไปบัญชี กาไรขาดทุน   75,000 -
                                                  75,000    -                                   75,000 -
 2545                                                         2545
 ธ.ค. 31     ค่าเสื่ อมราคาสะสม-อุปกรณ์           75,000    - ธ.ค. 31   โอนไปบัญชี กาไรขาดทุน   75,000 -
                                                  75,000    -                                   75,000 -
148




                    ค่าเสื่ อมราคาสะสม – อุปกรณ์
2541                                   2541
ธ.ค. 31   ยอดยกไป          75,000    - ธ.ค. 31   ค่าเสื่ อมราคา – อุปกรณ์   75,000 -
                           75,000    -                                      75,000 -
2542                                   2542
                                       ม.ค. 1    ยอดยกมา                     75,000 -
ธ.ค. 31   ยอดยกไป         150,000    - ธ.ค. 31   ค่าเสื่ อมราคา – อุปกรณ์    75,000 -
                          150,000    -                                      150,000 -



2543                                2543
                                    ม.ค. 1       ยอดยกมา                    150,000 -
ธ.ค. 31   ยอดยกไป         225,000 - ธ.ค. 31      ค่าเสื่ อมราคา – อุปกรณ์    75,000 -
                          225,000 -                                         225,000 -



2544                                   2544
                                       ม.ค. 1    ยอดยกมา                    225,000 -
ธ.ค. 31   ยอดยกไป         300,000    - ธ.ค. 31   ค่าเสื่ อมราคา – อุปกรณ์    75,000 -
                          300,000    -                                      300,000 -
2545                                   2545
                                       ม.ค. 1    ยอดยกมา                    300,000
ธ.ค. 31   ยอดยกไป         375,000    - ธ.ค. 31   ค่าเสื่ อมราคา – อุปกรณ์    75,000 -
                          375,000    -                                      375,000 -
149




        การแสดงรายการในงบดุล
                                        บริษัท ฟาใส จากัด
                                                ้
                                         งบดุล (บางส่ วน)
                                       ณ 31 ธันวาคม 2541
                                            สิ นทรัพย์
:
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
         อุปกรณ์                                       400,000
         หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม – อุปกรณ์               75,000   325,000

                                       ณ 31 ธันวาคม 2542
:
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
         อุปกรณ์                                       400,000
         หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม – อุปกรณ์              150,000   250,000

                                       ณ 31 ธันวาคม 2543
:
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
         อุปกรณ์                                       400,000
         หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม – อุปกรณ์              225,000   175,000

                                       ณ 31 ธันวาคม 2544
:
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
         อุปกรณ์                                       400,000
         หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม – อุปกรณ์              300,000   100,000
150




                                           ณ 31 ธันวาคม 2545
:
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์
         อุปกรณ์                                                400,000
         หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม – อุปกรณ์                       375,000            25,000

        ในวันสิ้ นปี 2545 เมื่อบริ ษทปั นส่ วนต้นทุ นของอุ ปกรณ์ ไปเป็ นค่าใช้จ่ายในรู ปค่าเสื่ อมราคา
                                    ั
ครบตามอายุก ารใช้ง านแล้ว อุ ปกรณ์ จะแสดงมู ล ค่ า ในราคาตามบัญชี เท่ า กับ ราคาซาก คื อ จานวน
25,000 บาท และ ถ้าบริ ษทมีการนาอุปกรณ์ไปใช้ต่อหลังจากนั้น บริ ษทก็ไม่ตองบันทึกค่าเสื่ อมราคาอีก
                        ั                                          ั       ้

การซ่ อมแซม
                                                                  ั
           เมื่อกิจการใช้งานสิ นทรัพย์ซ่ ึ งให้ผลประโยชน์กบกิจการหลายงวดบัญชี บางครั้งอาจมีรายจ่าย
เกิ ดขึ้ นจากการปรับปรุ งหรื อซ่ อมแซมสิ นทรัพย์เหล่านั้น จึ งมีประเด็นที่ตองพิจารณาก่อนการบันทึ ก
                                                                                 ้
บัญชี สาหรับรายจ่ายที่เกิดขึ้นว่า เป็ นรายจ่ายเป็ นทุน (capital expenditure) หรื อ ค่าใช้จ่ายของงวดบัญชี
(revenue expenditure)
           รายจ่ า ยเป็ นทุ น หมายถึ ง รายจ่ า ยที่ มี มู ล ค่ า มากเป็ นสาระส าคัญ และท าให้ กิ จ การได้รั บ
ผลประโยชน์จากการใช้สินทรัพย์เพิ่มขึ้นในอนาคตจากที่เคยประเมินไว้เดิม ได้แก่
           1. ทาให้สินทรัพย์มีอายุการใช้งานเพิมขึ้น
                                                  ่
           2. ทาให้สินทรัพย์มีประสิ ทธิ ภาพการใช้งานเพิ่มขึ้น
                                                                        ่
           3. ทาให้คุณภาพของผลผลิตดีข้ ึนอย่างมาก หรื อค่าใช้จายดาเนินงานที่เคยประเมินไว้ลดลง
           รายจ่ายเป็ นทุ นเมื่ อเกิ ดขึ้นจะให้ผลประโยชน์ต่อกิ จการหลายงวดบัญชี จึงนาไปบันทึ กบัญชี
รวมเป็ นต้นทุนของสิ นทรัพย์น้ น โดยจะ เดบิตบัญชีสินทรัพย์เพิ่มขึ้น ซึ่ งรายจ่ายที่ถือว่าเป็ นทุน มีดงนี้
                                     ั                                                                 ั
           1. การเพิมเติม (addition) หมายถึง รายจ่ายที่เกิดจากการขยายหรื อต่อเติมสิ นทรัพย์ที่มีอยูเ่ ดิม
                     ่
ออกไปให้ดีข้ ึ น เช่ น ขยายอาคารให้มีพ้ืนที่ ใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นโดยการต่อห้องออกไป หรื อ ต่อเติ ม
อาคารจาก 2 ชั้น มาเป็ น 3 ชั้น

        2. การปรับปรุ งคุณภาพให้ดีข้ ึน (improvement or betterment) เป็ นรายจ่ายที่ทาให้สินทรัพย์มี
ประสิ ทธิ ภาพการใช้งานเพิ่มขึ้น หรื อคุณภาพของผลผลิตดีข้ ึนอย่างมาก เช่น เปลี่ยนหลังคาโรงงานจาก
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน

More Related Content

What's hot

เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัดเฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัดAor's Sometime
 
บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัทบทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัทPa'rig Prig
 
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนบทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนPa'rig Prig
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าKu'kab Ratthakiat
 
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด Aor's Sometime
 
ผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารAttachoke Putththai
 
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102Chenchira Chaengson
 
นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1
นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1
นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1Niti Nachit
 
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสารส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสารAttachoke Putththai
 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...Earn LikeStock
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกThamonwan Theerabunchorn
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)
ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)
ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)Nattakorn Sunkdon
 

What's hot (20)

เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัดเฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
 
บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัทบทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
 
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วนบทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
บทที่ 1 การจัดตั้งห้างหุ้นส่วน
 
บัญชีต้นทุน1
บัญชีต้นทุน1บัญชีต้นทุน1
บัญชีต้นทุน1
 
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
 
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
 
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
 
ผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสาร
 
Tas16 ppe
Tas16 ppeTas16 ppe
Tas16 ppe
 
07 ma
07 ma07 ma
07 ma
 
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
 
หน่วยที่ 3ร่วมค้า
หน่วยที่ 3ร่วมค้าหน่วยที่ 3ร่วมค้า
หน่วยที่ 3ร่วมค้า
 
นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1
นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1
นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1
 
Accout
AccoutAccout
Accout
 
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสารส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
 
04 ma
04 ma04 ma
04 ma
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริกตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
ตัวอย่างแผนธุรกิจน้ำพริก
 
ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)
ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)
ตัวอย่างแผนธุรกิจของบริษัทกำแพงแสนคอมเมอร์เชี่ยลจำกัด(Kanpeansan)
 

Similar to Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน

บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8praphol
 
การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕
การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕
การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕Prachoom Rangkasikorn
 
การคำนวณภาษีธุรกิจเฉพาะ
การคำนวณภาษีธุรกิจเฉพาะการคำนวณภาษีธุรกิจเฉพาะ
การคำนวณภาษีธุรกิจเฉพาะOrawonya Wbac
 
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance IndexNopporn Thepsithar
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5AVGROUP
 

Similar to Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน (8)

บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8
 
Ch3
Ch3Ch3
Ch3
 
การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕
การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕
การจัดซื้อจัดจ้างและระเบียบที่เกี่ยวข้องมาตรการไทยเข็มแข็ง ๒๕๕๕
 
ทดสอบการอัพโหลดครั้งที่3
ทดสอบการอัพโหลดครั้งที่3ทดสอบการอัพโหลดครั้งที่3
ทดสอบการอัพโหลดครั้งที่3
 
การคำนวณภาษีธุรกิจเฉพาะ
การคำนวณภาษีธุรกิจเฉพาะการคำนวณภาษีธุรกิจเฉพาะ
การคำนวณภาษีธุรกิจเฉพาะ
 
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
2014-02-04 Logistics Performance Index & Supply Chain Performance Index
 
Presentation 5
Presentation 5Presentation 5
Presentation 5
 
โครงการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการคลัง2
โครงการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการคลัง2โครงการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการคลัง2
โครงการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการคลัง2
 

Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน

  • 1. บทที่ 4 ทีดิน อาคารและอุปกรณ์ และสิ นทรัพย์ ไม่ มตัวตน ่ ี การดาเนิ นธุ รกิจของกิ จการทุกประเภท จาเป็ นต้องมีสินทรัพย์ไว้เพื่อใช้ในการดาเนิ นงาน ซึ่ ง สิ นทรัพย์ที่ใช้จะแบ่งประเภทออกเป็ น สิ นทรัพย์หมุนเวียน (current assets) และสิ นทรัพย์ถาวร (long- lived assets) สิ นทรั พย์หมุ นเวียน จะถื อว่าเป็ นสิ นทรั พย์ที่ใช้หมดไปภายในหนึ่ งปี หรื อหนึ่ งรอบ ระยะเวลาบัญชี อันประกอบด้วยรายการเงินสด เงินฝากธนาคาร หลักทรัพย์ตามความต้องการของตลาด ตัวเงินรับ ลูกหนี้ สิ นค้าคงเหลือ เป็ นต้น ซึ่ งได้กล่าวถึงโดยละเอียดในตอนต้นแล้ว ส่ วนสิ นทรัพย์ถาวร ๋ หรื อที่เรี ยกกันในปั จจุบน คือ ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (property , plant and equipment) จะเป็ น ั สิ นทรั พย์ที่มีอายุใช้งานเกิ นกว่าหนึ่ งปี หรื อหนึ่ งรอบระยะเวลาบัญชี อันประกอบด้วยรายการที่ ดิน อาคาร เครื่ องจักร เครื่ องมืออุปกรณ์ต่างๆ ยานพาหนะ ฯลฯ รวมทั้งทรัพยากรธรรมชาติ และสิ นทรัพย์ ไม่มีตวตน ที่กิจการมีไว้ใช้ดวย โดยปกติทวไป ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ จะเป็ นสิ นทรัพย์ส่วนใหญ่ที่ ั ้ ั่ กิจการมีอยู่ มีลกษณะคงทนถาวร มีราคาต่อหน่ วยสู ง จึงเป็ นรายการสาคัญในการแสดงฐานะการเงิ น ั ของกิ จการที่ควรบันทึกมูลค่าของสิ นทรัพย์ให้ถูกต้อง และเนื่ องจากว่าสิ นทรัพย์ประเภทนี้ เมื่อใช้ไป แล้วมีการเสื่ อมราคาตามสภาพการใช้งานหรื อตามระยะเวลาที่ผ่านไป หรื อ มีการเสื่ อมราคาลงเพราะ เกิ ดจากความล้าสมัยทั้งที่สภาพยังดี อยู่ ยกเว้นที่ดิน กิจการจึงมีการคิดค่าเสื่ อมราคาและค่าสู ญสิ้ นจาก การใช้งาน โดยการปั นส่ วนต้นทุ นของสิ นทรั พ ย์ที่ มีก ารเสื่ อมสภาพ มาเป็ นค่ าใช้จ่า ยในแต่ ละรอบ ระยะเวลาบัญชี ซึ่ งมีวิธีการคิดค่าเสื่ อมราคาได้หลายวิธีที่ให้ผลของการคิดค่าเสื่ อมราคาในแต่ละวิธีไม่ เท่ากัน ดังนั้น การที่ กิจการจะเลื อกใช้วิธีการคิ ดค่าเสื่ อมราคาวิธีใดก็ควรมีการพิจารณาให้รอบคอบ เพราะอาจมีผลกระทบต่อการแสดงผลการดาเนินงานของกิจการ ความหมายของทีดิน อาคารและอุปกรณ์ ่ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 เรื่ องที่ ดิน อาคารและอุปกรณ์ของสมาคมนักบัญชี และผูสอบ ้ บัญชีรับอนุญาตแห่ งประเทศไทย (2542, หน้า 4)ได้กาหนดคานิ ยามศัพท์ ของที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ โดยเฉพาะไว้ดงนี้ ั ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ หมายถึง สิ นทรัพย์ที่มีตวตน ซึ่ งเข้าเงื่อนไขทุกข้อต่อไปนี้ ั
  • 2. 128 1. กิจการมีไว้เพื่อใช้ประโยชน์ในการผลิต เพื่อใช้ในการจาหน่ายสิ นค้าหรื อให้บริ การ เพื่อให้ เช่าหรื อเพื่อให้ใช้ในการบริ หารงาน 2. กิจการคาดว่าจะใช้ประโยชน์มากกว่าหนึ่งรอบบัญชี จากความหมายข้างต้น จะเห็นว่า ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์เป็ นสิ นทรัพย์ท่ีมีตวตน ซึ่ งกิจการมี ั ไว้ใ ช้ใ นการดาเนิ นงานตามปกติ ข องกิ จการและอาจรวมถึ ง สิ่ ง ที่ มี ไว้เพื่ อใช้ในการบ ารุ ง รั ก ษาหรื อ ซ่ อมแซม โดยกิจการได้มาหรื อสร้างขึ้นเอง และไม่ได้มีวตถุประสงค์ที่จะขาย แต่มีความตั้งใจว่าจะใช้ ั ประโยชน์จากสิ นทรั พย์น้ ันต่อเนื่ องตลอดไป ฉะนั้น อายุการใช้งานของสิ นทรั พย์จึงเกิ นกว่าหนึ่ ง ปี ได้แก่ ที่ ดิน อาคาร เครื่ องจัก ร เครื่ องมื ออุ ป กรณ์ ต่างๆ ทั้งในโรงงานและส านัก งาน เครื่ องตกแต่ ง ยานพาหนะ ทรัพยากรธรรมชาติ เป็ นต้น ในอดี ต กิ จการแสดง ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ในงบดุ ลภายใต้หัวข้อ สิ นทรั พย์ถาวร แต่ใน ปัจจุบน ได้แสดงไว้ภายใต้หวข้อ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ั ั ประเภทของทีดิน อาคารและอุปกรณ์ ่ ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท คือ 1. สิ นทรัพย์ที่มีตวตน จะหมายถึง สิ นทรัพย์ที่จบต้องได้ โดยแยกเป็ น ั ั 1.1 สิ นทรัพย์ที่มีตวตนที่มีอายุการใช้งานไม่จากัด จะเป็ นสิ นทรัพย์ที่ใช้งานแล้วสภาพยังคง ั เดิม ไม่มีการเสื่ อมสภาพ จึงไม่ตองหักค่าเสื่ อมราคา ได้แก่ ที่ดิน ้ 1.2 สิ นทรัพย์ที่มีตวตนที่มีอายุการใช้งานจากัด จะเป็ นสิ นทรัพย์ท่ีมีการเสื่ อมสภาพตามการ ั ใช้งานหรื อตามระยะเวลาที่ผ่านไปหรื อเกิ ดจาความล้าสมัยทั้งที่สภาพยังดี อยู่ จึงต้องหักค่าเสื่ อมราคา ได้แก่ อาคาร เครื่ องจักร เครื่ องมืออุปกรณ์ต่างๆ ทั้งในโรงงานและสานักงาน เครื่ องตกแต่ง ยานพาหนะ เป็ นต้น 1.3 ทรัพยากรธรรมชาติ จะเป็ นสิ นทรัพย์ที่ใช้แล้วจะต้องหมดเปลืองไปตามสภาพที่ได้มีการ ใช้ทรัพยากรนั้นๆ 2. สิ นทรัพย์ไม่มีตวตน จะหมายถึง สิ นทรัพย์ที่ไม่มีรูปร่ างไม่สามารถจับต้องได้ โดยกิ จการ ั ถื อไว้เพื่อใช้ใ นการผลิ ต หรื อจาหน่ ายสิ นค้าหรื อให้บ ริ ก าร ซึ่ ง จะก่ อให้เกิ ดประโยชน์ต่อกิ จการใน อนาคตเกินกว่าหนึ่ งรอบระยะเวลาบัญชี (กชกร โมรากุล , วชิระ บุญยาเนตร, และปริ ญญา มณี โรจน์, 2543, หน้า 90) สามารถแบ่งออกเป็ น 2 ประเภท
  • 3. 129 2.1 สิ น ทรั พ ย์ไ ม่ มี ต ัว ตนที่ มี อ ายุ ไ ม่ จ ากัด จะเป็ นสิ น ทรั พ ย์ที่ ไ ม่ จ าหน่ า ยออกจากบัญ ชี เนื่องจากสามารถใช้ประโยชน์ได้ต่อไปเรื่ อย ๆ ได้แก่ ค่าความนิยม เครื่ องหมายการค้า เป็ นต้น 2.2 สิ นทรัพย์ไม่มีตวตนที่มีอายุจากัด จะเป็ นสิ นทรัพย์ที่กิจการจะตัดจาหน่ายออกจากบัญชี ั เป็ นค่ า ใช้จ่า ยตามระยะเวลาที่ ไ ด้รับ ประโยชน์ จ ากสิ นทรั พ ย์ ได้แก่ สิ ท ธิ บ ตร ลิ ข สิ ท ธิ์ สั ม ปทาน ั เป็ นต้น ราคาทุนของทีดิน อาคารและอุปกรณ์ ่ การปฏิบติทางบัญชีเกี่ยวกับราคาทุนของสิ นทรัพย์ในหมวดที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ จะปฏิบติ ั ั ตามมาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 ที่ให้กิจการบันทึกสิ นทรัพย์ที่มีอยูโดยใช้ราคาทุน ่ ราคาทุนของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ประกอบด้วย ราคาซื้ อหลังจากหักส่ วนลดต่างๆ และค่า ภาษีที่จะรวมภาษีนาเข้า ภาษีซ้ื อที่เรี ยนคืนไม่ได้ และต้นทุนทางตรงอื่นๆ ที่เกี่ยวกับการจัดหาสิ นทรัพย์ ่ เพื่อให้สินทรัพย์อยูในสภาพพร้อมที่จะใช้ได้ตามวัตถุประสงค์ รายการที่เป็ นต้นทุนทางตรง เช่น ต้นทุน การเตรี ยมสถานที่ ต้นทุ นการขนส่ งเริ่ มแรกและการเก็บรักษาต้นทุนการติดตั้ง ค่าธรรมเนี ยมวิชาชี พ ประมาณการรายจ่ า ยในการรื้ อหรื อขนไปทิ้ ง และการบู รณะสถานที่ ภายหลังการเลิ ก ใช้สิ นทรั พ ย์ นอกจากนี้ อาจจะมี ต้น ทุ น ในการจัด หาเงิ น เช่ น ดอกเบี้ ย จ่ า ย เฉพาะส่ ว นที่ เ กิ ด ขึ้ น จากการจัด หา สิ นทรัพย์จนกระทังสิ นทรัพย์น้ นอยู่ในสภาพพร้ อมใช้งานได้ก็ให้รวมเป็ นราคาทุนของสิ นทรัพย์ดวย ่ ั ้ ส่ วนค่าใช้จ่ายในการบริ หารและค่าใช้จ่ายทัวไปอื่นๆ เช่นค่าใช้จ่ายในการเริ่ มเดินเครื่ องหรื อค่าใช้จ่ายใน ่ การเตรี ยมการผลิตตามปกติ จะไม่ถือเป็ นราคาทุนของสิ นทรัพย์ ตัวอย่างที่ 1 บริ ษท ฟ้ ารุ่ ง จากัด ซื้ อเครื่ องจักรราคา 2,000,000 บาท ส่ วนลดการค้า 5% เงื่อนไข ั การชาระเงิน 2/10 , n/30 บริ ษทขอกูเ้ งินจากธนาคาร 1,000,000 บาท อัตราดอกเบี้ย 10% ต่อปี เพื่อชาระ ั ค่าเครื่ องจักร ระยะเวลาตั้งแต่ซ้ื อจนเครื่ องจักรเริ่ มใช้งานได้ 3 เดือน บริ ษทเสี ยค่าใช้จ่าย ดังนี้ ั - ค่าเตรี ยมสถานที่ 20,000 บาท - ค่าขนส่ ง 30,000 บาท - ค่าจ้างวิศวกรติดตั้งเครื่ อง 15,000 บาท - ค่าใช้จ่ายในการเริ่ มเดินเครื่ องและเตรี ยมการผลิต 10,000 บาท
  • 4. 130 การคานวณราคาทุนของเครื่ องจักร : ราคาซื้ อ 2,000,000 บาท หัก ส่ วนลดการค้า 5% 2,000,000 100,000 บาท 1,900,000 บาท หัก ส่ วนลดเงินสด 2% 1,900,000 38,000 บาท ราคาซื้ อเงินสด 1,862,000 บาท บวก ค่าเตรี ยมสถานที่ 20,000 บาท ค่าขนส่ ง 30,000 บาท ค่าจ้างวิศวกรติดตั้งเครื่ อง 15,000 บาท ดอกเบี้ยเงินกู้ (1,000,000 x 10% x 3 ) 25,000 บาท 12 รวมราคาทุนของเครื่ องจักร 1,952,000 บาท การบันทึกบัญชี เมื่อรับทีดิน อาคารและอุปกรณ์ ่ กิจการจะบันทึกบัญชี ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ ที่ได้รับมาในราคาทุน ซึ่ งจะมีวธีการได้มา ดังนี้ ิ 1. สิ นทรัพย์ที่ได้มาโดยการซื้ อ กิจการที่ได้รับสิ นทรัพย์มาโดยวิธีการซื้ อ ให้บนทึกราคาทุนของสิ นทรัพย์ ในราคาซื้ อสุ ทธิ ั ด้วยเงิ นสด คือ ราคาซื้ อ หัก ส่ วนลดต่างๆ เช่ น ส่ วนลดการค้า ส่ วนลดเงิ นสด และบวกด้วยค่าใช้จ่าย ต่างๆ ที่ตองจ่ายทั้งสิ้ นจนกระทังสิ นทรัพย์น้ นอยูในสภาพพร้อมจะใช้งานได้ สาหรับในกรณี กิจการจ่าย ้ ่ ั ่ ชาระหนี้ ไม่ทนกาหนด ส่ วนลดที่ไม่ได้รับนี้ ให้ถือเป็ นดอกเบี้ยจ่าย หรื อกรณี ซ้ื อสิ นทรัพย์โดยวิธีผ่อน ั ชาระผลต่างระหว่างราคาเงินสด กับราคาเงินผ่อนให้ถือเป็ นดอกเบี้ยจ่าย ตัวอย่ างที่ 2 เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2547 บริ ษท ฟ้ าใส จากัด ซื้ อเครื่ องจักรราคา 3,000,000 บาท ส่ วนลด ั การค้า 5% เงื่ อนไขการชาระเงิ น 2/10 , n/30 จ่า ยค่าขนส่ ง 15,000 บาท ค่า จ้างวิศวกรติ ดตั้งเครื่ อง 30,000 บาท
  • 5. 131 การคานวณราคาทุนของเครื่ องจักร : ราคาซื้ อ 3,000,000 บาท หัก ส่ วนลดการค้า 5% 3,000,000 150,000 บาท 2,850,000 บาท หัก ส่ วนลดเงินสด 2% 850,000 57,000 บาท 2,793,000 บาท บวก ค่าขนส่ ง 15,000 บาท ค่าจ้างวิศวกรติดตั้งเครื่ อง 30,000 บาท รวมราคาทุนเครื่ องจักร 2,838,000 บาท การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป เมื่อซื้ อดังนี้ ่ 2547 มี.ค. 1 เครื่ องจักร 2,838,000 - เจ้าหนี้-ค่าเครื่ องจักร 2,793,000 - เงินสด 45,000 - ซื้ อ เครื่ องจัก ร 3,000,000 บาท ส่ ว นลด 5% เงื่ อ นไข 2/10 , n/30 เสี ย ค่ า ขนส่ ง และค่ า จ้า ง วิศวกรติดตั้งเครื่ อง 45,000 บาท การบันทึกรายการในสมุดรายวันทัวไป ในกรณี จ่ายชาระหนี้ทนกาหนด ดังนี้ ่ ั 2547 มี.ค. 31 เจ้าหนี้-ค่าเครื่ องจักร 2,793,000 - เงินสด 2,793,000 - จ่ายชาระหนี้ค่าเครื่ องจักรทันภายในกาหนด
  • 6. 132 2547 มี.ค. 31 เจ้าหนี้-ค่าเครื่ องจักร 2,793,000 - ดอกเบี้ยจ่าย 57,000 - เงินสด 2,850,000 - จ่ายชาระหนี้ ค่าเครื่ องจักรไม่ทนภายในกาหนด ั ไม่ได้ส่วนลด 2. สิ นทรัพย์ที่ได้มาโดยการสร้างขึ้นเอง กิจการที่สร้างสิ นทรัพย์ข้ ึนมาเพื่อใช้เอง ให้บนทึกราคาทุน เท่ากับ ราคาทุนของสิ นค้าที่ผลิต ั เพื่อขาย ซึ่ งประกอบด้วยค่าวัตถุดิบ ค่าแรงงาน และค่าใช้จ่ายในการผลิต ในส่ วนที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับ ้ื ั ่ การสร้างสิ นทรัพย์น้ น รวมทั้งดอกเบี้ยเงินกูยมตั้งแต่วนเริ่ มสร้างจนถึงวันที่สินทรัพย์น้ นอยูในสภาพที่ ั ั จะใช้งานได้ ตัวอย่ างที่ 3 เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2547 บริ ษท ฟ้ าใส จากัด เริ่ มสร้างอาคารโรงงาน กาหนดแล้วเสร็ จ ั และพร้ อมใช้งานได้ภายใน 6 เดื อน โดยบริ ษทได้กูเ้ งิ นจากธนาคาร จานวน 7,000,000 บาท อัตรา ั ดอกเบี้ย 10% ต่อปี เพื่อเป็ นค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง โดยมีค่าใช้จ่าย ดังนี้ ค่าวัตถุดิบ 4,000,000 บาท ค่าแรงงาน 1,000,000 บาท ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง 1,200,000 บาท ค่าจ้างวิศวกรออกแบบและควบคุม งาน 300,000 บาท การคานวณราคาทุนของอาคารโรงงาน มีดงนี้ ั ค่าวัตถุดิบ 4,000,000 บาท ค่าแรงงาน 1,000,000 บาท ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้าง 1,200,000 บาท ค่าจ้างวิศวกรออกแบบและควบคุมงาน 300,000 บาท ้ื ดอกเบี้ยเงินกูยม (7,000,000 x 10% x 6) 350,000 บาท 12 รวมราคาทุนอาคารโรงงาน 6,850,000 บาท
  • 7. 133 3. สิ นทรัพย์ที่ได้มาโดยการแลกเปลี่ยน กิ จ การได้สิ น ทรั พ ย์ม าโดยการแลกเปลี่ ย นกับ สิ น ทรั พ ย์อื่ น แบ่ ง เป็ น 2 กรณี คื อ การ แลกเปลี่ยนกับสิ นทรัพย์อื่นที่ไม่คล้ายคลึงกัน และการแลกเปลี่ยนกับสิ นทรัพย์ที่คล้ายคลึงกัน 3.1 การแลกเปลี่ยนกับสิ นทรัพย์อื่นที่ไม่คล้ายคลึงกัน กิจการต้องบันทึกราคาทุนของรายการ ดังกล่าวด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ที่ได้มา ซึ่ งมีมูลค่าเทียบเท่ากับมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ที่ นาไปแลกปรับปรุ งด้วยจานวนเงินสด หรื อรายการเทียบเท่าเงินสดที่กิจการต้องโอน หรื อรับโอนในการ แลกเปลี่ยน มูลค่ายุติธรรม หมายถึง จานวนเงินที่ผซ้ื อและผูขายตกลงแลกเปลี่ยนสิ นทรัพย์กน ในขณะที่ ู้ ้ ั ทั้งสองฝ่ ายมีความรอบรู ้และเต็มใจในการแลกเปลี่ยน และสามารถต่อรองราคากันได้อย่างเป็ นอิสระใน ลักษณะของผูที่ไม่มีความเกี่ยวข้องกัน ้ ตัวอย่างที่ 4 เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2547 บริ ษท ฟ้ าใส จากัด นารถยนต์ซ่ ึ งมีราคาทุน 3,000,000 บาท ค่า ั เสื่ อมราคาสะสม 1,000,000 บาท ไปแลกกับที่ดิน โดยมูลค่ายุติธรรมของที่ดินและรถยนต์เท่ากัน ซึ่ ง แยกเป็ น 4 กรณี ดังนี้ กรณี ที่ 1 มูลค่ายุติธรรม เป็ นเงิน 2,000,000 บาท กรณี ที่ 2 มูลค่ายุติธรรม เป็ นเงิน 1,700,000 บาท กรณี ที่ 3 มูลค่ายุติธรรมของที่ดินเป็ นเงิน 2,100,000 บาท มูลค่ายุติธรรมของรถยนต์เป็ นเงิน 1,800,000 บาท บริ ษทจ่ายเงินสดอีก จานวน 300,000 บาท ั กรณี ที่ 4 มูลค่ายุติธรรมของที่ดินเป็ นเงิน 2,200,000 บาท มูลค่ายุติธรรมของรถยนต์เป็ นเงิน 2,400,000 บาท บริ ษทได้รับเงินเพิ่ม จานวน 200,000 บาท ั การบันทึกรายการในสมุดรายวันทัวไป กรณี ที่ 1 มูลค่ายุติธรรมที่ดินและรถยนต์เท่ากัน เป็ น ่ เงิน 2,000,000 บาท 2547 เม.ย. 1 ที่ดิน 2,000,000 - ค่าเสื่ อมราคาสะสม – รถยนต์ 1,000,000 - รถยนต์ 3,000,000 - บันทึกการนารถยนต์ไปแลกกับที่ดิน
  • 8. 134 การบันทึกรายการในสมุดรายวันทัวไป กรณี ที่ 2 มูลค่ายุติธรรมที่ดินและรถยนต์เท่ากัน เป็ น ่ เงิน 1,700,000 บาท 2547 เม.ย. 1 ที่ดิน 1,700,000 - ค่าเสื่ อมราคาสะสม-รถยนต์ 1,000,000 - ขาดทุนจากการแลกเปลี่ยนสิ นทรัพย์ 300,000 - รถยนต์ 3,000,000 - บันทึกการนารถยนต์ไปแลกกับที่ดิน การคานวณกาไรขาดทุนจากการแลกเปลี่ยน : การคานวณเงินสด : รถยนต์ราคาทุน 3,000,000 บาท มูลค่ายุติธรรมของรถยนต์ 1,700,000 บาท ค่าเสื่ อมราคาสะสม 1,000,000 บาท มูลค่ายุติธรรมของที่ดิน 1,700,000 บาท ราคาตามบัญชี 2,000,000 บาท ไม่มีการรับ – จ่ายเงินสด - มูลค่ายุติธรรมของรถยนต์ 1,700,000 บาท ขาดทุนจากการแลกเปลี่ยน 300,000 บาท การบันทึกรายการในสมุดรายวันทัวไปกรณี ที่ 3 มูลค่ายุติธรรมของที่ดิน เป็ นเงิน 2,100,000 ่ บาท มูลค่ายุติธรรมของรถยนต์เป็ นเงิน1,800,000 บาท บริ ษท จ่ายเงินสดอีก จานวน 300,000 บาท ั 2547 เม.ย. 1 ที่ดิน 2,100,000 - ค่าเสื่ อมราคาสะสม-รถยนต์ 1,000,000 - ขาดทุนจากการแลกเปลี่ยนสิ นทรัพย์ 200,000 - รถยนต์ 3,000,000 - เงินสด 300,000 - บันทึกการนารถยนต์ไปแลกเปลี่ยนกับที่ดิน
  • 9. 135 การคานวณกาไรขาดทุนจากการแลกเปลี่ยน : การคานวณเงินสด : รถยนต์ราคาทุน 3,000,000 บาท มูลค่ายุติธรรมของรถยนต์ 2,100,000 บาท ค่าเสื่ อมราคาสะสม 1,000,000 บาท มูลค่ายุติธรรมของที่ดิน 1,800,000 บาท ราคาตามบัญชี 2,000,000 บาท เงินสดจ่าย 300,000 บาท มูลค่ายุติธรรมของรถยนต์ 1,800,000 บาท ขาดทุนจากการแลกเปลี่ยน 200,000 บาท การบันทึกรายการในสมุดรายวันทัวไปกรณี ที่4 มูลค่ายุติธรรมของที่ดิน เป็ นเงิ น 2,200,000 ่ บาท มูลค่ายุติธรรมของรถยนต์เป็ นเงิน2,400,000 บาท บริ ษทได้รับเงินสดเพิม จานวน 200,000 บาท ั ่ 2547 เม.ย. 1 ที่ดิน 2,200,000 - ค่าเสื่ อมราคาสะสม-รถยนต์ 1,000,000 - เงินสด 200,000 - รถยนต์ 3,000,000 - กาไรจากการแลกเปลี่ยนสิ นทรัพย์ 400,000 - บันทึกการนารถยนต์ไปแลกเปลี่ยนกับที่ดิน การคานวณกาไรขาดทุนจากการแลกเปลี่ยน : การคานวณเงินสด : รถยนต์ราคาทุน 3,000,000 บาท มูลค่ายุติธรรมของรถยนต์ 2,400,000 บาท ค่าเสื่ อมราคาสะสม 1,000,000 บาท มูลค่ายุติธรรมของที่ดิน 2,200,000 บาท ราคาตามบัญชี 2,000,000 บาท เงินสดรับ 200,000 บาท มูลค่ายุติธรรมของรถยนต์ 2,400,000 บาท กาไรจากการแลกเปลี่ยน 400,000 บาท 3.2 การแลกเปลี่ยนสิ นทรัพย์ที่คล้ายคลึงกัน กิจการต้องบันทึกราคาทุนของสิ นทรัพย์ท่ีได้รับ มาด้วยราคาตามบัญชี ของสิ นทรัพย์ที่โอนไป โดยไม่รับรู ้รายการกาไรหรื อขาดทุนจากการแลกเปลี่ยน ในกรณี ที่มูลค่ายุติธรรมของสิ นทรั พย์ที่ได้รับมาต่ ากว่าราคาตามบัญชี ของสิ นทรัพย์ที่โอนไป กิ จการ ต้องบันทึกลดราคาตามบัญชี ของสิ นทรัพย์ที่โอนไป เป็ นรายการขาดทุนจากการด้อยค่า และใช้ราคา
  • 10. 136 ตามบัญชี ที่ปรับลดแล้วเป็ นราคาทุนของสิ นทรัพย์ใหม่ และถ้าการแลกเปลี่ ยนมีรายการเงิ นสดเข้ามา เกี่ยวข้อง ให้ถือเป็ นการแลกเปลี่ยนสิ นทรัพย์ไม่คล้ายคลึงกัน เนื่องจากมีมูลค่ายุติธรรมไม่ใกล้เคียงกัน ตัวอย่างที่ 5 เมื่ อ วัน ที่ 1 มิ ถุ น ายน 2547 บริ ษ ัท ฟ้ าใส จ ากัด น ารถยนต์ค ัน เก่ า ซึ่ งมี ร าคาทุ น 850,000 บาท ค่าเสื่ อมราคาสะสม 350,000 บาท ไปแลกรถยนต์คนใหม่ โดยมูลค่ายุติธรรมของรถยนต์ ั คันใหม่ และคันเก่า มีราคา 460,000 บาท เท่ากัน การคานวณ ราคาทุนรถยนต์คนเก่า ั 850,000 บาท ค่าเสื่ อมราคาสะสม 350,000 บาท ราคาตามบัญชี 500,000 บาท มูลค่ายุติธรรมของรถยนต์คนใหม่ ั 460,000 บาท ขาดทุนจากการด้อยค่าของรถยนต์ 40,000 บาท การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้ ่ 2547 มิ.ย. 1 ขาดทุนจากการด้อยค่าของรถยนต์ 40,000 - รถยนต์ (คันเก่า) 40,000 - บันทึกลดราคาตามบัญชีของรถยนต์คนเก่า ั รถยนต์ (คันใหม่) 460,000 - ค่าเสื่ อมราคาสะสม-รถยนต์ (คันเก่า) 350,000 - รถยนต์ (คันเก่า) 810,000 - บันทึกการแลกเปลี่ยนรถยนต์ ค่ าเสื่ อมราคา ที่ ดิ น อาคารและอุ ป กรณ์ เป็ นสิ นทรั พ ย์ส่ ว นใหญ่ ที่ กิ จ การมี อ ยู่ เพื่ อใช้ใ นการด าเนิ น งาน ตามปกติของกิ จการ โดยมีอายุการใช้งานเกิ นกว่าหนึ่ งปี หรื อ หนึ่ งรอบระยะเวลาบัญชี และเมื่อใช้ไป แล้วย่อมมีการเสื่ อมสภาพตามการใช้งาน หรื อตามระยะเวลาที่ผ่านไป หรื อเกิ ดความล้าสมัย จึงต้องมี
  • 11. 137 การปั นส่ วนต้นทุนของสิ นทรัพย์ที่มีการเสื่ อมสภาพมาเป็ นค่าใช้จ่ายตามประโยชน์ที่ได้รับในแต่ละรอบ ระยะเวลาบัญ ชี ตลอดอายุ ก ารใช้ง านของสิ น ทรั พ ย์ที่ ไ ด้มี ก ารประมาณไว้ เรี ย กว่า ค่ า เสื่ อ มราคา (depreciation) มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 32 เรื่ องที่ดินอาคารและอุปกรณ์ ของสมาคมนักบัญชีและผูสอบ ้ บัญชี รับอนุ ญาตแห่ งประเทศไทย (2542, หน้า 4) ได้กาหนดคานิ ยามศัพท์ ที่ใช้ในการคานวณค่าเสื่ อม ราคา โดยเฉพาะไว้ ดังนี้ ค่าเสื่ อมราคา หมายถึง การปั นส่ วนมูลค่าเสื่ อมสภาพของสิ นทรัพย์อย่างมีระบบตลอดอายุการ ใช้งานที่ได้ประมาณไว้ อายุการใช้งาน หมายถึง กรณี ใดกรณี หนึ่งต่อไปนี้ 1. ระยะเวลาที่กิจการคาดว่าจะใช้ประโยชน์จากสิ นทรัพย์ 2. จานวนผลผลิตหรื อจานวนหน่ วยในลักษณะอื่นที่คล้ายคลึงกัน ซึ่ งกิจการคาดว่าจะได้รับ จากการใช้สินทรัพย์ ราคาทุน หมายถึ ง จานวนเงิ นสด หรื อรายการเที ย บเท่าเงิ นสดที่ กิจการจ่า ยไป หรื อมู ลค่ า ยุติธรรมของสิ่ งอื่นที่กิจการมอบให้ เพื่อให้ได้มาซึ่ งสิ นทรัพย์ ณ เวลาที่ซ้ื อหรื อสร้างสิ นทรัพย์น้ น ั ราคาซาก หมายถึ ง จานวนเงิ นสุ ทธิ ซ่ ึ งกิ จการคาดว่าจะได้รับจากการจาหน่ ายสิ นทรัพย์ เมื่อ สิ้ นสุ ดอายุการใช้งาน หลังจากหักค่าใช้จ่ายที่คาดว่าจะเกิดจากการจาหน่ายสิ นทรัพย์น้ น ั จากความหมายข้างต้น จะเห็ นว่า ค่าเสื่ อมราคาเป็ นการปั นส่ วนต้นทุนของสิ นทรัพย์ไปเป็ น ค่าใช้จ่ายในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชี ตลอดอายุของสิ นทรัพย์น้ น ซึ่ งเป็ นไปตามข้อสมมติข้ นมูลฐาน ั ั ของการบัญชีเรื่ องการเปรี ยบเทียบรายได้กบค่าใช้จ่าย ดังนั้น การกาหนดจานวนค่าเสื่ อมราคาแต่ละปี จึง ั ต้องทาอย่างมีระบบเนื่องจากจานวนค่าเสื่ อมราคาจะมีความแตกต่างกันในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชี ซึ่ ง จะขึ้นอยู่กบ การประมาณอายุการใช้งาน การประมาณราคาซาก และการเลือกวิธีการคานวณค่าเสื่ อม ั ราคา การคานวณค่ าเสื่ อมราคา วิธีการคานวณค่าเสื่ อมราคาที่นิยมใช้ มีดงนี้ ั 1. วิธีเส้นตรง (straight- line method) 2. วิธีอตราเร่ ง (accelerated depreciation method) ซึ่ งได้แก่ ั 2.1 วิธีผลรวมจานวนปี (sum- of – the – years’-digits method)
  • 12. 138 2.2 วิธียอดลดลง (declining balance method) 2.3 วิธียอดลดลงทวีคูณ (double – declining balance method) 3. วิธีจานวนผลผลิต (units of output method) วิธีเส้ นตรง การคานวณค่าเสื่ อมราคาตามวิธีเส้นตรง จัดเป็ นวิธีที่ง่ายและนิยมใช้มากที่สุด โดยค่าเสื่ อมราคา ในแต่ละปี จะคานวณจากการนาราคาทุนของสิ นทรัพย์ หัก ด้วยราคาซาก แล้ว หาร ด้วยอายุการใช้งาน โดยประมาณของสิ นทรัพย์น้ น หรื อ อาจนาอัตราร้อยละค่าเสื่ อมราคา คูณ ด้วยราคาทุนของสิ นทรัพย์ที่ ั หัก ด้วยราคาซากแล้ว ซึ่ ง ค่ า เสื่ อมราคาวิ ธี น้ ี จะมี จานวนเท่ า กัน ทุ ก ปี จึ ง เหมาะกับ สิ นทรั พ ย์ที่ มี ก าร เสื่ อมสภาพตามระยะเวลาและมีการใช้งานสม่ าเสมอตลอดปี เช่ น อาคาร อุปกรณ์สานักงาน เครื่ อง ตกแต่งสานักงาน ตูเ้ อกสาร โต๊ะทางาน เก้าอี้ เป็ นต้น ค่าเสื่ อมราคาตามวิธีเส้นตรง สามารถแสดงสู ตรการคานวณ ได้ดงนี้ ั ค่าเสื่ อมราคาต่อปี = ราคาทุน – ราคาซาก ประมาณอายุการใช้งาน หรื อ = อัตราร้อยละค่าเสื่ อมราคา x (ราคาทุน – ราคาซาก) (โดยที่ : อัตราร้อยละค่าเสื่ อมราคา = 1 x 100%) ประมาณอายุการใช้งาน ตัวอย่างที่ 6 เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2541 บริ ษท ฟ้ าใส จากัด จ่ายเงิ นซื้ ออุปกรณ์ ราคา 400,000 บาท ั ประมาณอายุใช้งาน 5 ปี บริ ษทคาดว่าหลังจากสิ้ นปี ที่ 5 จะขายเป็ นเศษซากได้ในราคา 25,000 บาท ั บริ ษทปิ ดบัญชีทุกวันที่ 31 ธันวาคม ั การคานวณค่าเสื่ อมราคา เป็ นดังนี้ ค่าเสื่ อมราคาต่อปี = 400,000 – 25,000 = 75,000 บาท 5 หรื อ = 20% (400,000 – 25,000) = 75,000 บาท (โดยที่ : อัตราร้อยละค่าเสื่ อมราคา = 1 x 100% = 20% ) 5
  • 13. 139 การคิดค่าเสื่ อมราคาตามวิธีเส้นตรงนี้ ถ้าอายุการใช้งานของสิ นทรัพย์เต็มปี ทุกปี ค่าเสื่ อมราคา ในแต่ละปี ที่คานวณได้จะเท่ากัน สามารถสรุ ปค่าเสื่ อมราคา ค่าเสื่ อมราคาสะสม และราคาตามบัญชี ได้ ตามตาราง ดังนี้ ราคาทุน ค่าเสื่ อมราคาแต่ละปี ค่าเสื่ อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี สิ้นปี (1) (2) (3) = (3) + (2) (4) = (1) – (3) 2541 400,000 400,000 – 25,000 = 75,000 75,000 325,000 5 2542 400,000 400,000 – 25,000 = 75,000 150,000 250,000 5 2543 400,.000 400,000 – 25,000 = 75,000 225,000 175,000 5 2544 400,000 400,000 – 25,000 = 75,000 300,000 100,000 5 2545 400,000 400,000 – 25,000 = 75,000 375,000 25,000 5 จะเห็นว่า เมื่อกิจการใช้สินทรัพย์ในแต่ละปี เต็มปี ค่าเสื่ อมราคาตามวิธีเส้นตรงจะเท่ากันทุกปี คือ ปี ละ 75,000 บาท และเมื่อหมดอายุการใช้งานในวันสิ้ นปี 2545 อุปกรณ์ จะมีราคาตามบัญชี เท่ากับ ราคาซาก คือ จานวน 25,000 บาท ในกรณี ที่กิจการมีการใช้สินทรัพย์ไม่เต็มปี จะคานวณค่าเสื่ อมราคาตามสัดส่ วนของอายุการใช้ งานในปี นั้น เช่น จากตัวอย่างเดิม ถ้าอายุการใช้งานในปี แรกไม่เต็มปี สมมติให้บริ ษท ฟ้ าใส จากัด ซื้ อ ั อุปกรณ์ เมื่อวันที่ 1 เมษายน 2541 ดัง นั้น ในปี 2541 อายุก ารใช้งานของอุ ปกรณ์ จะนับตั้งแต่วนที่ 1 ั เมษายน 2541 ถึง วันที่ 31 ธันวาคม 2541 เป็ นระยะเวลา 9 เดือน จะคานวณค่าเสื่ อมราคาได้ดงนี้ ั ค่าเสื่ อมราคาปี 2541 = 75,000 x 9 = 56,250 บาท 12 ส่ วนในปี 2542 , 2543, 2544 และ 2545 บริ ษทจะคิดค่าเสื่ อมราคาเต็มปี คือปี ละ 75,000 บาท ั เท่าเดิม เพราะบริ ษทได้ใช้อุปกรณ์ต้ งแต่วนที่ 1 มกราคม – 31 ธันวาคม และอายุการใช้งานของอุปกรณ์ ั ั ั จะสิ้ นสุ ดวันที่ 1 เมษายน 2546 ดังนั้น ค่าเสื่ อมราคาปี 2546 จึงเท่ากับ 75,000 x 3 = 18,750 บาท 12 (นับระยะเวลา 1 มกราคม 2546 – 1 เมษายน 2546 = 3 เดือน)
  • 14. 140 วิธีอตราเร่ ง ั การคานวณค่าเสื่ อมราคาตามวิธีอตราเร่ ง จะเป็ นการคิ ดค่าเสื่ อมราคาจานวนมากในปี แรก ๆ ั และค่ อยลดน้อยลงไปตามล าดับ ในปี ต่ อไป จนหมดอายุก ารใช้ง าน จึ ง เหมาะสมกับ สิ น ทรั พ ย์ที่ มี ่ ั ประสิ ทธิ ภาพการใช้งานสู งในระยะแรก หรื อสิ นทรัพย์ที่ข้ ึนอยูกบความนิ ยม เช่น เครื่ องคอมพิวเตอร์ เครื่ องถ่ายเอกสาร ซึ่ งก่อให้เกิดรายได้สูงในปี แรก ๆ และลดต่าลงในปี หลัง ๆ ดังนั้น เพื่อให้สอดคล้อง กับข้อสมมติฐานของการบัญชีเรื่ องการเปรี ยบเทียบค่าใช้จ่ายกับรายได้ค่าเสื่ อมราคาในปี แรก ๆ จึงควรมี จานวนมากและลดต่าลงในปี หลัง ๆ เช่นกัน วิธีคานวณค่าเสื่ อมราคาอัตราเร่ ง ที่นิยมใช้ มี 3 วิธีได้แก่ 1. วิธีผลรวมจานวนปี ตามวิธีน้ ีค่าเสื่ อมราคาต่อปี จะคานวณจาก เศษส่ วนของผลประโยชน์ ที่จะได้รับจากการใช้สินทรัพย์คงเหลือ คูณด้วยราคาทุนที่หกราคาซากแล้ว โดยตัวเศษ คือ ผลประโยชน์ ั ที่จะได้รับจากการใช้สินทรัพย์คงเหลือ ณ วันต้นงวดของแต่ละงวด ตัวส่ วนคือ ผลรวมของอายุการใช้ งานคงเหลือทุกงวด เช่น อายุการใช้งานของสิ นทรัพย์ 5 ปี ดังนั้นปี แรกเริ่ มใช้สินทรัพย์ผลประโยชน์ที่ จะได้รับจากการใช้สินทรัพย์คงเหลือ ณ วันต้นงวดจะเป็ น 5 ปี และผลรวมของอายุการใช้งานคงเหลือ ทุกงวด คือ 5 + 4 + 3 + 2 + 1 เท่ากับ 15 ดังนั้น ในปี แรก เศษส่ วนที่จะใช้ในการคานวณค่าเสื่ อมราคา คือ 5 ในปี ที่สอง เนื่ องจากใช้ประโยชน์ไ ปแล้วหนึ่ งปี ผลประโยชน์ที่จะได้รับจากการใช้สินทรัพ ย์ 15 คงเหลือ ณ วันต้นงวด จะเหลือ 4 ปี เศษส่ วนคือ 4 เป็ นต้น 15 ค่าเสื่ อมราคาวิธีผลรวมจานวนปี สามารถแสดงสู ตรการคานวณ ได้ดงนี้ ั ค่าเสื่ อมราคาต่อปี = ผลประโยชน์ที่จะได้รับจากการใช้สินทรัพย์ ณ วันต้นงวดของแต่ละงวด x (ราคาทุน – ราคาซาก) ผลรวมของอายุการใช้งานคงเหลือทุกงวด ตัวเลขที่เป็ นส่ วน อาจใช้สูตรคานวณได้ดงนี้ คือ N (N + 1) ั 2 N = อายุการใช้งานโดยประมาณของสิ นทรัพย์ ตัวอย่างที่ 7 จากข้อมูล ตัวอย่า งที่ 6 สมมติ บริ ษท คิ ดค่าเสื่ อมราคาตามวิธีผลรวมจานวนปี การ ั คานวณค่าเสื่ อมราคา เป็ นดังนี้ ค่าเสื่ อมราคาปี ที่ 1 = 5 x (400,000 – 25,000) 15 = 125,000 บาท
  • 15. 141 การคิ ดค่าเสื่ อมราคาตามวิธีผลรวมจานวนปี สามารถสรุ ปค่าเสื่ อมราคา ค่าเสื่ อมราคาสะสม และราคาตามบัญชี ได้ตามตารางดังนี้ ราคาทุน ค่าเสื่ อมราคาแต่ละปี ค่าเสื่ อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี สิ้นปี (1) (2) (3) = (3) + (2) (4) = (1) – (3) 2541 400,000 5 (400,000 – 25,000) = 125,000 125,000 275,000 15 2542 400,000 4 (400,000 – 25,000) = 100,000 225,000 175,000 15 2543 400,.000 3 (400,000 – 25,000) = 75,000 300,000 100,000 15 2544 400,000 2 (400,000 – 25,000) = 50,000 350,000 50,000 15 2545 400,000 1 (400,000 – 25,000) = 25,000 375,000 25,000 15 ค่าเสื่ อมราคาในปี แรกจะสู งและค่อยลดน้อยลงตามลาดับ และเมื่อหมดอายุการใช้งาน ในวัน สิ้ นปี 2545 ราคาตามบัญชีจะเท่ากับราคาซาก คือ จานวน 25,000 บาท ่ 2. วิธียอดลดลง ตามวิธีน้ ีคาเสื่ อมราคาต่อปี จะคานวณจากอัตราร้อยละค่าเสื่ อมราคาคูณด้วย ราคาตามบัญชีของสิ นทรัพย์ตนงวด อัตราร้อยละค่าเสื่ อมราคาจะคานวณจากสู ตร ้ r = 100 (1- n √s : c) โดยที่ r = อัตราร้อยละค่าเสื่ อมราคา s = ราคาซาก c = ราคาทุน n = อายุการใช้งานของสิ นทรัพย์ ค่าเสื่ อมราคาวิธียอดลดลง สามารถแสดงสู ตรการคานวณ ดังนี้ ค่าเสื่ อมราคาต่อปี = อัตราร้อยละค่าเสื่ อมราคา x ราคาตามบัญชีของสิ นทรัพย์ตนงวด ้
  • 16. 142 ตัวอย่างที่ 8 จากข้อมูลตัวอย่างที่ 6 สมมติบริ ษทคิดค่าเสื่ อมราคาตามวิธียอดลดลงการคานวณค่าเสื่ อม ั ราคา เป็ นดังนี้ จากสู ตร r = 100 (1- n √s : c) = 100 (1- 5 √25,000 :400,000) = 100 (1 – 0.5744) = 100 x 0.4256 = 42.56 % ค่าเสื่ อมราคาปี ที่ 1 = อัตราร้อยละค่าเสื่ อมราคา x ราคาตามบัญชี = 42.56 % x 400,000 = 170,240 บาท การคิดค่าเสื่ อมราคาตามวิธียอดลดลง สามารถสรุ ปค่าเสื่ อมราคา ค่าเสื่ อมราคาสะสม และราคา ตามบัญชีได้ตามตาราง ดังนี้ ราคาทุน ค่าเสื่ อมราคาแต่ละปี ค่าเสื่ อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี สิ้นปี (1) (2) (3) = (3) + (2) (4) = (1) – (3) 400,000 400,000 2541 400,000 42.56 % x 400,000 = 170,240 170,240 229,760 2542 400,000 42.56 % x 229,760 = 97,786 268,026 131,974 2543 400,.000 42.56 % x 131,974 = 56,168 324,194 75,806 2544 400,000 42.56 % x 75,806 = 32,263 356,457 43,543 2545 400,000 *43,543 – 25,000 = 18,543 375,000 25,000 * เนื่องจาก เมื่อหมดอายุการใช้งาน ในวันสิ้ นปี 2545 ราคาตามบัญชีจะต้องเท่ากับราคาซาก คือ จานวน 250,000 บาท ดังนั้น ค่าเสื่ อมราคาในปี สุ ดท้าย 2545 จึงเท่ากับ 18,543 บาท (43,543 – 25,000) ไม่ใช่เท่ากับ 18,532 บาท (42.56% x 43,543) 3. วิธียอดลดลงทวีคูณ ตามวิธีน้ ี ค่าเสื่ อมราคาต่อปี จะคานวณโดยใช้ สองเท่าของอัตราร้อย ละค่าเสื่ อมราคาตามวิธีเส้นตรง คูณด้วยราคาตามบัญชี ของสิ นทรัพย์ตนงวด สามารถแสดงสู ตรการ ้ คานวณได้ดงนี้ั
  • 17. 143 ค่าเสื่ อมราคาต่อปี = สองเท่าของอัตราร้อยละค่าเสื่ อมราคาตามวิธีเส้นตรง x ราคาตามบัญชีของสิ นทรัพย์ตนงวด ้ อัตราร้อยละค่าเสื่ อมราคาตามวิธีเส้นตรง = 1 x 100% อายุการใช้งาน ตัวอย่างที่ 9 จากข้อมูลตัวอย่างที่ 6 สมมติบริ ษทคิดค่าเสื่ อมราคาตามวิธียอดลดลงทวีคูณ การคานวณ ั ค่าเสื่ อมราคา เป็ นดังนี้ อัตราร้อยละค่าเสื่ อมราคาตามวิธีเส้นตรง = 1 x 100% อายุการใช้งาน = 1 x 100 % = 20% 5  สองเท่าของอัตราร้อยละวิธีเส้นตรง = 2 x 20 % = 40 % ค่าเสื่ อมราคา ปี ที่ 1 = 40% x 400,000 = 160,000 บาท การคิ ดค่าเสื่ อมราคาตามวิธียอดลดลงทวีคูณ สามารถสรุ ปค่าเสื่ อมราคา ค่าเสื่ อมราคาสะสม และ ราคาตามบัญชี ได้ตามตารางดังนี้ ราคาทุน ค่าเสื่ อมราคาแต่ละปี ค่าเสื่ อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี สิ้นปี (1) (2) (3) = (3) + (2) (4) = (1) – (3) 400,000 400,000 2541 400,000 40 % x 400,000 = 160,000 160,000 240,000 2542 400,000 40 % x 240,000 = 96,000 256,000 144,000 2543 400,.000 40 % x 144,000 = 57,600 313,600 86,400 2544 400,000 40 % x 86,400 = 34,560 348,160 51,840 2545 400,000 * 51,840 – 25,000 = 26,840 375,000 25,000 * เนื่ องจาก เมื่อหมดอายุการใช้งาน ในวันสิ้ นปี 2545 ราคาตามบัญชี จะต้องเท่ากับราคาซาก คือ จานวน 25,000 บาท ดังนั้น ค่า เสื่ อมราคาในปี สุ ดท้า ย 2545 จึ งเท่า กับ 26,840 บาท (51,840 – 25,000) ไม่ใช่เท่ากับ 20,736 บาท (40% x 51,840) วิธีจานวนผลผลิต การคานวณค่าเสื่ อมราคาตามวิธีจานวนผลผลิ ต จะเป็ นการคิ ดค่าเสื่ อมราคาผันแปรไปตาม จานวนผลผลิต คือ ยิงใช้สินทรัพย์ในการผลิตมากเท่าใดสิ นทรัพย์ก็ยิ่งต้องเสื่ อมสภาพลงมากเท่านั้น ซึ่ ง ่ จะสอดคล้องกับข้อสมมติฐานของการบัญชีเรื่ องการเปรี ยบเทียบรายได้กบค่าใช้จ่ายมากที่สุด เพราะเมื่อ ั
  • 18. 144 สิ นทรัพย์ให้ผลประโยชน์มากก็ควรแบ่งต้นทุนสิ นทรัพย์เป็ นค่าใช้จ่ายมากตามไปด้วย วิธีน้ ี เหมาะจะ ั นามาใช้กบสิ นทรัพย์ที่มีการเสื่ อมสภาพตามการใช้งาน หรื อ สิ นทรัพย์ที่ใช้งานไม่สม่ าเสมอเป็ นบาง ช่ วงเวลา เช่ น เครื่ องจักร รถยนต์ ซึ่ งจะคานวณค่ าเสื่ อมราคา โดยการนาค่า เสื่ อมราคาต่ อหน่ วย ผลผลิต คูณด้วยจานวนผลผลิตที่ได้ในแต่ละงวดบัญชี ค่าเสื่ อมราคาตามวิธีจานวนผลผลิต สามารถแสดงสู ตรการคานวณได้ดงนี้ ั ค่าเสื่ อมราคาต่อหน่วยผลผลิต = ราคาทุน – ราคาซาก จานวนผลผลิตที่คาดว่าจะผลิตได้ท้ งหมด ั ค่าเสื่ อมราคาต่อปี = ค่าเสื่ อมราคาต่อหน่วยผลผลิต x จานวยผลผลิตที่ได้ในแต่ละงวดบัญชี ตัวอย่างที่ 10 เมื่ อวันที่ 1 มี นาคม 2541 บริ ษ ท ฟ้ าใส จากัด ซื้ อเครื่ องจักร ราคา 850,000 บาท ั ประมาณว่าจะสามารถผลิ ตสิ นค้าได้จานวนทั้ง สิ้ น 200,000 ชิ้ น และมี ราคาซาก 50,000 บาท ใน ระยะเวลา 5 ปี เครื่ องจักรสามารถผลิตสิ นค้า ได้ดงนี้ ั ปี ที่ 2541 เครื่ องจักรผลิตสิ นค้า 30,000 ชิ้น ปี ที่ 2542 เครื่ องจักรผลิตสิ นค้า 40,000 ชิ้น ปี ที่ 2543 เครื่ องจักรผลิตสิ นค้า 50,000 ชิ้น ปี ที่ 2544 เครื่ องจักรผลิตสิ นค้า 60,000 ชิ้น ปี ที่ 2545 เครื่ องจักรผลิตสิ นค้า 20,000 ชิ้น รวม 200,000 ชิ้น การคานวณค่าเสื่ อมราคา เป็ นดังนี้ ค่าเสื่ อมราคาต่อหน่วยผลผลิต = ราคาทุน – ราคาซาก จานวนผลผลิตที่คาดว่าจะผลิตได้ท้ งหมด ั = 850,000 – 50,000 200,000 = 4 บาท การคิดค่าเสื่ อมราคาตามวิธีจานวนผลผลิต ถ้าจานวนผลผลิตที่ได้ในแต่ละปี เปลี่ยนไป ค่าเสื่ อม ราคาในแต่ละปี ก็เปลี่ยนไปด้วย สามารถสรุ ปค่าเสื่ อมราคา ค่าเสื่ อมราคาสะสม และราคาตามบัญชี ได้ ตามตาราง ดังนี้
  • 19. 145 ราคาทุน ค่าเสื่ อมราคาแต่ละปี ค่าเสื่ อมราคาสะสม ราคาตามบัญชี สิ้นปี (1) (2) (3) = (3) + (2) (4) = (1) – (3) 2541 850,000 4 x 30,000 = 120,000 120,000 730,000 2542 850,000 4 x 40,000 = 160,000 280,000 570,000 2543 850,.000 4 x 50,000 = 200,000 480,000 370,000 2544 850,000 4 x 60,000 = 240,000 720,000 130,000 2545 850,000 4 x 20,000 = 80,000 800,000 50,000 ค่าเสื่ อมราคาจะเปลี่ยนไปตามจานวนผลผลิตในแต่ละปี และเมื่อหมดอายุการใช้งานในวันสิ้ น ปี 2545 ราคาตามบัญชีจะเท่ากับราคาซาก คือ จานวน 50,000 บาท การบันทึกบัญชีค่าเสื่ อมราคา กิจการจะคานวณค่าเสื่ อมราคาของสิ นทรัพย์แต่ละประเภทที่จะบันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายตามวิธีใด วิธีหนึ่ งที่ กล่ าวมาข้างต้น ณ วันสิ้ นงวดบัญชี พร้ อมรายการปรับปรุ งต่างๆ ในสมุดรายวัน ทัวไป โดย ่ บันทึกรายการบัญชี ได้ดงนี้ ั เดบิต บัญชีค่าเสื่ อมราคา XX เครดิต บัญชีค่าเสื่ อมราคาสะสม XX บัญชี ค่าเสื่ อมราคา เป็ นบัญชี ค่าใช้จ่ายแสดงรายการในงบกาไรขาดทุน ภายใต้หวข้อค่าใช้จ่าย ั ในการบริ หารส่ วนบัญชี ค่าเสื่ อมราคาสะสม เป็ นบัญชี ปรับมูลค่าของสิ นทรัพย์โดยนาไปหักจากบัญชี สิ นทรัพย์ในหมวดที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง เพื่อสิ นทรัพย์จะได้แสดงราคาสุ ทธิ ตามบัญชี ใน งบดุล การแสดงรายการในงบการเงินจะเป็ น ดังนี้ งบกาไรขาดทุน ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร : ค่าเสื่ อมราคา XX
  • 20. 146 งบดุล ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ : สิ นทรัพย์ XX หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม (XX) XX ตัวอย่างที่ 11 จากโจทย์ในตัวอย่างที่ 6 การบันทึกการซื้ ออุปกรณ์ และค่าเสื่ อมราคาประจาปี 2541- 2545 ในสมุดรายวันทัวไป สมุดบัญชี แยกประเภท และยอดราคาสุ ทธิ ตามบัญชี ของอุปกรณ์ ในงบดุ ล ่ เป็ นดังนี้ การบันทึกรายการในสมุดรายวันทัวไป ่ 2541 ม.ค. 1 อุปกรณ์ 400,000 - เงินสด 400,000 - บันทึกการซื้ออุปกรณ์เป็ นเงินสด ธ.ค. 31 ค่าเสื่ อมราคา – อุปกรณ์ 75,000 - ค่าเสื่ อมราคาสะสม – อุปกรณ์ 75,000 - บันทึกค่าเสื่ อมราคาอุปกรณ์ 2542 ธ.ค. 31 ค่าเสื่ อมราคา – อุปกรณ์ 75,000 - ค่าเสื่ อมราคาสะสม – อุปกรณ์ 75,000 - บันทึกค่าเสื่ อมราคาอุปกรณ์ 2543 ธ.ค. 31 ค่าเสื่ อมราคา – อุปกรณ์ 75,000 - ค่าเสื่ อมราคาสะสม – อุปกรณ์ 75,000 - บันทึกค่าเสื่ อมราคาอุปกรณ์ 2544 ธ.ค. 31 ค่าเสื่ อมราคา – อุปกรณ์ 75,000 - ค่าเสื่ อมราคาสะสม – อุปกรณ์ 75,000 - บันทึกค่าเสื่ อมราคาอุปกรณ์
  • 21. 147 2545 ธ.ค. 31 ค่าเสื่ อมราคา – อุปกรณ์ 75,000 - ค่าเสื่ อมราคาสะสม – อุปกรณ์ 75,000 - บันทึกค่าเสื่ อมราคาอุปกรณ์ การบันทึกรายการในสมุดบัญชีแยกประเภท ค่าเสื่ อมราคา – อุปกรณ์ 2541 2541 ธ.ค. 31 ค่าเสื่ อมราคาสะสม-อุปกรณ์ 75,000 - ธ.ค. 31 โอนไปบัญชี กาไรขาดทุน 75,000 - 75,000 - 75,000 - 2542 2542 ธ.ค. 31 ค่าเสื่ อมราคาสะสม-อุปกรณ์ 75,000 - ธ.ค. 31 โอนไปบัญชี กาไรขาดทุน 75,000 - 75,000 - 75,000 - 2543 2543 ธ.ค. 31 ค่าเสื่ อมราคาสะสม-อุปกรณ์ 75,000 - ธ.ค. 31 โอนไปบัญชี กาไรขาดทุน 75,000 - 75,000 - 75,000 - 2544 2544 ธ.ค. 31 ค่าเสื่ อมราคาสะสม-อุปกรณ์ 75,000 - ธ.ค. 31 โอนไปบัญชี กาไรขาดทุน 75,000 - 75,000 - 75,000 - 2545 2545 ธ.ค. 31 ค่าเสื่ อมราคาสะสม-อุปกรณ์ 75,000 - ธ.ค. 31 โอนไปบัญชี กาไรขาดทุน 75,000 - 75,000 - 75,000 -
  • 22. 148 ค่าเสื่ อมราคาสะสม – อุปกรณ์ 2541 2541 ธ.ค. 31 ยอดยกไป 75,000 - ธ.ค. 31 ค่าเสื่ อมราคา – อุปกรณ์ 75,000 - 75,000 - 75,000 - 2542 2542 ม.ค. 1 ยอดยกมา 75,000 - ธ.ค. 31 ยอดยกไป 150,000 - ธ.ค. 31 ค่าเสื่ อมราคา – อุปกรณ์ 75,000 - 150,000 - 150,000 - 2543 2543 ม.ค. 1 ยอดยกมา 150,000 - ธ.ค. 31 ยอดยกไป 225,000 - ธ.ค. 31 ค่าเสื่ อมราคา – อุปกรณ์ 75,000 - 225,000 - 225,000 - 2544 2544 ม.ค. 1 ยอดยกมา 225,000 - ธ.ค. 31 ยอดยกไป 300,000 - ธ.ค. 31 ค่าเสื่ อมราคา – อุปกรณ์ 75,000 - 300,000 - 300,000 - 2545 2545 ม.ค. 1 ยอดยกมา 300,000 ธ.ค. 31 ยอดยกไป 375,000 - ธ.ค. 31 ค่าเสื่ อมราคา – อุปกรณ์ 75,000 - 375,000 - 375,000 -
  • 23. 149 การแสดงรายการในงบดุล บริษัท ฟาใส จากัด ้ งบดุล (บางส่ วน) ณ 31 ธันวาคม 2541 สิ นทรัพย์ : ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ อุปกรณ์ 400,000 หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม – อุปกรณ์ 75,000 325,000 ณ 31 ธันวาคม 2542 : ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ อุปกรณ์ 400,000 หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม – อุปกรณ์ 150,000 250,000 ณ 31 ธันวาคม 2543 : ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ อุปกรณ์ 400,000 หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม – อุปกรณ์ 225,000 175,000 ณ 31 ธันวาคม 2544 : ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ อุปกรณ์ 400,000 หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม – อุปกรณ์ 300,000 100,000
  • 24. 150 ณ 31 ธันวาคม 2545 : ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ อุปกรณ์ 400,000 หัก ค่าเสื่ อมราคาสะสม – อุปกรณ์ 375,000 25,000 ในวันสิ้ นปี 2545 เมื่อบริ ษทปั นส่ วนต้นทุ นของอุ ปกรณ์ ไปเป็ นค่าใช้จ่ายในรู ปค่าเสื่ อมราคา ั ครบตามอายุก ารใช้ง านแล้ว อุ ปกรณ์ จะแสดงมู ล ค่ า ในราคาตามบัญชี เท่ า กับ ราคาซาก คื อ จานวน 25,000 บาท และ ถ้าบริ ษทมีการนาอุปกรณ์ไปใช้ต่อหลังจากนั้น บริ ษทก็ไม่ตองบันทึกค่าเสื่ อมราคาอีก ั ั ้ การซ่ อมแซม ั เมื่อกิจการใช้งานสิ นทรัพย์ซ่ ึ งให้ผลประโยชน์กบกิจการหลายงวดบัญชี บางครั้งอาจมีรายจ่าย เกิ ดขึ้ นจากการปรับปรุ งหรื อซ่ อมแซมสิ นทรัพย์เหล่านั้น จึ งมีประเด็นที่ตองพิจารณาก่อนการบันทึ ก ้ บัญชี สาหรับรายจ่ายที่เกิดขึ้นว่า เป็ นรายจ่ายเป็ นทุน (capital expenditure) หรื อ ค่าใช้จ่ายของงวดบัญชี (revenue expenditure) รายจ่ า ยเป็ นทุ น หมายถึ ง รายจ่ า ยที่ มี มู ล ค่ า มากเป็ นสาระส าคัญ และท าให้ กิ จ การได้รั บ ผลประโยชน์จากการใช้สินทรัพย์เพิ่มขึ้นในอนาคตจากที่เคยประเมินไว้เดิม ได้แก่ 1. ทาให้สินทรัพย์มีอายุการใช้งานเพิมขึ้น ่ 2. ทาให้สินทรัพย์มีประสิ ทธิ ภาพการใช้งานเพิ่มขึ้น ่ 3. ทาให้คุณภาพของผลผลิตดีข้ ึนอย่างมาก หรื อค่าใช้จายดาเนินงานที่เคยประเมินไว้ลดลง รายจ่ายเป็ นทุ นเมื่ อเกิ ดขึ้นจะให้ผลประโยชน์ต่อกิ จการหลายงวดบัญชี จึงนาไปบันทึ กบัญชี รวมเป็ นต้นทุนของสิ นทรัพย์น้ น โดยจะ เดบิตบัญชีสินทรัพย์เพิ่มขึ้น ซึ่ งรายจ่ายที่ถือว่าเป็ นทุน มีดงนี้ ั ั 1. การเพิมเติม (addition) หมายถึง รายจ่ายที่เกิดจากการขยายหรื อต่อเติมสิ นทรัพย์ที่มีอยูเ่ ดิม ่ ออกไปให้ดีข้ ึ น เช่ น ขยายอาคารให้มีพ้ืนที่ ใช้ประโยชน์เพิ่มขึ้นโดยการต่อห้องออกไป หรื อ ต่อเติ ม อาคารจาก 2 ชั้น มาเป็ น 3 ชั้น 2. การปรับปรุ งคุณภาพให้ดีข้ ึน (improvement or betterment) เป็ นรายจ่ายที่ทาให้สินทรัพย์มี ประสิ ทธิ ภาพการใช้งานเพิ่มขึ้น หรื อคุณภาพของผลผลิตดีข้ ึนอย่างมาก เช่น เปลี่ยนหลังคาโรงงานจาก