SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
1
บทที 1
บทนํา
1. หลักการและเหตุผล
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวคิดทีสอดคล้องกับปรัชญาสหกรณ์ เพราะเป็นแนวคิด
ทีสอนให้คนสร้างความเข้มแข็ง โดยวิธีการพึงพาช่วยเหลือตนเอง เมือช่วยตนเองได้แล้วก็ให้
เกือกูลต่อสังคมด้วย การนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในภาคกิจโดยใช้แนวคิด 3
ห่วง คือ
1.1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ทีไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่
เบียดเบียนตนเองและผู้อืน
1.2 ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกียวกับระดับของความพอเพียงนัน จะต้อง
เป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยทีเกียวข้อง ตลอดจนคํานึงถึงผลทีคาดว่าจะเกิดขึน
จาการกระทํานันๆอย่างรอบคอบ
1.3. มีระบบภูมิคุ้มกันทีดีในตัวเอง หมายถึง มีเงินออมสามารถเป็นประกันในคราวฉุกเฉิน
มีเงินเก็บออมไว้สําหรับใช้จ่ายในอนาคตตามความมุ่งหมาย เช่น การศึกษา การลงทุนประกอบ
อาชีพ การมีบ้านทีอยู่อาศัย มีสิงอํานวยความสะดวก ยกระดับฐานะให้ดีขึน ได้ช่วยเหลือสังคม
จากปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เราจะเห็นได้ว่าเราต้องมีความรอบคอบ มีการวางแผนงานทีจะ
ทํา ต้องมีความอดทน มีความเพียร และทีสําคัญเราต้องมีความซือสัตย์กับตัวเองด้วย และก่อนทีเรา
จะทําอะไรเราต้องรู้จักพอประมาณ พอดี ไม่มากเกินและก็ไม่น้อยเกินไป ซึงเราอาจเรียกอีกทาง
หนึงว่า เดินทางสายกลาง ก็จะทําให้ชีวิตเราอยู่อย่างมีความสุข
เยาวชนส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการใช้เงินอย่างไม่เห็นคุณค่า ฟุ่มเฟือย ทังทีไม่สามารถทํางาน
เก็บเงินทีจะไปซือสิงของเหล่านันเองได้ เช่น โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ สําหรับ เยาวชนหญิงก็มี
กระแสนิยมในเรืองของการแต่งกาย ซือเสือผ้า กระเป๋ า และเครืองสําอางตามแฟชันทีมีการ
เปลียนแปลงอย่างรวดเร็วกับเทคโนโลยี ถ้าเยาวชนรู้จักการออมและให้ความสําคัญเกียวกับการออม
จะก่อให้เกิดผลประโยชน์ต่อตนเอง ซึงสามารถแบ่งเบาภาระของครอบครัวได้ จากการสัมภาษณ์
เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายพบว่าเยาวชนกลุ่มเป้ าหมายไม่ได้มีการจัดทําบัญชีรายรับ - รายจ่ายทีเกิดขึนใน
ชีวิตประจําวัน และไม่ได้มีการเก็บออมเงินอย่างต่อเนือง เพราะรูปแบบการรับเงินจากผู้ปกครองของ
เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายได้รับเงินทุกวัน จึงไม่จําเป็นต้องเก็บออมเงินไว้ใช้ในวันต่อไป และไม่ได้
บันทึกรายรับ-รายจ่ายเพราะไม่ได้มีความรู้ในด้านการทําบัญชีจึงไม่ทราบว่าจะเริมบันทึกอย่างไร
2
ทังนีเพือให้เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายรู้จักการออมและรู้จักประโยชน์ของการออม นอกจากทุกคนจะ
รู้จักการออมแล้ว ยังทําให้เรามีนิสัยในการออมมากยิงขึน เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายในอําเภอ
พรหมพิราม จึงมีความต้องการให้ข้าพเจ้าเข้าไปให้ความรู้ในด้านการออมเงิน และการทําบัญชี
รายรับ – รายจ่าย เพือทีจะได้นําไปปฏิบัติในชีวิตประจําวัน
จากหลักการและเหตุผลทีกล่าวข้างต้น กลุ่มผู้จัดทําโครงการจึงเกิดแนวคิดทีจะทําโครงการ
ปลูกฝังจิตรักการออมของเด็กบ้านพรหมพิราม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก เพือให้เยาวชน
กลุ่มเป้ าหมายได้รู้จักคุณค่าของเงินและนําเงินทีเหลือไปเก็บออมไว้โดยกลุ่มของ ผู้จัดทําโครงการ
จะสอนให้เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายเข้าใจการออมเงินและมองเห็นคุณค่าของเงินเพิมมากขึน แล้วกลุ่ม
ผู้จัดทําจึงได้สอนให้เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายฝึกบันทึกบัญชีรายรับ – รายจ่าย เพือจะได้รู้ว่าแต่ละวัน
เหลือเงินออมเท่าไร การบันทึกบัญชีจะทําให้เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายสามารถบันทึกบัญชีรายรับ –
รายจ่ายได้ด้วยตนเองผู้จัดทําโครงการจึงคิดว่าการสอนให้เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายได้รู้จักการเก็บออม
เงินซึงการเลือกเยาวชนกลุ่มเป้ าหมายทีเป็นเด็กจะสอนง่ายปลูกฝังและเรียนรู้ได้เร็ว กลุ่มเยาวชนจะ
เติบโตเป็นผู้ใหญ่ทีดีในวันข้างหน้าซึงการออมทําให้เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายมีรากฐานทีดีตังแต่เด็กทํา
ให้เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายมีเงินเก็บออมสามารถนําเงินทีเก็บออมมาใช้ในยามจําเป็นหรือฉุกเฉินได้
อย่างไม่ต้องเดือดร้อนและยังทําให้การใช้ชีวิตเป็นไปอย่างมันคง
2. วัตถุประสงค์ของโครงการ
2.1. เพือให้เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายมองเห็นคุณค่าของการออมเงิน
2.2. เพือให้เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายบันทึกบัญชีรายรับ – รายจ่ายด้วยตนเอง
2.3. เพือให้เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายนําความรู้ทีได้รับเกียวกับการออมไปใช้ในชีวิตประจําวัน
3. ขอบเขตของโครงการ
การดําเนินโครงการครังนีเป็นการให้ความรู้เรืองการออมและการทําบัญชีรายรับ-รายจ่าย
เพือให้เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายมีความรู้และสามารถบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่ายได้อย่างถูกต้องตาม
หลักการบัญชี โดยมีเยาวชนกลุ่มเป้ าหมายบ้านพรหมพิราม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก
จํานวน 10 ราย ประกอบด้วย
3.1. ด.ช.ณัฐพล อินภิรมย์
บ้านเลขที 134 หมู่ 7 ตําบลพรหมพิราม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 65150
3.2. ด.ญ.รักศิกา ศิลปะชัย
บ้านเลขที 75 หมู่ 3 ตําบลหนองแขม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 65150
3
3.3. สโรชา ช้างน้อย
บ้านเลขที 53/3 หมู่ 14 ตําบลพรหมพิราม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 65150
3.4. ญาณิศา ทองเถือน
บ้านเลขที 92/3 หมู่ 3 ตําบลมะต้อง อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 65150
3.5. กนกวรรณ บุญวิลัย
บ้านเลขที 45/1 หมู่ 8 ตําบลพรหมพิราม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 65150
3.6. อาทิตญา ปัญญาเครือ
บ้านเลขที 137/2 หมู่ 3 ตําบลพรหมพิราม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 65150
3.7. พัชราภรณ์ เงินแจ้ง
บ้านเลขที 57/42 หมู่ 7 ตําบลพรหมพิราม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 65150
3.8. ด.ญ.ชนิดาภา อุฤกธิ
บ้านเลขที 32/5 หมู่ 4 ตําบลพรหมพิราม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 65150
3.9. ด.ญ.อาพรรัตน์ คันทัพ
บ้านเลขที 75 หมู่ 3 ตําบลหนองแขม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 65150
3.10. ด.ญ.ศศิวิมล ฐิตินทรางกูร
บ้านเลขที 132 หมู่ 7 ตําบลพรหมพิราม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 65150
4. ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับจากการทําโครงการ
4.1. เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายมองเห็นคุณค่าของการออมเงิน
4.2. เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายบันทึกบัญชีรายรับ – รายจ่ายด้วยตนเอง
4.3. เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายนําความรู้ทีได้รับเกียวกับการออมไปใช้ในชีวิตประจําวัน
5. นิยามศัพท์
5.1. การออมเงิน
หมายถึง การเก็บสะสมเงินทีเหลือจากรายจ่ายในแต่ละวันของกลุ่มเป้ าหมาย
บ้านพรหมพิราม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก
5.2. บัญชีรายรับ-รายจ่าย
หมายถึง การจดบันทึกข้อมูลด้านการเงิน ทีเกียวข้องกับรายรับและรายจ่าย ทีเกิดขึนใน
ชีวิตประจําวันของกลุ่มเป้ าหมายบ้านพรหมพิราม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก
4
5.3. รายรับ
หมายถึง เงินทีได้รับจากผู้ปกครองของกลุ่มเป้ าหมายบ้านพรหมพิราม อําเภอพรหมพิราม
จังหวัดพิษณุโลก
5.4. รายจ่าย
หมายถึง เงินทีใช้จ่ายซือของตามความต้องการเช่น ค่าอาหาร ค่าขนม ค่าเครืองเขียน
ของกลุ่มเป้ าหมายบ้านพรหมพิราม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก
5.5. กลุ่มเป้ าหมาย
หมายถึง กลุ่มเยาวชนบ้านพรหมพิราม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก จํานวน10 คน
ทีผู้จัดทําโครงการได้ให้คําแนะนําเกียวกับการออมเงิน

More Related Content

Viewers also liked

Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตนCh4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
ple2516
 
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินCh5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
ple2516
 
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไปแผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
Noree Sapsopon
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
Ku'kab Ratthakiat
 
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรมCh7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
ple2516
 
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือCh3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
ple2516
 
งบการเงิน
งบการเงินงบการเงิน
งบการเงิน
siriwaan seudee
 
ความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็คความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็ค
Attaporn Ninsuwan
 
เอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชีเอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชี
Attachoke Putththai
 
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคารCh1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
ple2516
 
การบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointการบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power point
Orawonya Wbac
 

Viewers also liked (20)

Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตนCh4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
 
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินCh5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
 
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไปแผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
 
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารเรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
 
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
 
รายวิชา
รายวิชารายวิชา
รายวิชา
 
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้าแบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
แบบฝึกเสริมทักษะการบัญชีเรื่องรายการค้าและการวิเคราะห์รายการค้า
 
แบบฝึกหัดบทที่ 7
แบบฝึกหัดบทที่ 7แบบฝึกหัดบทที่ 7
แบบฝึกหัดบทที่ 7
 
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรมCh7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
 
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
 
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือCh3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
 
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
 
งบการเงิน
งบการเงินงบการเงิน
งบการเงิน
 
ความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็คความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็ค
 
เอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชีเอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชี
 
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
 
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคารCh1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
Ch1 เงินสดและเงินฝากธนาคาร
 
ระบบใบสำคัญจ่าย 2
ระบบใบสำคัญจ่าย 2ระบบใบสำคัญจ่าย 2
ระบบใบสำคัญจ่าย 2
 
บัญชีต้นทุน1
บัญชีต้นทุน1บัญชีต้นทุน1
บัญชีต้นทุน1
 
การบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointการบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power point
 

Similar to 023

เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
sudza
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
sapay
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
jo
 
หมู่บ้านพอเพียง --100 นักธุรกิจชั้นนำ
หมู่บ้านพอเพียง  --100 นักธุรกิจชั้นนำหมู่บ้านพอเพียง  --100 นักธุรกิจชั้นนำ
หมู่บ้านพอเพียง --100 นักธุรกิจชั้นนำ
freelance
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
IFon Lapthavon
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
sukhom
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
banlangkhao
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
jiko2505
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
Guntima NaLove
 

Similar to 023 (20)

1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง1942 เศรษฐกิจพอเพียง
1942 เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
001
001001
001
 
หมู่บ้านพอเพียง --100 นักธุรกิจชั้นนำ
หมู่บ้านพอเพียง  --100 นักธุรกิจชั้นนำหมู่บ้านพอเพียง  --100 นักธุรกิจชั้นนำ
หมู่บ้านพอเพียง --100 นักธุรกิจชั้นนำ
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
20 คำถามเศรษฐกิจพอเพียง
 
แผน E se(เศรษฐกิจพอเพียง)2
แผน E se(เศรษฐกิจพอเพียง)2แผน E se(เศรษฐกิจพอเพียง)2
แผน E se(เศรษฐกิจพอเพียง)2
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
เศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียงเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง
 
Microsoft word สัปดาห์ที่ 2
Microsoft word   สัปดาห์ที่ 2Microsoft word   สัปดาห์ที่ 2
Microsoft word สัปดาห์ที่ 2
 
จุ๊
จุ๊จุ๊
จุ๊
 
Crumu
CrumuCrumu
Crumu
 
9789740330592
97897403305929789740330592
9789740330592
 
ครูสังคม
ครูสังคมครูสังคม
ครูสังคม
 

More from Yeah Pitloke (20)

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาลความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับบัญชีรัฐบาล
 
การบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหารการบัญชีบริหาร
การบัญชีบริหาร
 
บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
006
006006
006
 
005
005005
005
 
004
004004
004
 
003
003003
003
 
002
002002
002
 
001
001001
001
 
032
032032
032
 
044
044044
044
 
043
043043
043
 
033
033033
033
 
041
041041
041
 
045
045045
045
 

023

  • 1. 1 บทที 1 บทนํา 1. หลักการและเหตุผล ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็นแนวคิดทีสอดคล้องกับปรัชญาสหกรณ์ เพราะเป็นแนวคิด ทีสอนให้คนสร้างความเข้มแข็ง โดยวิธีการพึงพาช่วยเหลือตนเอง เมือช่วยตนเองได้แล้วก็ให้ เกือกูลต่อสังคมด้วย การนําปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ในภาคกิจโดยใช้แนวคิด 3 ห่วง คือ 1.1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดี ทีไม่น้อยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่ เบียดเบียนตนเองและผู้อืน 1.2 ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกียวกับระดับของความพอเพียงนัน จะต้อง เป็นไปอย่างมีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปัจจัยทีเกียวข้อง ตลอดจนคํานึงถึงผลทีคาดว่าจะเกิดขึน จาการกระทํานันๆอย่างรอบคอบ 1.3. มีระบบภูมิคุ้มกันทีดีในตัวเอง หมายถึง มีเงินออมสามารถเป็นประกันในคราวฉุกเฉิน มีเงินเก็บออมไว้สําหรับใช้จ่ายในอนาคตตามความมุ่งหมาย เช่น การศึกษา การลงทุนประกอบ อาชีพ การมีบ้านทีอยู่อาศัย มีสิงอํานวยความสะดวก ยกระดับฐานะให้ดีขึน ได้ช่วยเหลือสังคม จากปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เราจะเห็นได้ว่าเราต้องมีความรอบคอบ มีการวางแผนงานทีจะ ทํา ต้องมีความอดทน มีความเพียร และทีสําคัญเราต้องมีความซือสัตย์กับตัวเองด้วย และก่อนทีเรา จะทําอะไรเราต้องรู้จักพอประมาณ พอดี ไม่มากเกินและก็ไม่น้อยเกินไป ซึงเราอาจเรียกอีกทาง หนึงว่า เดินทางสายกลาง ก็จะทําให้ชีวิตเราอยู่อย่างมีความสุข เยาวชนส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการใช้เงินอย่างไม่เห็นคุณค่า ฟุ่มเฟือย ทังทีไม่สามารถทํางาน เก็บเงินทีจะไปซือสิงของเหล่านันเองได้ เช่น โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ สําหรับ เยาวชนหญิงก็มี กระแสนิยมในเรืองของการแต่งกาย ซือเสือผ้า กระเป๋ า และเครืองสําอางตามแฟชันทีมีการ เปลียนแปลงอย่างรวดเร็วกับเทคโนโลยี ถ้าเยาวชนรู้จักการออมและให้ความสําคัญเกียวกับการออม จะก่อให้เกิดผลประโยชน์ต่อตนเอง ซึงสามารถแบ่งเบาภาระของครอบครัวได้ จากการสัมภาษณ์ เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายพบว่าเยาวชนกลุ่มเป้ าหมายไม่ได้มีการจัดทําบัญชีรายรับ - รายจ่ายทีเกิดขึนใน ชีวิตประจําวัน และไม่ได้มีการเก็บออมเงินอย่างต่อเนือง เพราะรูปแบบการรับเงินจากผู้ปกครองของ เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายได้รับเงินทุกวัน จึงไม่จําเป็นต้องเก็บออมเงินไว้ใช้ในวันต่อไป และไม่ได้ บันทึกรายรับ-รายจ่ายเพราะไม่ได้มีความรู้ในด้านการทําบัญชีจึงไม่ทราบว่าจะเริมบันทึกอย่างไร
  • 2. 2 ทังนีเพือให้เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายรู้จักการออมและรู้จักประโยชน์ของการออม นอกจากทุกคนจะ รู้จักการออมแล้ว ยังทําให้เรามีนิสัยในการออมมากยิงขึน เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายในอําเภอ พรหมพิราม จึงมีความต้องการให้ข้าพเจ้าเข้าไปให้ความรู้ในด้านการออมเงิน และการทําบัญชี รายรับ – รายจ่าย เพือทีจะได้นําไปปฏิบัติในชีวิตประจําวัน จากหลักการและเหตุผลทีกล่าวข้างต้น กลุ่มผู้จัดทําโครงการจึงเกิดแนวคิดทีจะทําโครงการ ปลูกฝังจิตรักการออมของเด็กบ้านพรหมพิราม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก เพือให้เยาวชน กลุ่มเป้ าหมายได้รู้จักคุณค่าของเงินและนําเงินทีเหลือไปเก็บออมไว้โดยกลุ่มของ ผู้จัดทําโครงการ จะสอนให้เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายเข้าใจการออมเงินและมองเห็นคุณค่าของเงินเพิมมากขึน แล้วกลุ่ม ผู้จัดทําจึงได้สอนให้เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายฝึกบันทึกบัญชีรายรับ – รายจ่าย เพือจะได้รู้ว่าแต่ละวัน เหลือเงินออมเท่าไร การบันทึกบัญชีจะทําให้เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายสามารถบันทึกบัญชีรายรับ – รายจ่ายได้ด้วยตนเองผู้จัดทําโครงการจึงคิดว่าการสอนให้เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายได้รู้จักการเก็บออม เงินซึงการเลือกเยาวชนกลุ่มเป้ าหมายทีเป็นเด็กจะสอนง่ายปลูกฝังและเรียนรู้ได้เร็ว กลุ่มเยาวชนจะ เติบโตเป็นผู้ใหญ่ทีดีในวันข้างหน้าซึงการออมทําให้เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายมีรากฐานทีดีตังแต่เด็กทํา ให้เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายมีเงินเก็บออมสามารถนําเงินทีเก็บออมมาใช้ในยามจําเป็นหรือฉุกเฉินได้ อย่างไม่ต้องเดือดร้อนและยังทําให้การใช้ชีวิตเป็นไปอย่างมันคง 2. วัตถุประสงค์ของโครงการ 2.1. เพือให้เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายมองเห็นคุณค่าของการออมเงิน 2.2. เพือให้เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายบันทึกบัญชีรายรับ – รายจ่ายด้วยตนเอง 2.3. เพือให้เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายนําความรู้ทีได้รับเกียวกับการออมไปใช้ในชีวิตประจําวัน 3. ขอบเขตของโครงการ การดําเนินโครงการครังนีเป็นการให้ความรู้เรืองการออมและการทําบัญชีรายรับ-รายจ่าย เพือให้เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายมีความรู้และสามารถบันทึกบัญชีรายรับ-รายจ่ายได้อย่างถูกต้องตาม หลักการบัญชี โดยมีเยาวชนกลุ่มเป้ าหมายบ้านพรหมพิราม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก จํานวน 10 ราย ประกอบด้วย 3.1. ด.ช.ณัฐพล อินภิรมย์ บ้านเลขที 134 หมู่ 7 ตําบลพรหมพิราม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 65150 3.2. ด.ญ.รักศิกา ศิลปะชัย บ้านเลขที 75 หมู่ 3 ตําบลหนองแขม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 65150
  • 3. 3 3.3. สโรชา ช้างน้อย บ้านเลขที 53/3 หมู่ 14 ตําบลพรหมพิราม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 65150 3.4. ญาณิศา ทองเถือน บ้านเลขที 92/3 หมู่ 3 ตําบลมะต้อง อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 65150 3.5. กนกวรรณ บุญวิลัย บ้านเลขที 45/1 หมู่ 8 ตําบลพรหมพิราม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 65150 3.6. อาทิตญา ปัญญาเครือ บ้านเลขที 137/2 หมู่ 3 ตําบลพรหมพิราม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 65150 3.7. พัชราภรณ์ เงินแจ้ง บ้านเลขที 57/42 หมู่ 7 ตําบลพรหมพิราม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 65150 3.8. ด.ญ.ชนิดาภา อุฤกธิ บ้านเลขที 32/5 หมู่ 4 ตําบลพรหมพิราม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 65150 3.9. ด.ญ.อาพรรัตน์ คันทัพ บ้านเลขที 75 หมู่ 3 ตําบลหนองแขม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 65150 3.10. ด.ญ.ศศิวิมล ฐิตินทรางกูร บ้านเลขที 132 หมู่ 7 ตําบลพรหมพิราม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 65150 4. ประโยชน์ทีคาดว่าจะได้รับจากการทําโครงการ 4.1. เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายมองเห็นคุณค่าของการออมเงิน 4.2. เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายบันทึกบัญชีรายรับ – รายจ่ายด้วยตนเอง 4.3. เยาวชนกลุ่มเป้ าหมายนําความรู้ทีได้รับเกียวกับการออมไปใช้ในชีวิตประจําวัน 5. นิยามศัพท์ 5.1. การออมเงิน หมายถึง การเก็บสะสมเงินทีเหลือจากรายจ่ายในแต่ละวันของกลุ่มเป้ าหมาย บ้านพรหมพิราม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 5.2. บัญชีรายรับ-รายจ่าย หมายถึง การจดบันทึกข้อมูลด้านการเงิน ทีเกียวข้องกับรายรับและรายจ่าย ทีเกิดขึนใน ชีวิตประจําวันของกลุ่มเป้ าหมายบ้านพรหมพิราม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก
  • 4. 4 5.3. รายรับ หมายถึง เงินทีได้รับจากผู้ปกครองของกลุ่มเป้ าหมายบ้านพรหมพิราม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 5.4. รายจ่าย หมายถึง เงินทีใช้จ่ายซือของตามความต้องการเช่น ค่าอาหาร ค่าขนม ค่าเครืองเขียน ของกลุ่มเป้ าหมายบ้านพรหมพิราม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก 5.5. กลุ่มเป้ าหมาย หมายถึง กลุ่มเยาวชนบ้านพรหมพิราม อําเภอพรหมพิราม จังหวัดพิษณุโลก จํานวน10 คน ทีผู้จัดทําโครงการได้ให้คําแนะนําเกียวกับการออมเงิน