SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 5
                                               หนีสิน
                                                  ้


         เนื่องจากการดาเนินธุ รกิจในปั จจุบน กิจการต้องใช้เงินทุนจานวนมากพอสมควรที่จะนาไป
                                               ั
ลงทุนในสิ นทรัพย์ประเภทต่างๆ ฉะนั้นการที่เจ้าของกิจการจะอาศัยเงินทุนของตนเองฝ่ ายเดียวอาจ
ไม่เพียงพอ จึงต้องหาเงินทุนดาเนิ นงานเพิ่มอีกทางหนึ่ ง โดยการก่อหนี้ สิน เช่ น การซื้ อสิ นค้าหรื อ
                                                    ้                                 ้
สิ นทรัพย์เป็ นเงิ นเชื่ อ การรับเงิ นล่วงหน้า การกูยืมเงิ นจากสถาบันการเงิ น การกูยืมเงิ นจากบุคคล
ทัวไป โดยการจาหน่ ายหุ ้นกู้ เป็ นต้น ซึ่ งหนี้ สินที่เกิ ดขึ้ น ถื อเป็ นภาระผูกพันของกิ จการที่ จะต้อง
   ่
ชดใช้ดวยการจ่ายเงินสด หรื อการโอนสิ นทรัพย์อื่น ๆ หรื อการให้บริ การตามที่จะตกลงกัน และต้อง
       ้
รายงานหนี้สินที่มีท้ งหมดให้ผเู ้ กี่ยวข้องได้ทราบ โดยนาเสนอจาแนกตามระยะเวลาการจ่ายชาระคืน
                      ั
ออกเป็ น หนี้สินระยะสั้น และหนี้สินระยะยาว

ความหมายของหนีสิน       ้
         มาตรฐานการบัญชี เรื่ องแม่บทการบัญชี ของสมาคมนักบัญชี และผูสอบบัญชี รับอนุ ญาต
                                                                            ้
แห่ ง ประเทศไทย (2542, หน้า 17) ให้ค านิ ย ามของหนี้ สิ นโดยทัวไป หมายถึ ง ภาระผูก พันใน
                                                                    ่
ปั จจุบนของกิจการ ภาระผูกพันดังกล่าว เป็ นผลของเหตุการณ์ในอดีต ซึ่ งการชาระภาระผูกพันนั้น
       ั
คาดว่าจะส่ งผลให้กิจการสู ญเสี ยทรัพยากรที่มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ
                                                                         ้
         หนี้สิน หมายถึง พันธะผูกพันกิจการอันเกิดจากรายการค้า การกูยืม หรื อจากอื่น ซึ่ งจะต้อง
ชาระคืนในภายหน้าด้วยสิ นทรัพย์ หรื อบริ การ ( ศัพท์บญชีของสมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับ
                                                         ั                        ้
อนุญาตแห่งประเทศไทย, 2538, หน้า 2)
         จากความหมายที่กล่ าวมาข้างต้น หนี้ สินจึ งเป็ นหน้าที่หรื อความรับผิดชอบของกิ จการที่
ต้อ งปฏิ บ ัติ ต ามที่ ต กลงไว้ จากสั ญ ญาข้อ บัง คับ กฎหมาย การด าเนิ น การตามปกติ ข องกิ จ การ
ประเพณี การค้า หรื อจากความต้องการที่จะรักษาความสัมพันธ์เชิงธุ รกิจกับลูกค้า โดยต้องชดใช้ดวย  ้
การจ่ายเงินสด การโอนสิ นทรัพย์อื่นๆ หรื อการให้บริ การ ซึ่ งจะมีผลทาให้สินทรัพย์ หรื อ ส่ วนของ
เจ้าของลดลง

ประเภทของหนีสิน
              ้
        มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 35 เรื่ องการนาเสนองบการเงินของสมาคมนักบัญชีและผูสอบ
                                                                                  ้
                                                           ่
บัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย(2543, หน้า 18) ได้กาหนดไว้วา หนี้สินต้องจัดประเภทเป็ น
174




หนี้สินหมุนเวียน เมื่อ
          1. หนี้สินนั้นถึงกาหนดชาระภายใน 12 เดือน นับจากวันที่ในงบดุล
          2. กิจการคาดว่าจะชาระหนี้สินนั้นคืนภายในรอบระยะเวลาดาเนินงานปกติ
          หนี้สินไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดข้างต้นให้จดประเภทเป็ นหนี้สินไม่หมุนเวียน
                                                      ั
ดัง นั้น หนี้ สิ น จึ ง สามารถจ าแนกประเภทตามระยะเวลาที่ ต้อ งช าระคื น ในอนาคต ออกเป็ น 2
ประเภท คือ
          1. หนี้สินหมุนเวียน (current liabilities)
          2. หนี้สินไม่หมุนเวียน (long term liabilities)

หนีสินหมุนเวียน
    ้
          หนี้สินหมุนเวียน หมายถึง หนี้สินที่กิจการมีภาระผูกพันชาระคืนภายในรอบระยะเวลา
การดาเนิ นงานตามปกติของกิจการหรื อภายในหนึ่งปี แล้วแต่เวลาใดจะยาวกว่ากัน และมักจะชาระ
คืนหนี้สินนั้น ด้วยสิ นทรัพย์หมุนเวียน หรื อด้วยการก่อหนี้สินหมุนเวียนอื่นขึ้นมาใหม่ ตัวอย่าง
รายการหนี้สินหมุนเวียน ได้แก่ เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เจ้าหนี้การค้า ตัวเงินจ่ายระยะสั้น
                                                                                 ๋
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย รายได้รับล่วงหน้า เงินปั นผลค้างจ่าย ภาษีหก ณ ที่จ่าย ส่ วนของหนี้สินระยะยาวที่
                                                             ั
ครบกาหนดชาระในงวดหน้า เป็ นต้น (อรุ ณี อย่างธารา, อรสา วีระประดิษฐ์, ณัฐพร เหล่าธรรม
ทัศน์, และวิภาดา ตันติประภา, 2543, หน้า11-1)
          หนี้สินหมุนเวียน สามารถแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท ดังนี้
          1. หนี้สินที่สามารถกาหนดมูลค่าได้แน่นอน (determinable liabilities)
          2. หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น (contingent liabilities)
          3. หนี้สินโดยประมาณ (estimated liabilities)

         หนีสินทีสามารถกาหนดมูลค่ าได้ แน่ นอน เป็ นหนี้สินที่เกิดขึ้นแล้ว สามารถกาหนดจานวน
             ้ ่
เงินและระยะเวลาที่จะต้องชาระคืนได้อย่างแน่นอน ตัวอย่างเช่น
         1. เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร ในการทาธุ รกิจปั จจุบนมักนิยมจ่ายชาระค่าสิ นค้าและบริ การ
                                                          ั
ต่างๆ ด้วยเอกสารเครดิตมากกว่าชาระด้วยเงินสด โดยเฉพาะการสั่งจ่ายโดยใช้เช็คธนาคารซึ่ ง
กิจการจะต้องเปิ ดบัญชีเงินฝากกระแสรายวันกับธนาคารและอาจทาความตกลงกับธนาคารโดยขอ
เบิกเงินเกินบัญชีในวงเงินที่ธนาคารกาหนดและยอมให้ธนาคารคิดอกเบี้ยตามจานวนที่เบิกเกิน
บัญชีทุกสิ้ นเดือน ดังนั้น กิจการสามารถจ่ายเช็คได้ดวยจานวนเงินที่เกินกว่าเงินฝากในบัญชีกระแส
                                                   ้
175




รายวันที่กิจการมีอยู่ และเรี ยกจานวนเงินที่ได้จายเกินนี้วา เงินเบิกเกินบัญชีมีผลทาให้บญชีเงินฝาก
                                               ่         ่                            ั
กระแสรายวันมียอดคงเหลือด้านเครดิต แสดงให้เห็นถึงเงินเบิกเกินบัญชีเป็ นหนี้สินหมุนเวียน

           2. เจ้าหนี้การค้า เป็ นหนี้สินอันเกิดจากการซื้ อสิ นค้าหรื อบริ การเป็ นเงินเชื่อจากการดาเนิน
ธุ รกิจตามปกติของกิจการ จะบันทึกบัญชีเจ้าหนี้การค้า ด้วยจานวนเงินที่เป็ นหนี้หลังจากหักส่ วนลด
การค้า (trade discount) แล้วเพื่อแสดงยอดเจ้าหนี้สุทธิ และจะไม่มีการคิดดอกเบี้ยสาหรับการซื้ อ
เชื่อเนื่องจากระยะเวลาการให้สินเชื่อปกติทางการค้าไม่นานนัก เช่น 30,45,60,90 และ 120 วัน
เป็ นต้น ดังนั้น ผูขายหรื อเจ้าหนี้การค้าอาจจูงใจให้ผซ้ื อรี บชาระเงินเร็ วขึ้นโดยการกาหนดเงื่อนไข
                      ้                                ู้
การชาระเงิน เช่น 2/10 ,n/30 หมายความว่า จากระยะเวลาที่ให้สินเชื่อภายใน 30 วัน ถ้าผูซ้ื อชาระ     ้
เงินค่าสิ นค้าภายใน 10 วันนับจากวันที่ซ้ื อ จะได้รับส่ วนลด 2% ของยอดจ้าหนี้สุทธิ และเรี ยก
             ่
ส่ วนลดนี้วา ส่ วนลดเงินสด (cash discount) เจ้าหนี้การค้าโดยปกติมกจะกาหนดระยะเวลาชาระหนี้
                                                                         ั
ไม่เกินหนึ่งปี จึงจัดเป็ นหนี้สินหมุนเวียน

ตัวอย่างที่ 1 เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2547 บริ ษท รุ่ งเรื อง จากัด ซื้ อสิ นค้า ราคา 100,000 บาท
                                                   ั
ส่ วนลดการค้า 5% เงื่อนไข 2/10 ,n/30
        คานวณมูลค่าสิ นค้าที่ซ้ื อเป็ นเงินเชื่อ :
             ราคาซื้ อสิ นค้า                                     100,000           บาท
             หัก ส่ วนลดการค้า 5%                                     5,000         บาท
             ราคาซื้ อเชื่ อสุ ทธิ                                   95,000         บาท

          การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้
                                      ่
2547
มี.ค. 1     ซื้ อสิ นค้า                                                   95,000 -
                     เจ้าหนี้การค้า                                                        95,000 -
            ซื้ อสิ นค้า 100,000 บาท ส่ วนลดการค้า 5%
            เงื่อนไข 2/10 , n/30
176




         ถ้าบริ ษท รุ่ งเรื อง ชาระหนี้ทนภายใน 10 วัน นับจากวันที่ซ้ื อ จะได้รับส่ วนลดเงินสด 2%
                  ั                     ั
ตามเงื่อนไขเป็ นเงิน 1,900 บาท (2% 95,000) จะบันทึกบัญชีดงนี้ ั
 2547
 มี.ค.11 เจ้าหนี้การค้า                                                 95,000 -
                    เงินสด                                                             93,100 -
                    ส่ วนลดรับ                                                          1,900 -
            จ่ายชาระหนี้ทนภายในกาหนดตามเงื่อนไข
                              ั
            ได้รับส่ วนลดเงินสด 2%

         ถ้าบริ ษท รุ่ งเรื อง ชาระหนี้เมื่อพ้นกาหนดระยะเวลาที่ได้รับส่ วนลดเงินสด จะบันทึกบัญชี
                 ั
ดังนี้
2547
มี.ค.31 เจ้าหนี้การค้า                                                      95,000 -
              เงินสด                                                                         95,000 -
        จ่ายชาระหนี้ไม่ทนกาหนดได้รับส่ วนลดเงินสด
                        ั

          3. ตัวเงินจ่าย เป็ นหนี้สินอันเกิดจากการซื้ อสิ นค้าหรื อบริ การเป็ นเงินเชื่อ โดยผูขายจะให้ผู ้
                 ๋                                                                            ้
ซื้ อรับรองเอกสารเครดิตให้ เช่น ตัวสัญญาใช้เงิน ตัวแลกเงิน หรื อเช็คลงวันที่ล่วงหน้า เพื่อเป็ น
                                       ๋                ๋
หลักประกันการชาระหนี้เนื่ องจากเอกสารเครดิตเหล่านี้กฎหมายรับรองให้ฟ้องร้องได้ และสามารถ
                     ั
นาไปขายลดให้กบสถาบันการเงินได้ในกรณี ที่มีความต้องการใช้เงินก่อนกาหนด สมาคมนักบัญชี
และผูสอบบัญชีรับอนุ ญาตแห่งประเทศไทย ได้ให้ความหมายของตัวเงินจ่าย ในศัพท์บญชี (2538,
        ้                                                               ๋                   ั
                   ่ ๋
หน้า68) ไว้วา ตัวเงินจ่าย หมายถึง คามันสัญญาเป็ นลายลักษณ์อกษรโดยปราศจากเงื่อนไข ซึ่ ง
                                              ่                           ั
กิจการรับจะชาระเงินจานวนหนึ่งที่แน่นอนให้แก่อีกบุคคลหนึ่งในเวลาที่กาหนดซึ่ งจากความหมาย
ดังกล่าว จะเห็นว่า ตัวเงินจ่ายจะเป็ นหนี้สินทางด้านของผูออกตัว ที่มีภาระผูกพันจะต้องชาระหนี้ใน
                       ๋                                    ้      ๋
อนาคตโดยทัวไปถ้าตัวเงินจ่ายเกิดจากการที่กิจการออกให้ผรับเพื่อเป็ นการจ่ายชาระหนี้ ค่าซื้ อสิ นค้า
               ่         ๋                                    ู้
และบริ การที่เกิดจากการดาเนินธุ รกิจตามปกติของกิจการจะเรี ยกว่า ตัวเงินจ่ายการค้า (notes
                                                                            ๋
payable-trade) จะจัดเป็ นหนี้สินหมุนเวียนถ้าตัวเงินจ่ายเกิดจากที่กิจการออกให้ผรับเป็ นหลักฐาน
                                                  ๋                                      ู้
ในการกูยมเงินหรื อเป็ นการชาระหนี้เงินกู้ จะเรี ยกว่า ตัวเงินจ่าย อื่น ๆ (notes payable – others’)
          ้ื                                              ๋
จัดเป็ นหนี้สินหมุนเวียนสาหรับอายุไม่เกินหนึ่งปี และเป็ นหนี้สินระยะยาวสาหรับอายุเกินกว่าหนึ่ง
177




ปี ซึ่ งกิจการอาจแบ่งตัวเงินจ่ายดังกล่าวโดยใช้เกณฑ์ของการมีดอกเบี้ยระบุไว้บนตัวเงินจ่าย ได้เป็ น
                            ๋                                                           ๋
2 ประเภท คือ
                  3.1 ตัวเงินจ่ายชนิดมีดอกเบี้ย เป็ นตัวเงินจ่ายที่มีการระบุอตราดอกเบี้ยไว้บนหน้าตัว
                        ๋                                    ๋                  ั                    ๋
เมื่อถึงวันครบกาหนด กิจการผูออกตัวจะต้องจ่ายชาระเงินต้นตามจานวนเงินที่ระบุไว้บนหน้าตัว
                                        ้     ๋                                                        ๋
พร้อมดอกเบี้ยจ่าย
                  3.2 ตัวเงินจ่ายชนิดไม่มีดอกเบี้ย เป็ นตัวเงินจ่ายที่ไม่มีการระบุอตราดอกเบี้ยไว้บน
                          ๋                                    ๋                   ั
หน้าตัว เมื่อถึงวันครบกาหนด กิจการผูออกตัวจะจ่ายชาระเงิน เท่ากับ จานวนเงินที่ระบุไว้หน้าตัว
        ๋                                       ้          ๋                                             ๋
เท่านั้น ซึ่ งตัวเงินจ่ายชนิ ดนี้จะมีดอกเบี้ยแฝงอยู่ เนื่องจากในวันที่ออกตัวเงินจ่าย กิจการผูออกตัวเงิน
                ๋                                                             ๋               ้    ๋
จ่ายจะไม่ได้รับเงินตามที่ระบุไว้บนหน้าตัว เพราะถูกหักเงินค่าดอกเบี้ยจ่ายไว้ล่วงหน้า จึงทาให้
                                                     ๋
ได้รับเงิน เท่ากับ จานวนเงินที่ระบุไว้หน้าตัว หักด้วยดอกเบี้ยจ่าย และจะบันทึกดอกเบี้ยจ่ายที่ถูกหัก
                                                       ๋
ล่วงหน้านี้ ไว้ในบัญชีส่วนลดในตัวเงินจ่าย ๋
           การบันทึกบัญชีการออกตัวเงินจ่าย ชนิดไม่มีดอกเบี้ย เป็ นดังนี้
                                            ๋
                      เดบิต บัญชีเงินสด                                              XX
                                บัญชีส่วนลดในตัวเงินจ่าย ๋                           XX
                                เครดิต บัญชีตวเงินจ่าย
                                                  ั๋                                       XX
           บัญชีส่วนลดในตัวเงินจ่าย เป็ นบัญชีปรับมูลค่าของตัวเงินจ่าย แสดงรายการในงบดุล โดย
                                 ๋                                   ๋
นามาหักจากตัวเงินจ่าย และต้องตัดบัญชีส่วนลดในตัวเงินจ่ายไปยังบัญชีดอกเบี้ยจ่ายตลอดอายุของ
                   ๋                                             ๋
ตัวเงินจ่าย
  ๋

ตัวอย่างที่ 2 เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2546 บริ ษท รุ่ งเรื่ อง จากัด ได้ออกตัวสัญญาใช้เงิน 2 ฉบับ
                                                      ั                       ๋
โดยตัวฉบับที่ 1 เป็ นการจ่ายชาระค่าซื้ อสิ นค้า มูลค่า 100,000 บาท อัตราดอกเบี้ย 12% อายุ 3
      ๋
              ๋               ้ื
เดือน ส่ วนตัวฉบับที่ 2 ได้กูยมเงินจากธนาคารกรุ งเทพ จากัด โดยออกตัวเงินจ่ายชนิ ดไม่มีดอกเบี้ย
                                                                          ๋
อายุ 6 เดือน จานวนเงินตามหน้าตัว 212,000 บาท ซึ่ งบริ ษทได้รับเงินจากธนาคารในวันที่ เท่ากับ
                                   ๋                         ั
200,000 บาท
         การบันทึกรายการในสมุดรายวันทัวไป เมื่อวันที่บริ ษทออกตัว ดังนี้
                                           ่                   ั      ๋
 2546
 พ.ย. 1 ซื้ อสิ นค้า                                                    100,000 -
                 ตัวเงินจ่ายการค้า
                   ๋                                                                100,000 -
            ออกตัวเงินจ่ายเป็ นการจ่ายชาระค่าซื้ อสิ นค้า
                 ๋
            อัตราดอกเบี้ย 12% อายุ 6 เดือน
178




พ.ย. 1    เงินสด                                                    200,000
          ส่ วนลดในตัวเงินจ่าย
                         ๋                                           12,000
                  ตัวเงินจ่ายอื่น ๆ
                    ๋                                                               212,000
          ออกตัวเงินจ่ายชนิดไม่มีดอกเบี้ย ในการกูยม
                ๋                                  ้ื
          เงินจากธนาคารกรุ งเทพ จากัด อายุ 6 เดือน

          เนื่องจากตัวเงินจ่ายไม่ได้ครบกาหนดในงวดบัญชีเดียวกันกับงวดบัญชีท่ีบริ ษทออกตัวเงิน
                      ๋                                                              ั     ๋
จ่าย ณ วันสิ้ นงวดบริ ษท จะต้องบันทึกรายการปรับปรุ งเกี่ยวกับดอกเบี้ยค้างจ่ายสาหรับตัวเงินจ่าย
                              ั                                                          ๋
ชนิดมีดอกเบี้ย และบันทึกการตัดบัญชีส่วนลดในตัวเงินจ่ายไปยังบัญชีดอกเบี้ยจ่าย สาหรับตัวเงิน
                                                      ๋                                      ๋
จ่ายชนิดไม่มีดอกเบี้ย ซึ่ งอาจจะใช้วธีเส้นตรงในการตัดบัญชีส่วนลดในตัวเงินจ่าย โดยคานวณ
                                         ิ                                  ๋
จานวนเงินที่จะตัดบัญชี จากสู ตร ดังนี้
          จานวนเงินที่ตดบัญชี = ดอกเบี้ยจ่ายที่ถูกหักไว้ล่วงหน้า X ระยะเวลาที่ตดบัญชี
                          ั                                                        ั
                                                                       ระยะเวลาทั้งหมด
          การคานวณรายการปรับปรุ ง ณ วันสิ้ นปี (31 ธ.ค. 2546)
               ตัวเงินจ่ายฉบับที่ 1 เป็ นตัวเงินจ่ายชนิดมีดอกเบี้ย จะบันทึกรายการปรับปรุ งสาหรับ
                 ๋                         ๋
ดอกเบี้ยค้างจ่ายเป็ นระยะเวลา 2 เดือน (1 พ.ย. -31 ธ.ค. 2546) ซึ่ งคานวณได้ ดังนี้
               ดอกเบี้ยจ่าย = 100,000 x 12% x 2 = 2,000 บาท
                                                  12
               ตัวเงินจ่ายฉบับที่ 2 เป็ นตัวเงินจ่ายชนิ ดไม่มีดอกเบี้ย จะบันทึกรายการปรับปรุ งการ
                   ๋                         ๋
ตัดบัญชีส่วนลดในตัวเงินจ่าย ไปยังบัญชีดอกเบี้ยจ่าย เป็ นระยะเวลา 2 เดือน (1 พ.ย.-31 ธ.ค. 2546)
                        ๋
โดยใช้วธีเส้นตรง จากสู ตรคานวณดังนี้
        ิ
          จานวนเงินที่ตดบัญชี = ดอกเบี้ยจ่ายที่ถูกหักไว้ล่วงหน้า x ระยะเวลาที่ตดบัญชี
                            ั                                                          ั
                                                                         ระยะเวลาทั้งหมด
                                    = 12,000 x 2
                                                 6
                                    = 4,000 บาท
179




         การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป สาหรับการปรับปรุ ง ณ วันสิ้ นปี ดังนี้
                                     ่
2546
ธ.ค. 31 ดอกเบี้ยจ่าย                                                   2,000 -
              ดอกเบี้ยค้างจ่าย                                                      2,000 -
        ปรับปรุ งดอกเบี้ยค้างจ่าย ของตัวเงินจ่ายจานวน
                                       ๋
        100,000 บาท อัตราดอกเบี้ย 12% สาหรับ
        ระยะเวลา 2 เดือน
        ดอกเบี้ยจ่าย                                                   4,000 -
              ส่ วนลดในตัวเงินจ่าย
                          ๋                                                         4,000 -
        ปรับปรุ งตัดบัญชีส่วนลดในตัวเงินจ่ายไปยัง
                                     ๋
        บัญชีดอกเบี้ยจ่ายของตัวเงินจ่ายชนิดไม่มี
                                ๋
        ดอกเบี้ย สาหรับระยะเวลา 2 เดือน

          การแสดงรายการบัญชีเกี่ยวกับตัวเงินจ่าย ในงบดุล เป็ นดังนี้
                                       ๋
                                             งบดุล
                                   ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546
หนี้สินหมุนเวียน
          :
ตัวเงินจ่ายการค้า
  ๋                                                                               100,000
ตัวเงินจ่ายอื่น ๆ
    ๋                                                                212,000
หัก ส่ วนลดในตัวเงินจ่าย (12,000 – 4,000)
                  ๋                                                    8,000      204,000

         เมื่อต้นงวดบัญชีใหม่ บริ ษทจะบันทึกรายการกลับรายการปรับปรุ ง ดังนี้
                                   ั
2547
ม.ค. 1      ดอกเบี้ยค้างจ่าย                                         2,000 -
                   ดอกเบี้ยจ่าย                                                  2,000 -
            บันทึกการกลับรายการปรับปรุ งสาหรับบัญชี
            ดอกเบี้ยค้างจ่าย
        เมื่อตัวเงินจ่ายฉบับที่1 ครบกาหนด บริ ษทจะต้องจ่ายชาระตามจานวนเงินที่ระบุไว้บนหน้า
               ๋                                  ั
ตัวพร้อมดอกเบี้ยจ่าย ซึ่ งบริ ษทจะมีดอกเบี้ยจ่าย = 100,000 x 12% x 3 = 3,000 บาท
  ๋                             ั
                                                                  12
180




         การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไปดังนี้
                                     ่
2547
ก.พ. 1 ตัวเงินจ่าย
         ๋                                                              100,000 -
       ดอกเบี้ยจ่าย                                                       3,000 -
              เงินสด                                                                    103,000 -
       จ่ายชาระหนี้สินตามตัวเงินจ่ายพร้อมดอกเบี้ย
                           ๋
       จ่าย

          เมื่อตัวเงินจ่าย ฉบับที่2 ครบกาหนด บริ ษทจะต้องบันทึกรายการตัดบัญชีส่วนลดในตัวเงิน
                    ๋                              ั                                     ๋
                  ่
จ่ายที่เหลืออยูไปยังบัญชี ดอกเบี้ยจ่ายทั้งจานวน และบันทึกการจ่ายชาระเงินตามจานวนที่ระบุไว้บน
หน้าตัว ซึ่ งบริ ษทจะมีบญชีส่วนลดในตัวเงินจ่ายเหลืออยูที่ตองตัดบัญชี เท่ากับ 12,000 – 4,000 =
        ๋             ั        ั               ๋        ่ ้
8,000 บาท
          การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้ ่
 2547
 พ.ค.1 ดอกเบี้ยจ่าย                                                   8,000 -
                        ส่ วนลดในตัวเงินจ่าย
                                   ๋                                                8,000 -
              บันทึกตัดบัญชีส่วนลดในตัวเงินจ่ายไปยังบัญชี
                                             ๋
              ดอกเบี้ยจ่าย ของตัวเงินจ่ายชนิดไม่มีดอกเบี้ย
                                      ๋
              สาหรับระยะเวลาที่เหลือ 4 เดือน
              ตัวเงินจ่ายอื่น ๆ
                ๋                                                  212,000 -
                        เงินสด                                                    212,000 -
              บันทึกการจ่ายเงินตามตัวเงินจ่ายชนิดไม่มี
                                        ๋
              ดอกเบี้ยด้วยจานวนเงินตามที่ระบุไว้บนหน้าตัว๋
              ให้ธนาคารกรุ งเทพ จากัด

         4. ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เป็ นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการที่กิจการได้ใช้บริ การของผูอื่นไปแล้วใน
                                                                                          ้
รอบระยะเวลาบัญชีปัจจุบน แต่ยงไม่ได้จ่ายชาระเงิน จึงยังไม่ได้ทาการบันทึกบัญชี เช่น ค่าน้ า
                           ั        ั
ค่าไฟฟ้ า ค่าโทรศัพท์ เงินเดือน ดอกเบี้ยเงินกู้ เป็ นต้น ฉะนั้น เพื่อให้เป็ นไปตามข้อสมมติ
ทางการบัญชีเรื่ องเกณฑ์คงค้าง (the accrual basis) และหลักการจับคู่คาใช้จ่ายกับรายได้ (the
                                                                               ่
matching principle) กิจการต้องทาการปรับปรุ งเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายเหล่านี้ โดยบันทึกบัญชีรับรู ้เป็ น
181




ค่าใช้จ่ายในงวดบัญชีท่ีเกิดค่าใช้จ่ายขึ้น โดยเดบิตบัญชีค่าใช้จาย เครดิตบัญชี ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ซึ่ ง
                                                              ่
จะทาให้ค่าใช้จ่ายประจางวดเป็ นจานวนที่ใกล้เคียงความเป็ นจริ ง ส่ วนค่าใช้จ่ายค้างจ่ายมักมีกาหนด
เวลาชาระเงิน ไม่เกินหนึ่งปี จึงจัดเป็ นหนี้สินหมุนเวียน

         5. รายได้รับล่วงหน้า เป็ นจานวนเงินค่าขายสิ นค้าหรื อบริ การที่รับล่วงหน้าจากลูกค้าก่อน
ส่ งมอบสิ นค้าหรื อให้บริ การแก่ลูกค้า ซึ่ งทาให้กิจการมีภาระผูกพันที่ตองส่ งมอบสิ นค้าหรื อบริ การ
                                                                       ้
ให้แก่ ลูกค้าในอนาคต ฉะนั้นจานวนเงินที่รับมาล่วงหน้านี้จะถือเป็ นหนี้สินของกิจการ จนกว่า
กิจการมีการส่ งมอบสิ นค้าหรื อให้บริ การแก่ลูกค้าแล้ว จึงจะเปลี่ยนแปลงจากหนี้สินมาเป็ นรายได้
ของกิจการ ตัวอย่างของรายได้รับล่วงหน้า เช่น รายได้ค่าบริ การรับล่วงหน้า รายได้ค่าเช่า
รับล่วงหน้า รายได้ค่าสมาชิ กวารสารรับล่วงหน้า ดอกเบี้ยรับล่วงหน้า เงินมัดจาค่าสิ นค้า เป็ นต้น
รายได้รับล่วงหน้าส่ วนที่กิจการสามารถส่ งมอบสิ นค้าหรื อให้บริ การได้ภายในหนึ่งปี จัดเป็ นหนี้สิน
หมุนเวียน และรายได้รับล่วงหน้าส่ วนที่กิจการส่ งมอบสิ นค้าหรื อให้บริ การเกินกว่าหนึ่งปี จัดเป็ น
หนี้สินระยะยาว

         6. เงินปั นผลค้างจ่าย เป็ นการประกาศจ่ายเงินปั นผลที่จดสรรจากกาไร โดยมติที่ประชุม
                                                               ั
ใหญ่ผถือหุ ้นอนุมติการจ่ายเงินปันผลให้ผถือหุ ้นรับทราบแต่ยงไม่ได้จ่ายเงินจึงถือว่ากิจการมีหนี้สิน
      ู้            ั                    ู้                ั
หมุนเวียนเกิดขึ้น

ตัวอย่างที่ 3 วันที่ 15 ธันวาคม 2546 บริ ษท รุ่ งเรื อง จากัด ประกาศจ่ายเงินปั นผลหุ นละ 5 บาท
                                          ั                                          ้
แก่ผถือหุนสามัญ จานวน 20,000 หุน โดยให้มารับเงินในวันที่ 31 มกราคม 2547
    ู้ ้                        ้
        การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้
                                    ่
2546
ธ.ค. 15     กาไรสะสม                                                  100,000 -
                 เงินปั นผลค้างจ่าย                                                     100,000 -
            ประกาศจ่ายเงินปั นผลหุนละ 5 บาท แก่ผถือหุน
                                    ้           ู้ ้
            สามัญ จานวน 20,000 บาท

2547
ม.ค. 31     เงินปันผลค้างจ่าย                                         100,000 -
                   เงินสด                                                               100,000 -
            จ่ายเงินปั นผลแก่ผถือหุนสามัญ
                              ู้ ้
182




           7. ภาษี หัก ณ ที่ จ่าย เป็ นหนี้ สิ นที่ ไม่ ได้เกิ ดจากการดาเนิ นงานของกิ จการ แต่กิ จการมี
หน้าที่จดเก็บเงินตามที่กฎหมายบัญญัติให้บริ ษท ห้างร้าน มีหน้าที่หกภาษี ณ ที่จ่าย เงิ นเดื อนและ
         ั                                              ั                   ั
ค่าจ้างที่ จ่ายให้พนัก งานของกิ จการ หรื อ ผูมารั บจ้างทาของให้กิจการ แล้วนาส่ งกรมสรรพากร
                                                    ้
ภายใน 7 วัน ของเดือนถัดไปดังนั้น ภาษีหก ณ ที่จ่าย ที่กิจการจัดเก็บและรอนาส่ งให้สรรพากร จึง
                                                ั
จัดเป็ นหนี้สินหมุนเวียน

ตัวอย่างที่ 4 เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2546 บริ ษท รุ่ งเรื อง จากัด จ่ายค่าซ่อมรถยนต์ 20,000 บาท
                                                ั
หักภาษีหก ณ ที่จ่าย 3% และจ่ายเงินเดือนพนักงาน 100,000 บาท หักภาษี ณ ที่จ่าย 5%
         ั
        การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้
                                         ่
 2546
 ธ.ค. 31 ค่าซ่อมรถยนต์                                                 20,000 -
            เงินเดือน                                                 100,000 -
                     ภาษีหก ณ ที่จ่าย
                           ั                                                           5,600 -
                     เงินสด                                                         114,400 -
            จ่ายค่าใช้จ่าย และหักภาษี ณ ที่จ่าย
 2547
 ม.ค. 7 ภาษีหก ณ ที่จ่าย
                   ั                                                     5,600 -
                     เงินสด                                                            5,600 -
            นาภาษีหก ณ ที่จ่ายส่ งกรมสรรพากร
                         ั

         8. ส่ วนของหนี้สินระยะยาวที่ครบกาหนดชาระในงวดหน้า เป็ นส่ วนของหนี้สินระยะยาว
ที่ครบกาหนดชาระภายในหนึ่งปี กิจการจึงต้องโอนหนี้สินระยะยาวดังกล่าวมาเป็ นหนี้สินหมุนเวียน
เพื่อให้งบการเงินของกิจการแสดงฐานะทางการเงินตามความเป็ นจริ ง

ตัวอย่างที่ 5 เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2547 บริ ษท รุ่ งเรื อง จากัด กูเ้ งินจากธนาคารจานวน
                                               ั
3,000,000 บาท อัตราดอกเบี้ย 10% โดยจ่ายชาระเงินต้นพร้อมดอกเบี้ย เป็ น 3 งวด ทุกวันที่ 1
มิถุนายน ของปี
183




          การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้
                                      ่
2547
มิ.ย. 1     เงินสด                                                     3,000,000 -
                           ้ื
                     เงินกูยมธนาคาร                                                    3,000,000 -
            กูเ้ งินจากธนาคาร เป็ นระยะเวลา 3 ปี โดยผ่อนชาระ
            เงินต้นพร้อมดอกเบี้ย 3 งวดทุกวันที่ 1 มิถุนายนของปี
ธ.ค. 31             ้ื
            เงินกูยมธนาคาร                                             1,000,000
                           ้ื
                     เงินกูยมธนาคารครบกาหนดชาระปี หน้า                                 1,000,000
            โอนส่วนของหนี้สินระยะยาว ที่ครบกาหนดชาระใน
            วันที่ 1 มิถุนายน ปี หน้า เป็ นหนี้สินหมุนเวียน


         หนีสินทีอาจเกิดขึน
             ้ ่           ้
         หนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น เป็ นภาระผูกพันที่อาจจะกลายมาเป็ นหนี้สินได้ในอนาคตขึ้นอยูกบ     ่ ั
เหตุการณ์บางอย่างที่จะเกิดขึ้นในภายหน้า ตัวอย่าง เช่น การนาตัวเงินรับไปขายลดให้แก่ธนาคาร
                                                                      ๋
หรื อสถาบันการเงินอื่นๆ โดยผูขายลดตัวต้องสลักหลังตัวเงินฉบับนั้นด้วย เพื่อแสดงถึงภาระผูกพัน
                                ้       ๋                ๋
ในกรณี ที่ธนาคารหรื อสถาบันการเงิน ไม่สามารถเรี ยกเก็บเงินจากตัวเงินรับได้ กิจการจะต้อง
                                                                        ๋
รับผิดชอบใช้เงินจานวนนั้นแทนพร้อมดอกเบี้ย จึงถือว่ากิจการมีภาระหนี้สินที่อาจเกิดหรื อไม่เกิดก็
ได้ นอกจากนี้ยงมีหนี้สินอันเกิดจากกิจการเป็ นจาเลยในคดีถูกฟ้ องร้องเรี ยกค่าเสี ยหาย ถ้ากิจการแพ้
                 ั
คดีก็จะต้องชดใช้ค่าเสี ยหายจึงมีหนี้สินเกิดขึ้น แต่ถาชนะคดีก็ไม่ตองชดใช้ค่าเสี ยหายจึงไม่มีหนี้สิน
                                                    ้               ้
เกิดขึ้น ดังนั้นกิจการจะบันทึกหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นเป็ นบัญชีหนี้สิน ก็ต่อเมื่อต้องเข้าเงื่อนไข 2 ข้อ
                                              ่
คือ หนี้สินมีโอกาสที่จะเกิดขึ้นเป็ นไปได้คอนข้างมาก และสามารถประมาณจานวนเงินได้อย่าง
สมเหตุสมผล ซึ่ งหากไม่เข้าเงื่อนไขดังกล่าว กิจการจะเปิ ดเผยข้อมูลหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นไว้ในหมาย
เหตุประกอบงบการเงิน

        หนีสินโดยประมาณ
            ้
        หนี้สินโดยประมาณ เป็ นภาระหนี้สินที่เกิดขึ้นแล้ว แต่ยงไม่ทราบจานวนเงินและกาหนด
                                                             ั
ระยะเวลาที่ตองชาระอย่างแน่นอน จึงต้องใช้ขอมูลที่เกิดขึ้นแล้วในอดีตมาช่วยในการประมาณ
              ้                           ้
จานวนเงินที่ตองชาระตามข้อผูกพัน เช่น ภาษีเงินได้คางจ่าย หนี้ค่าสมนาคุณโดยประมาณ
                ้                                    ้
ค่ารับประกันสิ นค้าโดยประมาณ บัตรของขวัญหรื อบัตรกานัล เป็ นต้น
        1. ภาษีเงินได้คางจ่าย
                       ้
184




               การดาเนิ นธุ รกิจในรู ปบริ ษทและห้างหุ นส่ วน จะต้องคานวณการเสี ยภาษีเงินได้นิติ
                                           ั          ้
บุคคลในรอบระยะเวลาบัญชี จากกาไรสุ ทธิ เพื่อจ่ายภาษีให้รัฐบาล จานวนภาษีที่คานวณขึ้นมาจาก
กาไรสุ ทธิ น้ ี อาจมีความแตกต่างจากการคานวณภาษีที่กาหนดไว้ในประมวลรัษฎากร เนื่องจากอาจ
มีรายได้และค่าใช้จ่ายบางรายการ ที่สรรพากรไม่ยอมให้นามาเป็ นรายได้ หรื อค่าใช้จ่ายในงวดบัญชี
นั้น จึงต้องอาจมีการปรับเปลี่ยนจานวนภาษีที่กิจการคานวณไว้ใหม่ ดังนั้น ในการบันทึกภาษีเงินได้
ค้างจ่ายในวันสิ้ นงวดบัญชี โดย เดบิต บัญชีค่าภาษีเงินได้ เครดิต บัญชีค่าภาษีเงินได้คางจ่าย ถือเป็ น
                                                                                    ้
การประมาณหนี้ค่าภาษีเงินได้

ตัวอย่างที่ 6 บริ ษท รุ่ งเรื อง จากัด มีกาไรสุ ทธิ ในปี 2546 จานวน 150,000 บาท ค่าภาษีเงินได้
                       ั
30%
        การบันทึกบัญชี ในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้
                                          ่
 2546
 ธ.ค. 31 ค่าภาษีเงินได้                                             45,000 -
                  ค่าภาษีเงินได้คางจ่าย
                                 ้                                                45,000 -
            บันทึกภาษีเงินได้คางจ่าย 30% ของกาไรสุ ทธิ
                               ้

        ต่อมาวันที่ 31 มีนาคม 2547 บริ ษทนาภาษีไปจ่ายให้กรมสรรพากร ปรากฏว่าจะต้องเสี ย
                                          ั
ภาษี จานวนทั้งสิ้ น 47,500 บาท จะบันทึกบัญชี ดังนี้
 2547
 มี.ค.31 ค่าภาษีเงินได้คางจ่าย
                          ้                                   45,000 -
           กาไรสะสม                                            2,500
                  เงินสด                                                  47,500 -
           จ่ายชาระค่าภาษีเงินได้ให้กรมสรรพากร

        2. หนี้ค่าสมนาคุณโดยประมาณ
            กิจการอาจมีการดาเนินนโยบายส่ งเสริ มการขายโดยการให้ของแถมเมื่อมีการซื้ อสิ นค้า
การให้ลูกค้าที่นาชิ้นส่ วนของสิ นค้ามาแลกของสมนาคุณ และการให้ลูกค้านาชิ้นส่ วนของสิ นค้า
พร้อมจานวนเงินมาแลกของสมนาคุณ ซึ่ งจะกาหนดระยะเวลาการให้ของแถมและการให้แลกไว้
                                ่
ถ้าระยะเวลาที่หมดเขตไม่ได้อยูในรอบระยะเวลาบัญชีปัจจุบนที่มีการขายสิ นค้า แต่เป็ นของงวด
                                                      ั
185




บัญชีถดไป ในวันสิ้ นงวดบัญชีกิจการจะต้องประมาณการหนี้ค่าสมนาคุณ เพื่อประมาณค่าใช้จ่าย
      ั
ของสมนาคุณ ให้งบการเงินถูกต้องตามหลักการจบคู่ค่าใช้จ่ายกับรายได้ โดยบันทึกบัญชี
เดบิตบัญชีค่าใช้จ่ายของสมนาคุณ และ เครดิตบัญชี หนี้ค่าของสมนาคุณโดยประมาณ

ตัวอย่ างที่ 7 บริ ษท รุ่ งเรื อง จากัด กาหนดให้ลูกค้าที่ซ้ื อสิ นค้านาฝากล่องสิ นค้า 2 ฝา มาแลก
                       ั
ผ้าเช็ดหน้า 1 ผืน ตั้งแต่วนที่ 1 มิถุนายน 2546 ถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2547 ซึ่งในปี 2546 บริ ษทมี
                          ั                                                                    ั
ยอดขายสิ นค้า จานวน 10,000 กล่อง ราคากล่องละ 100 บาท ประมาณว่าลูกค้า 80% มาแลกของ
สมนาคุณและในปี 2546 นี้ มีลูกค้านาฝากล่องมาแลกผ้าเช็คหน้าแล้ว จานวน 2,800 ผืน ต้นทุน
ผ้าเช็ดหน้าผืนละ 10 บาท

        การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้
                                    ่
2546
        เงินสด                                                        1,000,000 -
               ขายสิ นค้า                                                           1,000,000 -
        บันทึกยอดขายสิ นค้า 10,000 กล่อง
        ค่าใช้จ่ายของสมนาคุณ                                            28,000 -
               ของสมนาคุณ (ผ้าเช็ดหน้า)                                               28,000 -
        ลูกค้านาฝากล่องสิ นค้ามาแลกผ้าเช็ดหน้า 2,800
        ผืน ราคาผืนละ 10 บาท
ธ.ค. 31 ค่าใช้จ่ายของสมนาคุณ                                            12,000 -
               หนี้ค่าของสมนาคุณโดยประมาณ                                             12,000 -
        บันทึกการประมาณการหนี้ค่าสมนาคุณลูกค้า
        คานวณ :
          ประมาณลูกค้านาฝากล่องมาแลก 80% x 10,000 = 8,000
          คิดเป็ นจานวนผ้าเช็ดหน้าที่จะถูกแลก 8,000 / 2 = 4,000 ผืน
          ระหว่างปี 2546 ลูกค้ามาแลกผ้าเช็ดหน้า           2,800 ผืน
          คงเหลือคาดว่าจะนามาแลกอีก                       1,200 ผืน
            เป็ นเงิน 1,200 x 10 = 12,000 บาท
186




          3. ค่ารับประกันสิ นค้าโดยประมาณ
              กิจการที่ขายสิ นค้า และให้คามันสัญญาในการรับประกันคุณภาพสิ นค้า โดยจะซ่อม
                                                 ่
หรื อทดแทนส่ วนที่ชารุ ดเสี ยหายของสิ นค้าให้ภายในระยะเวลาที่กาหนดฟรี โดยไม่คิดมูลค่าแต่
อย่างใด ซึ่ งถือเป็ นบริ การหลังการขายที่จดให้ลูกค้า เช่น กิจการขายเครื่ องคอมพิวเตอร์ รถยนต์
                                               ั
เครื่ องใช้ไฟฟ้ า เป็ นต้น ในกรณี ที่ค่าใช้จ่ายในการรับประกันคุณภาพสิ นค้าอยูในรอบระยะเวลาบัญชี
                                                                             ่
ปั จจุบนที่มีการขายสิ นค้าก็จะไม่มีปัญหาอะไร แต่ถาในวันสิ้ นงวดบัญชีกิจการมีสินค้าที่ขายยังไม่
        ั                                               ้
หมดระยะเวลารับประกัน จะทาให้ตองมีค่าใช้จ่ายส่ วนหนึ่งเกิดขึ้นในงวดบัญชีถดไป ดังนั้นกิจการ
                                         ้                                      ั
จะต้องประมาณการหนี้ค่ารับประกันคุณภาพสิ นค้า เพื่อประมาณค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดขึ้นจากการ
รับประกันมาบันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายในงวดนี้ให้ถูกต้อง โดยบันทึกบัญชี เดบิตบัญชีค่าใช้จ่ายในการ
รับประกันคุณภาพและเครดิตบัญชีค่ารับประกันคุณภาพโดยประมาณ

ตัวอย่างที่ 8 ในปี 2547 บริ ษท รุ่ งโรจน์ จากัด ขายเครื่ องใช้ไฟฟ้ า 800,000 บาท โดยมีสัญญา
                             ั
                                                              ่
รับประกันซ่อมฟรี ภายในระยะเวลา 1 ปี จากประสบการณ์ที่ผานมาในอดีตกิจการประมาณว่าจะมี
ค่าใช้จ่ายในการซ่อม 5% ของยอดขาย ซึ่ งในปี นี้มีค่าใช้จ่ายในการซ่อมเกิดขึ้นแล้ว 10,000 บาท

การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้
                            ่
2547
          เงินสด                                                    800,000 -
                ขายสิ นค้า                                                         800,000 -
          บันทึกยอดขายสิ นค้า

          ค่าใช้จ่ายในการรับประกันคุณภาพ                             10,000 -
                 เงินสด                                                             10,000 -
          จ่ายเงินค่าซ่อมสิ นค้าที่รับประกัน
ธ.ค. 31   ค่าใช้จ่ายในการรับประกันคุณภาพ                             30,000 -
                 หนี้ค่ารับประกันคุณภาพโดยประมาณ                                    30,000 -
          ประมาณหนี้ค่ารับประกันคุณภาพ 5% ของยอดขาย
          คานวณ :
          ประมาณค่าซ่อม 5% x 800,00 = 40,000บาท
          ลูกค้านามาให้ซ่อมแล้ว              = 10,000บาท
          คงเหลือหนี้ค่ารับประกันโดยประมาณ = 30,000 บาท
187




          4. บัตรของขวัญหรื อบัตรกานัล
          ห้างสรรพสิ นค้าที่มีการจาหน่ายบัตรของขวัญหรื อบัตรกานัลแก่ลูกค้า เพื่อให้ลูกค้าซื้ อไป
เป็ นของขวัญในโอกาสต่างๆ ซึ่ งผูที่ได้รับบัตรของขวัญสามารถนาบัตรไปเลือกซื้ อสิ นค้า ได้ตาม
                                   ้
ความต้องการ เมื่อขายบัตรของขวัญให้แก่ลูกค้าไปแล้วกิจการถือว่ามีหนี้สินเกิดขึ้นที่จะต้องชดใช้
เป็ นสิ นค้าตามจานวนเงินในบัตรของขวัญ ดังนั้น ในวันสิ้ นงวดบัญชี หากมีผได้รับบัตรของขวัญ
                                                                           ู้
บางรายยังไม่ได้นาบัตรมาแลกสิ นค้า จะถือว่าบัตรของขวัญที่ยงไม่ได้นามาแลกสิ นค้าเป็ นหนี้สิน
                                                             ั
หมุนเวียนของกิจการ
          เนื่องจากบัตรของขวัญ จะมีกาหนดระยะเวลาที่นาไปแลกสิ นค้า และถ้าบัตรหมดอายุโดยที่
ยังไม่ได้แลก ให้โอนจานวนเงินของบัตรที่หมดอายุไปเป็ นรายได้อื่นๆ

ตัวอย่างที่ 9 ในปี 2546 ห้างสรรพสิ นค้าโรบินฮูท ได้จาหน่ายบัตรกานัล เพื่อให้ลูกค้านามา
แลกสิ นค้า เป็ นจานวน 200,000 บาท และในปี นี้ลูกค้านามาแลกสิ นค้าแล้ว 170,000 บาท บัตร
หมดอายุในวันสิ้ นเดือน เมษายน 2547 มีลูกค้ายังไม่นามาแลกสิ นค้า จานวน 3,000 บาท
        การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้
                                     ่
2546
          เงินสด                                                     200,000 -
                หนี้สินจากการขายบัตรกานัล                                            200,000 -
          ขายบัตรกานัลให้ลูกค้า

          หนี้สินจากการขายบัตรกานัล                                  170,000 -
                 ขายสิ นค้า                                                          170,000 -
          ลูกค้านาบัตรกานัลมาแลกสิ นค้า

2547
เม.ย.30   หนี้สินจากการขายบัตรกานัล                                   27,000 -
                 ขายสิ นค้า                                                           27,000 -
          ลูกค้านาบัตรกานัลมาแลกสิ นค้า

          หนี้สินจาการขายบัตรกานัล                                     3,000 -
                 รายได้อื่น ๆ                                                          3,000 -
          โอนบัตรกานัลจานวน 3,000 บาท ที่ลูกค้าไม่นามาแลก
          สิ นค้าเป็ นรายได้อื่นๆ
188




หนีสินระยะยาว
      ้
           หนี้สินระยะยาว หมายถึง หนี้สินที่กิจการมีภาระผูกพันต้องชาระคืนเกินกว่าหนึ่งรอบ
                                                                                        ้ื
ระยะเวลาการดาเนินงานหรื อเกินกว่าหนึ่งปี ตัวอย่างรายการหนี้สินระยะยาวได้แก่เงินกูยมระยะยาว
การออกหุ นกู้ ตัวเงินจ่ายระยะยาว เจ้าหนี้กรรมการและลูกจ้าง หนี้สินตามสัญญาเช่าระยะยาว
               ้     ๋
เงินมัดจาและเงินค่าประกันสิ นค้า เป็ นต้น ซึ่ งชื่อบัญชีที่ใช้และการบันทึกบัญชีของหนี้สินระยะยาว
จะคล้ายกับหนี้สินหมุนเวียน แต่จะมีหนี้สินระยะยาวที่แตกต่างไปจากหนี้สินหมุนเวียน คือ หุ นกู้      ้
(bonds payable) ที่มีลกษณะการเกิดขึ้นของรายการเหมือนกับหุ นทุน
                         ั                                          ้
           หุ นกู้ เป็ นการจัดหาเงินทุนมาใช้ในการดาเนินงานอีกวิธีหนึ่ง นอกจากการจัดหาเงินทุน
                 ้
โดยใช้หุนทุน ตามพระราชบัญญัติบริ ษทมหาชน จากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 145 ได้ให้ความหมายไว้
           ้                                   ั
ว่า หุ นกู้ หมายถึง การกูเ้ งินของบริ ษทโดยการออกหุ ้นกูเ้ พื่อเสนอขายต่อประชาชน โดยที่แบ่งหุ นกู้
        ้                                  ั                                                       ้
เป็ นจานวนเงินออกเป็ นหุ นๆละเท่าๆกัน มีกาหนดการจ่ายดอกเบี้ยและกาหนด
                                ้
                             ้ ้ ้
ระยะเวลาไถ่ถอนราคาหุ นกูตองไม่ต่ากว่าหุ นละ 100 บาท โดยชาระค่าหุ นเป็ นเงินสดเท่านั้นและผู ้
                                                 ้                           ้
                              ั
ซื้ อจะขอหักกลบลบหนี้กบบริ ษทไม่ได้   ั
           ราคาจาหน่ายหุ นกู้ หุ นกูแต่ละฉบับจะมีมูลค่าเท่ากัน และมีราคาที่ระบุไว้บนใบหุ ้น เรี ยกว่า
                           ้        ้ ้
                                                       ้ ้
ราคาตามมูลค่า (par value) ซึ่ งอาจจาหน่ายหุ นกูในราคาเท่ากับราคาตามมูลค่า สู งกว่าราคาตาม
                                                   ่ ั             ้ ้
มูลค่าหรื อต่ากว่าราคาตามมูลค่าก็ได้ ขึ้นอยูกบอัตราดอกเบี้ยที่หุนกูจะจ่าย เมื่อเปรี ยบเทียบกับอัตรา
ดอกเบี้ยในท้องตลาด ณ วันที่จาหน่าย กล่าวคือ ถ้าหุ นกูจ่ายดอกเบี้ยเท่ากับอัตราดอกเบี้ยใน
                                                                ้ ้
ท้องตลาดขณะนั้น ราคาจาหน่ายหุ นกูก็จะเท่ากับราคาตามมูลค่า ถ้าหุ นกูจ่ายดอกเบี้ยในอัตราที่สูง
                                          ้ ้                             ้ ้
กว่าอัตราดอกเบี้ยในท้องตลาด ราคาจาหน่ายหุ นกูก็จะสู งกว่าราคาตามมูลค่า และถ้าหุ นกูจ่าย
                                                        ้ ้                                  ้ ้
ดอกเบี้ยในอัตราที่ต่ากว่าอัตราดอกเบี้ยในท้องตลาด ราคาจาหน่ายหุ นกูก็จะต่ากว่าราคาตามมูลค่า
                                                                         ้ ้
                                        ้
ดังนั้น ในกรณี ที่จาหน่ายหุ ้นกูในราคาสู งกว่าหรื อต่ากว่ามูลค่า จะเกิดผลต่างขึ้น ระหว่างราคา
จาหน่ายหุ นกู้ กับราคาตามมูลค่า ให้บนทึกไว้ บัญชีส่วนเกินมูลค่าหุ นกู้ หรื อส่ วนลดมูลค่าหุ นกู้ ซึ่ ง
             ้                               ั                         ้                      ้
ถือเป็ นบัญชีปรับมูลค่าของหุ ้นกู้ และ ณ วันสิ้ นงวดบัญชีจะต้องปรับปรุ งตัดบัญชี ส่วนเกินหรื อ
ส่ วนลดมูลค่าหุ นกูน้ ี ไปยังบัญชีดอกเบี้ยจ่ายตลอดอายุของหุ นกู้ นับจากวันที่ออกหุ ้นกูจนถึงวันที่
                   ้ ้                                           ้                         ้
    ้ ้
หุ นกูครบกาหนด เพื่อให้บญชีดอกเบี้ยจ่ายเหลือยอดที่ถูกต้องตามอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริ ง
                                  ั

                       ั                          ้ ้
ตัวอย่างที่ 10 บริ ษท รวมจิตร มหาชน จากัด ออกหุ นกูมูลค่าหุ นละ 500 บาท จานวน 20,000 หุ ้น
                                                            ้
อายุ 5 ปี อัตราดอกเบี้ย 12% กาหนดจ่ายดอกเบี้ยในวันที่ 1 เมษายน และ 1 ตุลาคม บริ ษทจาหน่าย
                                                                                 ั
   ้ ้
หุ นกูออกไปเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2543 จานวน 15,000 หุน ในราคา 108 บาท
                                                    ้
         การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้
                                       ่
189




2543
เม.ย. 1 เงินสด                                                        8,100,000 -
              หุ นกู้
                   ้                                                                  7,500,000 -
              ส่ วนเกินมูลค่าหุ นกู้
                                ้                                                       600,000
        จาหน่ายหุ นกู้ อายุ 5 ปี จานวน 15,000 หุน
                     ้                          ้                                               -
        มูลค่าหุ นละ 500 บาท อัตราดอกเบี้ย 12% ใน
                 ้
        ราคา 108 บาท

ต.ค. 1 ดอกเบี้ยจ่าย                                                     450,000 -
             เงินสด                                                                     450,000
                      ้ ้ ้
       จ่ายดอกเบี้ยหุ นกูคางจ่ายจานวน 3 เดือน
ธ.ค.31 ดอกเบี้ยจ่าย                                                     225,000 -
             ดอกเบี้ยค้างจ่าย                                                           225,000 -
                               ้ ้
       ปรับปรุ งดอกเบี้ยหุ ้นกูคางจ่าย จานวน 3 เดือน

           ส่ วนเกินมูลค่าหุ นกู้
                             ้                                           90,000 -
                  ดอกเบี้ยจ่าย                                                            90,000 -
           ตัดส่ วนเกินมูลค่าหุ นกู้ (600,000 x 9)
                                ้
                                               60


          ณ วันสิ้ นงวดบัญชี บริ ษทจะทาการการปรับปรุ งบัญชีดอกเบี้ยค้างจ่าย และตัดบัญชี
                                           ั
ส่ วนเกินหรื อส่ วนลดมูลค่าหุ ้นกู้ ตามวิธีเส้นตรง ซึ่ งจะทาให้จานวนส่ วนเกินหรื อส่ วนลดมูลค่าหุ นกู้
                                                                                                    ้
ที่ถูกตัดจะเท่าๆ กันทุกปี ตลอดอายุของหุ ้นกู้ โดยเมื่อครบกาหนดไถ่ถอนหุ นกู้ ส่ วนเกินหรื อส่ วนลด
                                                                           ้
มูลค่าหุ นกูน้ ีก็จะหมดไป
         ้ ้
          จากตัวอย่างที่ 10 หุ นกูเ้ ริ่ มจาหน่ายวันที่ 1 เมษายน 2543 มีจานวนส่ วนเกินมูลค่าหุ นกู้
                                ้                                                                 ้
600,000 บาท จะถูกตัดบัญชี ไปลดดอกเบี้ยจ่าย ในปี 2543 เท่ากับ 9 เดือน (1 เมษายน – 31 ธันวาคม
2543) คิดเป็ นเงิน 90,000 บาท (600,000 x 9) ปี 2544, 2545, 2546, 2547 จะถูกตัดบัญชีเต็มปี คิด
                                              60
เป็ นเงินปี ละ 120,000 บาท และปี 2548 เหลือ 3 เดือน คิดเป็ นเงิน 30,000 บาท
190




ตัวอย่างที่ 11 จากข้อมูลตัวอย่างที่ 10 ถ้าเปลี่ยนมาเป็ น บริ ษทจาหน่ายหุ น จานวน 15,000 หุน
                                                              ั          ้                ้
ในราคา 95 บาท
        การบันทึกบัญชีสมุดรายวันทัวไป ดังนี้
                                        ่
2543
เม.ย. 1 เงินสด                                                  7,125,000 -
           ส่ วนลดมูลค่าหุ นกู้
                            ้                                     375,000 -
                  หุ นกู้
                       ้                                                      7,500,000 -
           จาหน่ายหุ นกู้ อายุ 5 ปี จานวน 15,000 หุน
                         ้                               ้
           มูลค่าหุ นละ 500 บาท อัตราดอกเบี้ย 12% ใน
                     ้
           ราคา 95 บาท
ต.ค. 1 ดอกเบี้ยจ่าย                                               450,000 -
                  เงินสด                                                        450,000 -
                           ้ ้ ้
           จ่ายดอกเบี้ยหุ นกูคางจ่ายจานวน 6 เดือน
           ดอกเบี้ยจ่าย                                           225,000 -
                  ดอกเบี้ยค้างจ่าย                                              225,000 -
                                    ้ ้
           ปรับปรุ งดอกเบี้ยหุ ้นกูคางจ่าย จานวน 3 เดือน
ธ.ค. 31 ดอกเบี้ยจ่าย                                               56,250 -
                  ส่ วนลดมูลค่าหุ นกู้
                                  ้                                              56,250 -
           ตัดส่ วนลดมูลค่าหุ นกู้ (375,000 x 9)
                               ้
                                             60


         ส่ วนลดมูลค่าหุ นกู้ จานวน 375,000 บาท จะถูกตัดบัญชีไปเพิ่มดอกเบี้ยจ่าย ในปี 2543
                          ้
เท่ากับ 9 เดือน คิดเป็ นเงิน 56,250 บาท ปี 2544, 2545, 2546, 2547 จะถูกตัดปี ละ 75,000 บาท และปี
2548 จานวน 2 เดือน คิดเป็ นเงิน 18,750 บาท
         บัญชีส่วนเกินหรื อส่ วนลดมูลค่าหุ นกู้ เป็ นบัญชีปรับมูลค่า แสดงในงบดุลโดยบัญชี ส่วน
                                            ้
เกินมูลค่าหุ นกูจะนาไปบวกกับบัญชีหุนกู้ ส่ วนบัญชีส่วนลดมูลค่าหุ นกูจะนาไปหักบัญชีหุนกู้ เพื่อ
             ้ ้                       ้                            ้ ้                  ้
     ้ ้
ให้หุนกูแสดงมูลค่าสุ ทธิ ท่ีแท้จริ ง
191




ระบบใบสาคัญจ่ าย
          ระบบใบสาคัญจ่ายเป็ นส่ วนหนึ่งของการควบคุมภายใน สาหรับการจ่ายเงินสดที่มีการ
อนุมติการจ่ายเงิน ไม่วาจะเป็ นการจ่ายสาหรับการซื้ อสิ นค้า ซื้ อสิ นทรัพย์ ค่าใช้จ่ายต่างๆ และจ่าย
     ั                  ่
ชาระหนี้ตามระบบใบสาคัญจ่าย จะถือว่ารายจ่ายทุกรายการให้ต้ งเป็ นหนี้สินไว้ก่อน แล้วจึงนามา
                                                                  ั
ลงบันทึกในสมุดทะเบียนใบสาคัญจ่าย (voucher register) และผ่านรายการไปยังบัญชี แยกประเภท
ใบสาคัญจ่าย และบัญชีที่เกี่ยวข้อง เมื่อถึงกาหนดก็จะจ่ายเป็ นเช็คทุกรายการ ยกเว้น เงินสดย่อยของ
กิจการซึ่ งรายการที่เกิดขึ้นแต่ละรายการจะต้องมีระบบการตรวจสอบหลักฐานการจ่ายเงินที่สามารถ
พิสูจน์ได้ตามขั้นตอนที่ได้กาหนดไว้และกาหนดหน้าที่ของแต่ละบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการจ่ายเงิน
ให้เหมาะสม เช่น ในการสั่งซื้ อสิ นค้า แผนกซื้ อมีหน้าที่สั่งซื้ อ และก่อนจะมีการจ่ายเงินค่าสิ นค้า
จะต้องเทียบใบตรวจรับสิ นค้ากับใบกากับสิ นค้าที่ผขายส่ งมาให้เสี ยก่อน เป็ นต้น
                                                 ู้

วิธีการดาเนินงานเกียวกับระบบใบสาคัญจ่ าย
                       ่
           วิธีการดาเนิ นงานเกี่ยวกับระบบใบสาคัญจ่าย เป็ นการกาหนดการจัดทาใบสาคัญจ่ายตั้งแต่
เริ่ มต้นจนกระทังชาระหนี้สินที่เกิดขึ้นแล้ว ซึ่ งมีข้ นตอน ดังนี้
                     ่                                     ั
           1. การจัดทาใบสาคัญจ่าย
               การจัดทาระบบใบสาคัญจ่ายเริ่ มจากการกาหนดแบบฟอร์ มใบสาคัญจ่ายซึ่ งอาจแตกต่าง
กันไปตามความเหมาะสมของแต่ละกิจการ จุดเริ่ มต้นของระบบใบสาคัญจ่ายเกิดขึ้น เมื่อแผนกที่
ต้องการสิ นค้าหรื อสิ่ งของต่างๆ จะส่ งใบขอซื้ อที่ได้รับอนุมติแล้ว ไปให้แผนกจัดซื้ อเพื่อดาเนิ นการ
                                                                 ั
จัดซื้ อให้ แผนกจัดซื้ อจะทาใบสั่งซื้ อไปให้ผขายเพื่อเป็ นการสั่งซื้ อและส่ งเอกสารตั้งแต่ใบขอซื้ อ
                                                        ู้
ใบสั่งซื้ อ ใบกากับสิ นค้า ไปยังแผนกบัญชี ในขณะที่แผนกอื่นๆ ได้แก่ แผนกตรวจรับของ จัดทา
ใบตรวจรับของส่ งไปยังแผนกบัญชี ดังนั้นแผนกบัญชีจะเป็ นผูรวบรวมหลักฐานต่างๆ ทั้งหมดมา
                                                                      ้
ตรวจสอบความถูกต้องตรงกันแล้ว ก็จดทาใบสาคัญจ่ายเพื่อขออนุมติจ่ายรายการซื้ อครั้งนี้ โดยแนบ
                                             ั                          ั
เอกสารที่ได้รับไปพร้อมกับใบสาคัญจ่ายเพื่อให้ผมีอานาจอนุมติจ่าย
                                                           ู้       ั
           ใบสาคัญจ่าย ที่แผนกบัญชีจดทาขึ้นหนึ่งฉบับต่อรายการจ่ายเงินหนึ่งรายการ ควรมีรายการ
                                           ั
ที่สาคัญ ดังนี้
              1.1 เลขที่ใบสาคัญจ่าย แสดงถึงลาดับที่ของใบสาคัญ โดยปกติจะให้เลขที่เรี ยงลาดับไป
ตลอดทั้งปี แต่ถาใบสาคัญจ่ายมีมาก อาจให้เลขที่โดยแบ่งเป็ นเดือนก่อน แล้วจึงตามด้วยลาดับที่ของ
                   ้
ใบสาคัญ เช่น ใบสาคัญจ่ายเลขที่ 1-15 หมายความว่า ใบสาคัญจ่ายทาในเดือนมกราคม ลาดับที่ 15
              1.2 วันที่บนทึก ซึ่ งเป็ นวัน เดือน ปี ที่ทาใบสาคัญจ่าย
                          ั
                            ่ ู้
              1.3 ชื่อที่อยูผรับเงิน และวันครบกาหนดจ่ายเงิน
192




              1.4   รายการ เงื่อนไข การชาระเงิน ในใบกากับสิ นค้า
              1.5   ชื่อบัญชีที่เดบิต และเครดิต พร้อมจานวนเงิน
              1.6   รายการจ่ายเงิน จานวนเงินที่จ่าย วันที่ เลขที่เช็คที่จ่าย
              1.7   ลงมือชื่อผูจดทาใบสาคัญจ่าย ผูตรวจสอบและผูอนุมติจ่าย
                                 ้ั                ้                 ้ ั

ตัวอย่างใบสาคัญจ่ายแสดงได้ ดังภาพที่ 5.1 และ 5.2
         ด้านหน้าใบสาคัญจ่ายเงิน

                                                                 ใบสาคัญจ่าย
                                                       บริ ษท...........................
                                                               ั
                                            ที่อยู.่ ..................................................
                                                                                                              เลขที่..............................
                                                                                                               วันที่..............................
 ผูรับเงิน.........................................
   ้
 ที่อยู.่ .............................................
 วันครบกาหนดชาระเงิน........................

 รายการและรายละเอียดการจ่ายเงิน
    วันที่ เลขที่ใบกากับสิ นค้า                             เงื่อนไข                       คาอธิบาย                    จานวนเงิน



   .............................................. ............................................... ...........................................
                    ผูจดทา
                       ้ั                                       ผูตรวจสอบ
                                                                   ้                                             ผูอนุมติ
                                                                                                                    ้ ั




ภาพที่ 5.1 แสดงตัวอย่างลักษณะแบบฟอร์ มใบสาคัญจ่ าย (ด้ านหน้ า)
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน

More Related Content

What's hot

เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรีเฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
Aor's Sometime
 
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัดเฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
Aor's Sometime
 
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
Pa'rig Prig
 
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
Pa'rig Prig
 
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงินบทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
tumetr1
 
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
การบริหารเงินทุนหมุนเวียนการบริหารเงินทุนหมุนเวียน
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
tumetr1
 
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
Chenchira Chaengson
 
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสารส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสารAttachoke Putththai
 
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
Aor's Sometime
 
ตัวต้านทาน
ตัวต้านทานตัวต้านทาน
ตัวต้านทานnang_phy29
 
ผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารAttachoke Putththai
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
soysuwanyuennan
 
ค่าเสื่อมราคา
ค่าเสื่อมราคาค่าเสื่อมราคา
ค่าเสื่อมราคา
Chaiyong_SP
 
การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1Siriya Lekkang
 
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจการเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจsmile-girl
 
07 capital budgetting
07 capital budgetting07 capital budgetting
07 capital budgetting
pop Jaturong
 
เอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชีเอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชีAttachoke Putththai
 
05 standard cost & flexible budget
05 standard cost & flexible budget05 standard cost & flexible budget
05 standard cost & flexible budget
pop Jaturong
 
07 ma
07 ma07 ma

What's hot (20)

เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรีเฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
 
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัดเฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัทเอบีโพนจำกัด
 
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
 
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
 
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงินบทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
 
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
การบริหารเงินทุนหมุนเวียนการบริหารเงินทุนหมุนเวียน
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
 
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
 
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสารส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
ส่วนที่ 4 ผังบัญชี รหัสบัญชี และผังทางเดินเอกสาร
 
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
เฉลยบัญชีกลาง2 บริษัท เอ.อา.ดี จำกัด
 
ตัวต้านทาน
ตัวต้านทานตัวต้านทาน
ตัวต้านทาน
 
ผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสารผังทางเดินเอกสาร
ผังทางเดินเอกสาร
 
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลกโลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
โลก ดาราศาสตร์ อวกาศ ม.4 เล่ม 1_บทที่ 1 โครงสร้างโลก
 
ค่าเสื่อมราคา
ค่าเสื่อมราคาค่าเสื่อมราคา
ค่าเสื่อมราคา
 
การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1
 
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจการเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
 
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
วิชาต้นทุน บทที่ 2 ต้นทุนและงบ 1
 
07 capital budgetting
07 capital budgetting07 capital budgetting
07 capital budgetting
 
เอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชีเอกสารทางการบัญชี
เอกสารทางการบัญชี
 
05 standard cost & flexible budget
05 standard cost & flexible budget05 standard cost & flexible budget
05 standard cost & flexible budget
 
07 ma
07 ma07 ma
07 ma
 

Viewers also liked

ความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็คความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็คAttaporn Ninsuwan
 
บัญชีต้นทุน1
บัญชีต้นทุน1บัญชีต้นทุน1
บัญชีต้นทุน1
กุลเศรษฐ บานเย็น
 
บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1Orawonya Wbac
 
ส่วนของเจ้าของ
ส่วนของเจ้าของส่วนของเจ้าของ
ส่วนของเจ้าของpeepai
 
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับCh2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับple2516
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
มิชิโกะ จังโกะ
 
5
55
นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1
นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1
นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1
Niti Nachit
 
ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2
มิชิโกะ จังโกะ
 
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชีแบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
วาสนา ทีคะสาย
 
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไปแผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไปNoree Sapsopon
 
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารเรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
Noo Jomkwan Parida
 

Viewers also liked (20)

การกำนวณตั่วเงิน
การกำนวณตั่วเงินการกำนวณตั่วเงิน
การกำนวณตั่วเงิน
 
ชั้นกลาง 2(ตั๋วเงิน)
ชั้นกลาง 2(ตั๋วเงิน)ชั้นกลาง 2(ตั๋วเงิน)
ชั้นกลาง 2(ตั๋วเงิน)
 
ความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็คความรู้เรื่องเช็ค
ความรู้เรื่องเช็ค
 
บัญชีต้นทุน1
บัญชีต้นทุน1บัญชีต้นทุน1
บัญชีต้นทุน1
 
บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1บัญชีเบื้องต้น1
บัญชีเบื้องต้น1
 
เปรียบเทียบ
เปรียบเทียบเปรียบเทียบ
เปรียบเทียบ
 
ส่วนของเจ้าของ
ส่วนของเจ้าของส่วนของเจ้าของ
ส่วนของเจ้าของ
 
1
11
1
 
013
013013
013
 
023
023023
023
 
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับCh2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
5
55
5
 
นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1
นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1
นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1
 
010
010010
010
 
ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2
 
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชีแบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
 
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไปแผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป
 
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารเรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
 
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
Ac+101+เฉลยหลักการบัญชี+1
 

Similar to Ch5 หนี้สิน

บบที่9
บบที่9บบที่9
บบที่9praphol
 
บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8praphol
 
บรรยายพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้
บรรยายพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้บรรยายพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้
บรรยายพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้
Suebsarn ROJANAWON
 
การจัดการด้านหนี้สิน
การจัดการด้านหนี้สินการจัดการด้านหนี้สิน
การจัดการด้านหนี้สินFiNe' ANakkawee
 
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุนโครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
tumetr1
 
งานการเงินบัญชีพัสดุ
งานการเงินบัญชีพัสดุงานการเงินบัญชีพัสดุ
งานการเงินบัญชีพัสดุ
สอบครูดอทคอม เว็บเตรียมสอบ
 
Loan Management for Microfinance and Bank.pdf
Loan Management for Microfinance and Bank.pdfLoan Management for Microfinance and Bank.pdf
Loan Management for Microfinance and Bank.pdf
HRDevision
 
การบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointการบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointOrawonya Wbac
 
หน่วยที่ 3ร่วมค้า
หน่วยที่ 3ร่วมค้าหน่วยที่ 3ร่วมค้า
หน่วยที่ 3ร่วมค้า
มิชิโกะ จังโกะ
 
financial analysis.pptx
financial analysis.pptxfinancial analysis.pptx
financial analysis.pptx
Khonkaen University
 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
Earn LikeStock
 

Similar to Ch5 หนี้สิน (20)

บบที่9
บบที่9บบที่9
บบที่9
 
unit01
unit01unit01
unit01
 
บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8
 
บรรยายพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้
บรรยายพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้บรรยายพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้
บรรยายพระราชบัญญัติการทวงถามหนี้
 
การจัดการด้านหนี้สิน
การจัดการด้านหนี้สินการจัดการด้านหนี้สิน
การจัดการด้านหนี้สิน
 
Nc
NcNc
Nc
 
Nc
NcNc
Nc
 
Nc
NcNc
Nc
 
Nc
NcNc
Nc
 
Nc
NcNc
Nc
 
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุนโครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
 
04 businessfinance v1
04 businessfinance v104 businessfinance v1
04 businessfinance v1
 
งานการเงินบัญชีพัสดุ
งานการเงินบัญชีพัสดุงานการเงินบัญชีพัสดุ
งานการเงินบัญชีพัสดุ
 
Loan Management for Microfinance and Bank.pdf
Loan Management for Microfinance and Bank.pdfLoan Management for Microfinance and Bank.pdf
Loan Management for Microfinance and Bank.pdf
 
การบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointการบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power point
 
หน่วยที่ 3ร่วมค้า
หน่วยที่ 3ร่วมค้าหน่วยที่ 3ร่วมค้า
หน่วยที่ 3ร่วมค้า
 
financial analysis.pptx
financial analysis.pptxfinancial analysis.pptx
financial analysis.pptx
 
โครงการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการคลัง2
โครงการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการคลัง2โครงการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการคลัง2
โครงการพัฒนาศักยภาพเจ้าหน้าที่ปฏิบัติงานด้านการคลัง2
 
12 businessfinance v1
12 businessfinance v112 businessfinance v1
12 businessfinance v1
 
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
ปูพื้นฐานอ่านงบการเงิน - MrLikeStock.com (Introduction to Read Financial Stat...
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

Ch5 หนี้สิน

  • 1. บทที่ 5 หนีสิน ้ เนื่องจากการดาเนินธุ รกิจในปั จจุบน กิจการต้องใช้เงินทุนจานวนมากพอสมควรที่จะนาไป ั ลงทุนในสิ นทรัพย์ประเภทต่างๆ ฉะนั้นการที่เจ้าของกิจการจะอาศัยเงินทุนของตนเองฝ่ ายเดียวอาจ ไม่เพียงพอ จึงต้องหาเงินทุนดาเนิ นงานเพิ่มอีกทางหนึ่ ง โดยการก่อหนี้ สิน เช่ น การซื้ อสิ นค้าหรื อ ้ ้ สิ นทรัพย์เป็ นเงิ นเชื่ อ การรับเงิ นล่วงหน้า การกูยืมเงิ นจากสถาบันการเงิ น การกูยืมเงิ นจากบุคคล ทัวไป โดยการจาหน่ ายหุ ้นกู้ เป็ นต้น ซึ่ งหนี้ สินที่เกิ ดขึ้ น ถื อเป็ นภาระผูกพันของกิ จการที่ จะต้อง ่ ชดใช้ดวยการจ่ายเงินสด หรื อการโอนสิ นทรัพย์อื่น ๆ หรื อการให้บริ การตามที่จะตกลงกัน และต้อง ้ รายงานหนี้สินที่มีท้ งหมดให้ผเู ้ กี่ยวข้องได้ทราบ โดยนาเสนอจาแนกตามระยะเวลาการจ่ายชาระคืน ั ออกเป็ น หนี้สินระยะสั้น และหนี้สินระยะยาว ความหมายของหนีสิน ้ มาตรฐานการบัญชี เรื่ องแม่บทการบัญชี ของสมาคมนักบัญชี และผูสอบบัญชี รับอนุ ญาต ้ แห่ ง ประเทศไทย (2542, หน้า 17) ให้ค านิ ย ามของหนี้ สิ นโดยทัวไป หมายถึ ง ภาระผูก พันใน ่ ปั จจุบนของกิจการ ภาระผูกพันดังกล่าว เป็ นผลของเหตุการณ์ในอดีต ซึ่ งการชาระภาระผูกพันนั้น ั คาดว่าจะส่ งผลให้กิจการสู ญเสี ยทรัพยากรที่มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ ้ หนี้สิน หมายถึง พันธะผูกพันกิจการอันเกิดจากรายการค้า การกูยืม หรื อจากอื่น ซึ่ งจะต้อง ชาระคืนในภายหน้าด้วยสิ นทรัพย์ หรื อบริ การ ( ศัพท์บญชีของสมาคมนักบัญชีและผูสอบบัญชีรับ ั ้ อนุญาตแห่งประเทศไทย, 2538, หน้า 2) จากความหมายที่กล่ าวมาข้างต้น หนี้ สินจึ งเป็ นหน้าที่หรื อความรับผิดชอบของกิ จการที่ ต้อ งปฏิ บ ัติ ต ามที่ ต กลงไว้ จากสั ญ ญาข้อ บัง คับ กฎหมาย การด าเนิ น การตามปกติ ข องกิ จ การ ประเพณี การค้า หรื อจากความต้องการที่จะรักษาความสัมพันธ์เชิงธุ รกิจกับลูกค้า โดยต้องชดใช้ดวย ้ การจ่ายเงินสด การโอนสิ นทรัพย์อื่นๆ หรื อการให้บริ การ ซึ่ งจะมีผลทาให้สินทรัพย์ หรื อ ส่ วนของ เจ้าของลดลง ประเภทของหนีสิน ้ มาตรฐานการบัญชี ฉบับที่ 35 เรื่ องการนาเสนองบการเงินของสมาคมนักบัญชีและผูสอบ ้ ่ บัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย(2543, หน้า 18) ได้กาหนดไว้วา หนี้สินต้องจัดประเภทเป็ น
  • 2. 174 หนี้สินหมุนเวียน เมื่อ 1. หนี้สินนั้นถึงกาหนดชาระภายใน 12 เดือน นับจากวันที่ในงบดุล 2. กิจการคาดว่าจะชาระหนี้สินนั้นคืนภายในรอบระยะเวลาดาเนินงานปกติ หนี้สินไม่เป็ นไปตามข้อกาหนดข้างต้นให้จดประเภทเป็ นหนี้สินไม่หมุนเวียน ั ดัง นั้น หนี้ สิ น จึ ง สามารถจ าแนกประเภทตามระยะเวลาที่ ต้อ งช าระคื น ในอนาคต ออกเป็ น 2 ประเภท คือ 1. หนี้สินหมุนเวียน (current liabilities) 2. หนี้สินไม่หมุนเวียน (long term liabilities) หนีสินหมุนเวียน ้ หนี้สินหมุนเวียน หมายถึง หนี้สินที่กิจการมีภาระผูกพันชาระคืนภายในรอบระยะเวลา การดาเนิ นงานตามปกติของกิจการหรื อภายในหนึ่งปี แล้วแต่เวลาใดจะยาวกว่ากัน และมักจะชาระ คืนหนี้สินนั้น ด้วยสิ นทรัพย์หมุนเวียน หรื อด้วยการก่อหนี้สินหมุนเวียนอื่นขึ้นมาใหม่ ตัวอย่าง รายการหนี้สินหมุนเวียน ได้แก่ เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เจ้าหนี้การค้า ตัวเงินจ่ายระยะสั้น ๋ ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย รายได้รับล่วงหน้า เงินปั นผลค้างจ่าย ภาษีหก ณ ที่จ่าย ส่ วนของหนี้สินระยะยาวที่ ั ครบกาหนดชาระในงวดหน้า เป็ นต้น (อรุ ณี อย่างธารา, อรสา วีระประดิษฐ์, ณัฐพร เหล่าธรรม ทัศน์, และวิภาดา ตันติประภา, 2543, หน้า11-1) หนี้สินหมุนเวียน สามารถแบ่งออกเป็ น 3 ประเภท ดังนี้ 1. หนี้สินที่สามารถกาหนดมูลค่าได้แน่นอน (determinable liabilities) 2. หนี้สินที่อาจเกิดขึ้น (contingent liabilities) 3. หนี้สินโดยประมาณ (estimated liabilities) หนีสินทีสามารถกาหนดมูลค่ าได้ แน่ นอน เป็ นหนี้สินที่เกิดขึ้นแล้ว สามารถกาหนดจานวน ้ ่ เงินและระยะเวลาที่จะต้องชาระคืนได้อย่างแน่นอน ตัวอย่างเช่น 1. เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร ในการทาธุ รกิจปั จจุบนมักนิยมจ่ายชาระค่าสิ นค้าและบริ การ ั ต่างๆ ด้วยเอกสารเครดิตมากกว่าชาระด้วยเงินสด โดยเฉพาะการสั่งจ่ายโดยใช้เช็คธนาคารซึ่ ง กิจการจะต้องเปิ ดบัญชีเงินฝากกระแสรายวันกับธนาคารและอาจทาความตกลงกับธนาคารโดยขอ เบิกเงินเกินบัญชีในวงเงินที่ธนาคารกาหนดและยอมให้ธนาคารคิดอกเบี้ยตามจานวนที่เบิกเกิน บัญชีทุกสิ้ นเดือน ดังนั้น กิจการสามารถจ่ายเช็คได้ดวยจานวนเงินที่เกินกว่าเงินฝากในบัญชีกระแส ้
  • 3. 175 รายวันที่กิจการมีอยู่ และเรี ยกจานวนเงินที่ได้จายเกินนี้วา เงินเบิกเกินบัญชีมีผลทาให้บญชีเงินฝาก ่ ่ ั กระแสรายวันมียอดคงเหลือด้านเครดิต แสดงให้เห็นถึงเงินเบิกเกินบัญชีเป็ นหนี้สินหมุนเวียน 2. เจ้าหนี้การค้า เป็ นหนี้สินอันเกิดจากการซื้ อสิ นค้าหรื อบริ การเป็ นเงินเชื่อจากการดาเนิน ธุ รกิจตามปกติของกิจการ จะบันทึกบัญชีเจ้าหนี้การค้า ด้วยจานวนเงินที่เป็ นหนี้หลังจากหักส่ วนลด การค้า (trade discount) แล้วเพื่อแสดงยอดเจ้าหนี้สุทธิ และจะไม่มีการคิดดอกเบี้ยสาหรับการซื้ อ เชื่อเนื่องจากระยะเวลาการให้สินเชื่อปกติทางการค้าไม่นานนัก เช่น 30,45,60,90 และ 120 วัน เป็ นต้น ดังนั้น ผูขายหรื อเจ้าหนี้การค้าอาจจูงใจให้ผซ้ื อรี บชาระเงินเร็ วขึ้นโดยการกาหนดเงื่อนไข ้ ู้ การชาระเงิน เช่น 2/10 ,n/30 หมายความว่า จากระยะเวลาที่ให้สินเชื่อภายใน 30 วัน ถ้าผูซ้ื อชาระ ้ เงินค่าสิ นค้าภายใน 10 วันนับจากวันที่ซ้ื อ จะได้รับส่ วนลด 2% ของยอดจ้าหนี้สุทธิ และเรี ยก ่ ส่ วนลดนี้วา ส่ วนลดเงินสด (cash discount) เจ้าหนี้การค้าโดยปกติมกจะกาหนดระยะเวลาชาระหนี้ ั ไม่เกินหนึ่งปี จึงจัดเป็ นหนี้สินหมุนเวียน ตัวอย่างที่ 1 เมื่อวันที่ 1 มีนาคม 2547 บริ ษท รุ่ งเรื อง จากัด ซื้ อสิ นค้า ราคา 100,000 บาท ั ส่ วนลดการค้า 5% เงื่อนไข 2/10 ,n/30 คานวณมูลค่าสิ นค้าที่ซ้ื อเป็ นเงินเชื่อ : ราคาซื้ อสิ นค้า 100,000 บาท หัก ส่ วนลดการค้า 5% 5,000 บาท ราคาซื้ อเชื่ อสุ ทธิ 95,000 บาท การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้ ่ 2547 มี.ค. 1 ซื้ อสิ นค้า 95,000 - เจ้าหนี้การค้า 95,000 - ซื้ อสิ นค้า 100,000 บาท ส่ วนลดการค้า 5% เงื่อนไข 2/10 , n/30
  • 4. 176 ถ้าบริ ษท รุ่ งเรื อง ชาระหนี้ทนภายใน 10 วัน นับจากวันที่ซ้ื อ จะได้รับส่ วนลดเงินสด 2% ั ั ตามเงื่อนไขเป็ นเงิน 1,900 บาท (2% 95,000) จะบันทึกบัญชีดงนี้ ั 2547 มี.ค.11 เจ้าหนี้การค้า 95,000 - เงินสด 93,100 - ส่ วนลดรับ 1,900 - จ่ายชาระหนี้ทนภายในกาหนดตามเงื่อนไข ั ได้รับส่ วนลดเงินสด 2% ถ้าบริ ษท รุ่ งเรื อง ชาระหนี้เมื่อพ้นกาหนดระยะเวลาที่ได้รับส่ วนลดเงินสด จะบันทึกบัญชี ั ดังนี้ 2547 มี.ค.31 เจ้าหนี้การค้า 95,000 - เงินสด 95,000 - จ่ายชาระหนี้ไม่ทนกาหนดได้รับส่ วนลดเงินสด ั 3. ตัวเงินจ่าย เป็ นหนี้สินอันเกิดจากการซื้ อสิ นค้าหรื อบริ การเป็ นเงินเชื่อ โดยผูขายจะให้ผู ้ ๋ ้ ซื้ อรับรองเอกสารเครดิตให้ เช่น ตัวสัญญาใช้เงิน ตัวแลกเงิน หรื อเช็คลงวันที่ล่วงหน้า เพื่อเป็ น ๋ ๋ หลักประกันการชาระหนี้เนื่ องจากเอกสารเครดิตเหล่านี้กฎหมายรับรองให้ฟ้องร้องได้ และสามารถ ั นาไปขายลดให้กบสถาบันการเงินได้ในกรณี ที่มีความต้องการใช้เงินก่อนกาหนด สมาคมนักบัญชี และผูสอบบัญชีรับอนุ ญาตแห่งประเทศไทย ได้ให้ความหมายของตัวเงินจ่าย ในศัพท์บญชี (2538, ้ ๋ ั ่ ๋ หน้า68) ไว้วา ตัวเงินจ่าย หมายถึง คามันสัญญาเป็ นลายลักษณ์อกษรโดยปราศจากเงื่อนไข ซึ่ ง ่ ั กิจการรับจะชาระเงินจานวนหนึ่งที่แน่นอนให้แก่อีกบุคคลหนึ่งในเวลาที่กาหนดซึ่ งจากความหมาย ดังกล่าว จะเห็นว่า ตัวเงินจ่ายจะเป็ นหนี้สินทางด้านของผูออกตัว ที่มีภาระผูกพันจะต้องชาระหนี้ใน ๋ ้ ๋ อนาคตโดยทัวไปถ้าตัวเงินจ่ายเกิดจากการที่กิจการออกให้ผรับเพื่อเป็ นการจ่ายชาระหนี้ ค่าซื้ อสิ นค้า ่ ๋ ู้ และบริ การที่เกิดจากการดาเนินธุ รกิจตามปกติของกิจการจะเรี ยกว่า ตัวเงินจ่ายการค้า (notes ๋ payable-trade) จะจัดเป็ นหนี้สินหมุนเวียนถ้าตัวเงินจ่ายเกิดจากที่กิจการออกให้ผรับเป็ นหลักฐาน ๋ ู้ ในการกูยมเงินหรื อเป็ นการชาระหนี้เงินกู้ จะเรี ยกว่า ตัวเงินจ่าย อื่น ๆ (notes payable – others’) ้ื ๋ จัดเป็ นหนี้สินหมุนเวียนสาหรับอายุไม่เกินหนึ่งปี และเป็ นหนี้สินระยะยาวสาหรับอายุเกินกว่าหนึ่ง
  • 5. 177 ปี ซึ่ งกิจการอาจแบ่งตัวเงินจ่ายดังกล่าวโดยใช้เกณฑ์ของการมีดอกเบี้ยระบุไว้บนตัวเงินจ่าย ได้เป็ น ๋ ๋ 2 ประเภท คือ 3.1 ตัวเงินจ่ายชนิดมีดอกเบี้ย เป็ นตัวเงินจ่ายที่มีการระบุอตราดอกเบี้ยไว้บนหน้าตัว ๋ ๋ ั ๋ เมื่อถึงวันครบกาหนด กิจการผูออกตัวจะต้องจ่ายชาระเงินต้นตามจานวนเงินที่ระบุไว้บนหน้าตัว ้ ๋ ๋ พร้อมดอกเบี้ยจ่าย 3.2 ตัวเงินจ่ายชนิดไม่มีดอกเบี้ย เป็ นตัวเงินจ่ายที่ไม่มีการระบุอตราดอกเบี้ยไว้บน ๋ ๋ ั หน้าตัว เมื่อถึงวันครบกาหนด กิจการผูออกตัวจะจ่ายชาระเงิน เท่ากับ จานวนเงินที่ระบุไว้หน้าตัว ๋ ้ ๋ ๋ เท่านั้น ซึ่ งตัวเงินจ่ายชนิ ดนี้จะมีดอกเบี้ยแฝงอยู่ เนื่องจากในวันที่ออกตัวเงินจ่าย กิจการผูออกตัวเงิน ๋ ๋ ้ ๋ จ่ายจะไม่ได้รับเงินตามที่ระบุไว้บนหน้าตัว เพราะถูกหักเงินค่าดอกเบี้ยจ่ายไว้ล่วงหน้า จึงทาให้ ๋ ได้รับเงิน เท่ากับ จานวนเงินที่ระบุไว้หน้าตัว หักด้วยดอกเบี้ยจ่าย และจะบันทึกดอกเบี้ยจ่ายที่ถูกหัก ๋ ล่วงหน้านี้ ไว้ในบัญชีส่วนลดในตัวเงินจ่าย ๋ การบันทึกบัญชีการออกตัวเงินจ่าย ชนิดไม่มีดอกเบี้ย เป็ นดังนี้ ๋ เดบิต บัญชีเงินสด XX บัญชีส่วนลดในตัวเงินจ่าย ๋ XX เครดิต บัญชีตวเงินจ่าย ั๋ XX บัญชีส่วนลดในตัวเงินจ่าย เป็ นบัญชีปรับมูลค่าของตัวเงินจ่าย แสดงรายการในงบดุล โดย ๋ ๋ นามาหักจากตัวเงินจ่าย และต้องตัดบัญชีส่วนลดในตัวเงินจ่ายไปยังบัญชีดอกเบี้ยจ่ายตลอดอายุของ ๋ ๋ ตัวเงินจ่าย ๋ ตัวอย่างที่ 2 เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 2546 บริ ษท รุ่ งเรื่ อง จากัด ได้ออกตัวสัญญาใช้เงิน 2 ฉบับ ั ๋ โดยตัวฉบับที่ 1 เป็ นการจ่ายชาระค่าซื้ อสิ นค้า มูลค่า 100,000 บาท อัตราดอกเบี้ย 12% อายุ 3 ๋ ๋ ้ื เดือน ส่ วนตัวฉบับที่ 2 ได้กูยมเงินจากธนาคารกรุ งเทพ จากัด โดยออกตัวเงินจ่ายชนิ ดไม่มีดอกเบี้ย ๋ อายุ 6 เดือน จานวนเงินตามหน้าตัว 212,000 บาท ซึ่ งบริ ษทได้รับเงินจากธนาคารในวันที่ เท่ากับ ๋ ั 200,000 บาท การบันทึกรายการในสมุดรายวันทัวไป เมื่อวันที่บริ ษทออกตัว ดังนี้ ่ ั ๋ 2546 พ.ย. 1 ซื้ อสิ นค้า 100,000 - ตัวเงินจ่ายการค้า ๋ 100,000 - ออกตัวเงินจ่ายเป็ นการจ่ายชาระค่าซื้ อสิ นค้า ๋ อัตราดอกเบี้ย 12% อายุ 6 เดือน
  • 6. 178 พ.ย. 1 เงินสด 200,000 ส่ วนลดในตัวเงินจ่าย ๋ 12,000 ตัวเงินจ่ายอื่น ๆ ๋ 212,000 ออกตัวเงินจ่ายชนิดไม่มีดอกเบี้ย ในการกูยม ๋ ้ื เงินจากธนาคารกรุ งเทพ จากัด อายุ 6 เดือน เนื่องจากตัวเงินจ่ายไม่ได้ครบกาหนดในงวดบัญชีเดียวกันกับงวดบัญชีท่ีบริ ษทออกตัวเงิน ๋ ั ๋ จ่าย ณ วันสิ้ นงวดบริ ษท จะต้องบันทึกรายการปรับปรุ งเกี่ยวกับดอกเบี้ยค้างจ่ายสาหรับตัวเงินจ่าย ั ๋ ชนิดมีดอกเบี้ย และบันทึกการตัดบัญชีส่วนลดในตัวเงินจ่ายไปยังบัญชีดอกเบี้ยจ่าย สาหรับตัวเงิน ๋ ๋ จ่ายชนิดไม่มีดอกเบี้ย ซึ่ งอาจจะใช้วธีเส้นตรงในการตัดบัญชีส่วนลดในตัวเงินจ่าย โดยคานวณ ิ ๋ จานวนเงินที่จะตัดบัญชี จากสู ตร ดังนี้ จานวนเงินที่ตดบัญชี = ดอกเบี้ยจ่ายที่ถูกหักไว้ล่วงหน้า X ระยะเวลาที่ตดบัญชี ั ั ระยะเวลาทั้งหมด การคานวณรายการปรับปรุ ง ณ วันสิ้ นปี (31 ธ.ค. 2546) ตัวเงินจ่ายฉบับที่ 1 เป็ นตัวเงินจ่ายชนิดมีดอกเบี้ย จะบันทึกรายการปรับปรุ งสาหรับ ๋ ๋ ดอกเบี้ยค้างจ่ายเป็ นระยะเวลา 2 เดือน (1 พ.ย. -31 ธ.ค. 2546) ซึ่ งคานวณได้ ดังนี้ ดอกเบี้ยจ่าย = 100,000 x 12% x 2 = 2,000 บาท 12 ตัวเงินจ่ายฉบับที่ 2 เป็ นตัวเงินจ่ายชนิ ดไม่มีดอกเบี้ย จะบันทึกรายการปรับปรุ งการ ๋ ๋ ตัดบัญชีส่วนลดในตัวเงินจ่าย ไปยังบัญชีดอกเบี้ยจ่าย เป็ นระยะเวลา 2 เดือน (1 พ.ย.-31 ธ.ค. 2546) ๋ โดยใช้วธีเส้นตรง จากสู ตรคานวณดังนี้ ิ จานวนเงินที่ตดบัญชี = ดอกเบี้ยจ่ายที่ถูกหักไว้ล่วงหน้า x ระยะเวลาที่ตดบัญชี ั ั ระยะเวลาทั้งหมด = 12,000 x 2 6 = 4,000 บาท
  • 7. 179 การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป สาหรับการปรับปรุ ง ณ วันสิ้ นปี ดังนี้ ่ 2546 ธ.ค. 31 ดอกเบี้ยจ่าย 2,000 - ดอกเบี้ยค้างจ่าย 2,000 - ปรับปรุ งดอกเบี้ยค้างจ่าย ของตัวเงินจ่ายจานวน ๋ 100,000 บาท อัตราดอกเบี้ย 12% สาหรับ ระยะเวลา 2 เดือน ดอกเบี้ยจ่าย 4,000 - ส่ วนลดในตัวเงินจ่าย ๋ 4,000 - ปรับปรุ งตัดบัญชีส่วนลดในตัวเงินจ่ายไปยัง ๋ บัญชีดอกเบี้ยจ่ายของตัวเงินจ่ายชนิดไม่มี ๋ ดอกเบี้ย สาหรับระยะเวลา 2 เดือน การแสดงรายการบัญชีเกี่ยวกับตัวเงินจ่าย ในงบดุล เป็ นดังนี้ ๋ งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546 หนี้สินหมุนเวียน : ตัวเงินจ่ายการค้า ๋ 100,000 ตัวเงินจ่ายอื่น ๆ ๋ 212,000 หัก ส่ วนลดในตัวเงินจ่าย (12,000 – 4,000) ๋ 8,000 204,000 เมื่อต้นงวดบัญชีใหม่ บริ ษทจะบันทึกรายการกลับรายการปรับปรุ ง ดังนี้ ั 2547 ม.ค. 1 ดอกเบี้ยค้างจ่าย 2,000 - ดอกเบี้ยจ่าย 2,000 - บันทึกการกลับรายการปรับปรุ งสาหรับบัญชี ดอกเบี้ยค้างจ่าย เมื่อตัวเงินจ่ายฉบับที่1 ครบกาหนด บริ ษทจะต้องจ่ายชาระตามจานวนเงินที่ระบุไว้บนหน้า ๋ ั ตัวพร้อมดอกเบี้ยจ่าย ซึ่ งบริ ษทจะมีดอกเบี้ยจ่าย = 100,000 x 12% x 3 = 3,000 บาท ๋ ั 12
  • 8. 180 การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไปดังนี้ ่ 2547 ก.พ. 1 ตัวเงินจ่าย ๋ 100,000 - ดอกเบี้ยจ่าย 3,000 - เงินสด 103,000 - จ่ายชาระหนี้สินตามตัวเงินจ่ายพร้อมดอกเบี้ย ๋ จ่าย เมื่อตัวเงินจ่าย ฉบับที่2 ครบกาหนด บริ ษทจะต้องบันทึกรายการตัดบัญชีส่วนลดในตัวเงิน ๋ ั ๋ ่ จ่ายที่เหลืออยูไปยังบัญชี ดอกเบี้ยจ่ายทั้งจานวน และบันทึกการจ่ายชาระเงินตามจานวนที่ระบุไว้บน หน้าตัว ซึ่ งบริ ษทจะมีบญชีส่วนลดในตัวเงินจ่ายเหลืออยูที่ตองตัดบัญชี เท่ากับ 12,000 – 4,000 = ๋ ั ั ๋ ่ ้ 8,000 บาท การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้ ่ 2547 พ.ค.1 ดอกเบี้ยจ่าย 8,000 - ส่ วนลดในตัวเงินจ่าย ๋ 8,000 - บันทึกตัดบัญชีส่วนลดในตัวเงินจ่ายไปยังบัญชี ๋ ดอกเบี้ยจ่าย ของตัวเงินจ่ายชนิดไม่มีดอกเบี้ย ๋ สาหรับระยะเวลาที่เหลือ 4 เดือน ตัวเงินจ่ายอื่น ๆ ๋ 212,000 - เงินสด 212,000 - บันทึกการจ่ายเงินตามตัวเงินจ่ายชนิดไม่มี ๋ ดอกเบี้ยด้วยจานวนเงินตามที่ระบุไว้บนหน้าตัว๋ ให้ธนาคารกรุ งเทพ จากัด 4. ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย เป็ นค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นจากการที่กิจการได้ใช้บริ การของผูอื่นไปแล้วใน ้ รอบระยะเวลาบัญชีปัจจุบน แต่ยงไม่ได้จ่ายชาระเงิน จึงยังไม่ได้ทาการบันทึกบัญชี เช่น ค่าน้ า ั ั ค่าไฟฟ้ า ค่าโทรศัพท์ เงินเดือน ดอกเบี้ยเงินกู้ เป็ นต้น ฉะนั้น เพื่อให้เป็ นไปตามข้อสมมติ ทางการบัญชีเรื่ องเกณฑ์คงค้าง (the accrual basis) และหลักการจับคู่คาใช้จ่ายกับรายได้ (the ่ matching principle) กิจการต้องทาการปรับปรุ งเกี่ยวกับค่าใช้จ่ายเหล่านี้ โดยบันทึกบัญชีรับรู ้เป็ น
  • 9. 181 ค่าใช้จ่ายในงวดบัญชีท่ีเกิดค่าใช้จ่ายขึ้น โดยเดบิตบัญชีค่าใช้จาย เครดิตบัญชี ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ซึ่ ง ่ จะทาให้ค่าใช้จ่ายประจางวดเป็ นจานวนที่ใกล้เคียงความเป็ นจริ ง ส่ วนค่าใช้จ่ายค้างจ่ายมักมีกาหนด เวลาชาระเงิน ไม่เกินหนึ่งปี จึงจัดเป็ นหนี้สินหมุนเวียน 5. รายได้รับล่วงหน้า เป็ นจานวนเงินค่าขายสิ นค้าหรื อบริ การที่รับล่วงหน้าจากลูกค้าก่อน ส่ งมอบสิ นค้าหรื อให้บริ การแก่ลูกค้า ซึ่ งทาให้กิจการมีภาระผูกพันที่ตองส่ งมอบสิ นค้าหรื อบริ การ ้ ให้แก่ ลูกค้าในอนาคต ฉะนั้นจานวนเงินที่รับมาล่วงหน้านี้จะถือเป็ นหนี้สินของกิจการ จนกว่า กิจการมีการส่ งมอบสิ นค้าหรื อให้บริ การแก่ลูกค้าแล้ว จึงจะเปลี่ยนแปลงจากหนี้สินมาเป็ นรายได้ ของกิจการ ตัวอย่างของรายได้รับล่วงหน้า เช่น รายได้ค่าบริ การรับล่วงหน้า รายได้ค่าเช่า รับล่วงหน้า รายได้ค่าสมาชิ กวารสารรับล่วงหน้า ดอกเบี้ยรับล่วงหน้า เงินมัดจาค่าสิ นค้า เป็ นต้น รายได้รับล่วงหน้าส่ วนที่กิจการสามารถส่ งมอบสิ นค้าหรื อให้บริ การได้ภายในหนึ่งปี จัดเป็ นหนี้สิน หมุนเวียน และรายได้รับล่วงหน้าส่ วนที่กิจการส่ งมอบสิ นค้าหรื อให้บริ การเกินกว่าหนึ่งปี จัดเป็ น หนี้สินระยะยาว 6. เงินปั นผลค้างจ่าย เป็ นการประกาศจ่ายเงินปั นผลที่จดสรรจากกาไร โดยมติที่ประชุม ั ใหญ่ผถือหุ ้นอนุมติการจ่ายเงินปันผลให้ผถือหุ ้นรับทราบแต่ยงไม่ได้จ่ายเงินจึงถือว่ากิจการมีหนี้สิน ู้ ั ู้ ั หมุนเวียนเกิดขึ้น ตัวอย่างที่ 3 วันที่ 15 ธันวาคม 2546 บริ ษท รุ่ งเรื อง จากัด ประกาศจ่ายเงินปั นผลหุ นละ 5 บาท ั ้ แก่ผถือหุนสามัญ จานวน 20,000 หุน โดยให้มารับเงินในวันที่ 31 มกราคม 2547 ู้ ้ ้ การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้ ่ 2546 ธ.ค. 15 กาไรสะสม 100,000 - เงินปั นผลค้างจ่าย 100,000 - ประกาศจ่ายเงินปั นผลหุนละ 5 บาท แก่ผถือหุน ้ ู้ ้ สามัญ จานวน 20,000 บาท 2547 ม.ค. 31 เงินปันผลค้างจ่าย 100,000 - เงินสด 100,000 - จ่ายเงินปั นผลแก่ผถือหุนสามัญ ู้ ้
  • 10. 182 7. ภาษี หัก ณ ที่ จ่าย เป็ นหนี้ สิ นที่ ไม่ ได้เกิ ดจากการดาเนิ นงานของกิ จการ แต่กิ จการมี หน้าที่จดเก็บเงินตามที่กฎหมายบัญญัติให้บริ ษท ห้างร้าน มีหน้าที่หกภาษี ณ ที่จ่าย เงิ นเดื อนและ ั ั ั ค่าจ้างที่ จ่ายให้พนัก งานของกิ จการ หรื อ ผูมารั บจ้างทาของให้กิจการ แล้วนาส่ งกรมสรรพากร ้ ภายใน 7 วัน ของเดือนถัดไปดังนั้น ภาษีหก ณ ที่จ่าย ที่กิจการจัดเก็บและรอนาส่ งให้สรรพากร จึง ั จัดเป็ นหนี้สินหมุนเวียน ตัวอย่างที่ 4 เมื่อวันที่ 31 ธันวาคม 2546 บริ ษท รุ่ งเรื อง จากัด จ่ายค่าซ่อมรถยนต์ 20,000 บาท ั หักภาษีหก ณ ที่จ่าย 3% และจ่ายเงินเดือนพนักงาน 100,000 บาท หักภาษี ณ ที่จ่าย 5% ั การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้ ่ 2546 ธ.ค. 31 ค่าซ่อมรถยนต์ 20,000 - เงินเดือน 100,000 - ภาษีหก ณ ที่จ่าย ั 5,600 - เงินสด 114,400 - จ่ายค่าใช้จ่าย และหักภาษี ณ ที่จ่าย 2547 ม.ค. 7 ภาษีหก ณ ที่จ่าย ั 5,600 - เงินสด 5,600 - นาภาษีหก ณ ที่จ่ายส่ งกรมสรรพากร ั 8. ส่ วนของหนี้สินระยะยาวที่ครบกาหนดชาระในงวดหน้า เป็ นส่ วนของหนี้สินระยะยาว ที่ครบกาหนดชาระภายในหนึ่งปี กิจการจึงต้องโอนหนี้สินระยะยาวดังกล่าวมาเป็ นหนี้สินหมุนเวียน เพื่อให้งบการเงินของกิจการแสดงฐานะทางการเงินตามความเป็ นจริ ง ตัวอย่างที่ 5 เมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2547 บริ ษท รุ่ งเรื อง จากัด กูเ้ งินจากธนาคารจานวน ั 3,000,000 บาท อัตราดอกเบี้ย 10% โดยจ่ายชาระเงินต้นพร้อมดอกเบี้ย เป็ น 3 งวด ทุกวันที่ 1 มิถุนายน ของปี
  • 11. 183 การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้ ่ 2547 มิ.ย. 1 เงินสด 3,000,000 - ้ื เงินกูยมธนาคาร 3,000,000 - กูเ้ งินจากธนาคาร เป็ นระยะเวลา 3 ปี โดยผ่อนชาระ เงินต้นพร้อมดอกเบี้ย 3 งวดทุกวันที่ 1 มิถุนายนของปี ธ.ค. 31 ้ื เงินกูยมธนาคาร 1,000,000 ้ื เงินกูยมธนาคารครบกาหนดชาระปี หน้า 1,000,000 โอนส่วนของหนี้สินระยะยาว ที่ครบกาหนดชาระใน วันที่ 1 มิถุนายน ปี หน้า เป็ นหนี้สินหมุนเวียน หนีสินทีอาจเกิดขึน ้ ่ ้ หนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น เป็ นภาระผูกพันที่อาจจะกลายมาเป็ นหนี้สินได้ในอนาคตขึ้นอยูกบ ่ ั เหตุการณ์บางอย่างที่จะเกิดขึ้นในภายหน้า ตัวอย่าง เช่น การนาตัวเงินรับไปขายลดให้แก่ธนาคาร ๋ หรื อสถาบันการเงินอื่นๆ โดยผูขายลดตัวต้องสลักหลังตัวเงินฉบับนั้นด้วย เพื่อแสดงถึงภาระผูกพัน ้ ๋ ๋ ในกรณี ที่ธนาคารหรื อสถาบันการเงิน ไม่สามารถเรี ยกเก็บเงินจากตัวเงินรับได้ กิจการจะต้อง ๋ รับผิดชอบใช้เงินจานวนนั้นแทนพร้อมดอกเบี้ย จึงถือว่ากิจการมีภาระหนี้สินที่อาจเกิดหรื อไม่เกิดก็ ได้ นอกจากนี้ยงมีหนี้สินอันเกิดจากกิจการเป็ นจาเลยในคดีถูกฟ้ องร้องเรี ยกค่าเสี ยหาย ถ้ากิจการแพ้ ั คดีก็จะต้องชดใช้ค่าเสี ยหายจึงมีหนี้สินเกิดขึ้น แต่ถาชนะคดีก็ไม่ตองชดใช้ค่าเสี ยหายจึงไม่มีหนี้สิน ้ ้ เกิดขึ้น ดังนั้นกิจการจะบันทึกหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นเป็ นบัญชีหนี้สิน ก็ต่อเมื่อต้องเข้าเงื่อนไข 2 ข้อ ่ คือ หนี้สินมีโอกาสที่จะเกิดขึ้นเป็ นไปได้คอนข้างมาก และสามารถประมาณจานวนเงินได้อย่าง สมเหตุสมผล ซึ่ งหากไม่เข้าเงื่อนไขดังกล่าว กิจการจะเปิ ดเผยข้อมูลหนี้สินที่อาจเกิดขึ้นไว้ในหมาย เหตุประกอบงบการเงิน หนีสินโดยประมาณ ้ หนี้สินโดยประมาณ เป็ นภาระหนี้สินที่เกิดขึ้นแล้ว แต่ยงไม่ทราบจานวนเงินและกาหนด ั ระยะเวลาที่ตองชาระอย่างแน่นอน จึงต้องใช้ขอมูลที่เกิดขึ้นแล้วในอดีตมาช่วยในการประมาณ ้ ้ จานวนเงินที่ตองชาระตามข้อผูกพัน เช่น ภาษีเงินได้คางจ่าย หนี้ค่าสมนาคุณโดยประมาณ ้ ้ ค่ารับประกันสิ นค้าโดยประมาณ บัตรของขวัญหรื อบัตรกานัล เป็ นต้น 1. ภาษีเงินได้คางจ่าย ้
  • 12. 184 การดาเนิ นธุ รกิจในรู ปบริ ษทและห้างหุ นส่ วน จะต้องคานวณการเสี ยภาษีเงินได้นิติ ั ้ บุคคลในรอบระยะเวลาบัญชี จากกาไรสุ ทธิ เพื่อจ่ายภาษีให้รัฐบาล จานวนภาษีที่คานวณขึ้นมาจาก กาไรสุ ทธิ น้ ี อาจมีความแตกต่างจากการคานวณภาษีที่กาหนดไว้ในประมวลรัษฎากร เนื่องจากอาจ มีรายได้และค่าใช้จ่ายบางรายการ ที่สรรพากรไม่ยอมให้นามาเป็ นรายได้ หรื อค่าใช้จ่ายในงวดบัญชี นั้น จึงต้องอาจมีการปรับเปลี่ยนจานวนภาษีที่กิจการคานวณไว้ใหม่ ดังนั้น ในการบันทึกภาษีเงินได้ ค้างจ่ายในวันสิ้ นงวดบัญชี โดย เดบิต บัญชีค่าภาษีเงินได้ เครดิต บัญชีค่าภาษีเงินได้คางจ่าย ถือเป็ น ้ การประมาณหนี้ค่าภาษีเงินได้ ตัวอย่างที่ 6 บริ ษท รุ่ งเรื อง จากัด มีกาไรสุ ทธิ ในปี 2546 จานวน 150,000 บาท ค่าภาษีเงินได้ ั 30% การบันทึกบัญชี ในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้ ่ 2546 ธ.ค. 31 ค่าภาษีเงินได้ 45,000 - ค่าภาษีเงินได้คางจ่าย ้ 45,000 - บันทึกภาษีเงินได้คางจ่าย 30% ของกาไรสุ ทธิ ้ ต่อมาวันที่ 31 มีนาคม 2547 บริ ษทนาภาษีไปจ่ายให้กรมสรรพากร ปรากฏว่าจะต้องเสี ย ั ภาษี จานวนทั้งสิ้ น 47,500 บาท จะบันทึกบัญชี ดังนี้ 2547 มี.ค.31 ค่าภาษีเงินได้คางจ่าย ้ 45,000 - กาไรสะสม 2,500 เงินสด 47,500 - จ่ายชาระค่าภาษีเงินได้ให้กรมสรรพากร 2. หนี้ค่าสมนาคุณโดยประมาณ กิจการอาจมีการดาเนินนโยบายส่ งเสริ มการขายโดยการให้ของแถมเมื่อมีการซื้ อสิ นค้า การให้ลูกค้าที่นาชิ้นส่ วนของสิ นค้ามาแลกของสมนาคุณ และการให้ลูกค้านาชิ้นส่ วนของสิ นค้า พร้อมจานวนเงินมาแลกของสมนาคุณ ซึ่ งจะกาหนดระยะเวลาการให้ของแถมและการให้แลกไว้ ่ ถ้าระยะเวลาที่หมดเขตไม่ได้อยูในรอบระยะเวลาบัญชีปัจจุบนที่มีการขายสิ นค้า แต่เป็ นของงวด ั
  • 13. 185 บัญชีถดไป ในวันสิ้ นงวดบัญชีกิจการจะต้องประมาณการหนี้ค่าสมนาคุณ เพื่อประมาณค่าใช้จ่าย ั ของสมนาคุณ ให้งบการเงินถูกต้องตามหลักการจบคู่ค่าใช้จ่ายกับรายได้ โดยบันทึกบัญชี เดบิตบัญชีค่าใช้จ่ายของสมนาคุณ และ เครดิตบัญชี หนี้ค่าของสมนาคุณโดยประมาณ ตัวอย่ างที่ 7 บริ ษท รุ่ งเรื อง จากัด กาหนดให้ลูกค้าที่ซ้ื อสิ นค้านาฝากล่องสิ นค้า 2 ฝา มาแลก ั ผ้าเช็ดหน้า 1 ผืน ตั้งแต่วนที่ 1 มิถุนายน 2546 ถึงวันที่ 28 กุมภาพันธ์ 2547 ซึ่งในปี 2546 บริ ษทมี ั ั ยอดขายสิ นค้า จานวน 10,000 กล่อง ราคากล่องละ 100 บาท ประมาณว่าลูกค้า 80% มาแลกของ สมนาคุณและในปี 2546 นี้ มีลูกค้านาฝากล่องมาแลกผ้าเช็คหน้าแล้ว จานวน 2,800 ผืน ต้นทุน ผ้าเช็ดหน้าผืนละ 10 บาท การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้ ่ 2546 เงินสด 1,000,000 - ขายสิ นค้า 1,000,000 - บันทึกยอดขายสิ นค้า 10,000 กล่อง ค่าใช้จ่ายของสมนาคุณ 28,000 - ของสมนาคุณ (ผ้าเช็ดหน้า) 28,000 - ลูกค้านาฝากล่องสิ นค้ามาแลกผ้าเช็ดหน้า 2,800 ผืน ราคาผืนละ 10 บาท ธ.ค. 31 ค่าใช้จ่ายของสมนาคุณ 12,000 - หนี้ค่าของสมนาคุณโดยประมาณ 12,000 - บันทึกการประมาณการหนี้ค่าสมนาคุณลูกค้า คานวณ : ประมาณลูกค้านาฝากล่องมาแลก 80% x 10,000 = 8,000 คิดเป็ นจานวนผ้าเช็ดหน้าที่จะถูกแลก 8,000 / 2 = 4,000 ผืน ระหว่างปี 2546 ลูกค้ามาแลกผ้าเช็ดหน้า 2,800 ผืน คงเหลือคาดว่าจะนามาแลกอีก 1,200 ผืน เป็ นเงิน 1,200 x 10 = 12,000 บาท
  • 14. 186 3. ค่ารับประกันสิ นค้าโดยประมาณ กิจการที่ขายสิ นค้า และให้คามันสัญญาในการรับประกันคุณภาพสิ นค้า โดยจะซ่อม ่ หรื อทดแทนส่ วนที่ชารุ ดเสี ยหายของสิ นค้าให้ภายในระยะเวลาที่กาหนดฟรี โดยไม่คิดมูลค่าแต่ อย่างใด ซึ่ งถือเป็ นบริ การหลังการขายที่จดให้ลูกค้า เช่น กิจการขายเครื่ องคอมพิวเตอร์ รถยนต์ ั เครื่ องใช้ไฟฟ้ า เป็ นต้น ในกรณี ที่ค่าใช้จ่ายในการรับประกันคุณภาพสิ นค้าอยูในรอบระยะเวลาบัญชี ่ ปั จจุบนที่มีการขายสิ นค้าก็จะไม่มีปัญหาอะไร แต่ถาในวันสิ้ นงวดบัญชีกิจการมีสินค้าที่ขายยังไม่ ั ้ หมดระยะเวลารับประกัน จะทาให้ตองมีค่าใช้จ่ายส่ วนหนึ่งเกิดขึ้นในงวดบัญชีถดไป ดังนั้นกิจการ ้ ั จะต้องประมาณการหนี้ค่ารับประกันคุณภาพสิ นค้า เพื่อประมาณค่าใช้จ่ายที่อาจเกิดขึ้นจากการ รับประกันมาบันทึกเป็ นค่าใช้จ่ายในงวดนี้ให้ถูกต้อง โดยบันทึกบัญชี เดบิตบัญชีค่าใช้จ่ายในการ รับประกันคุณภาพและเครดิตบัญชีค่ารับประกันคุณภาพโดยประมาณ ตัวอย่างที่ 8 ในปี 2547 บริ ษท รุ่ งโรจน์ จากัด ขายเครื่ องใช้ไฟฟ้ า 800,000 บาท โดยมีสัญญา ั ่ รับประกันซ่อมฟรี ภายในระยะเวลา 1 ปี จากประสบการณ์ที่ผานมาในอดีตกิจการประมาณว่าจะมี ค่าใช้จ่ายในการซ่อม 5% ของยอดขาย ซึ่ งในปี นี้มีค่าใช้จ่ายในการซ่อมเกิดขึ้นแล้ว 10,000 บาท การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้ ่ 2547 เงินสด 800,000 - ขายสิ นค้า 800,000 - บันทึกยอดขายสิ นค้า ค่าใช้จ่ายในการรับประกันคุณภาพ 10,000 - เงินสด 10,000 - จ่ายเงินค่าซ่อมสิ นค้าที่รับประกัน ธ.ค. 31 ค่าใช้จ่ายในการรับประกันคุณภาพ 30,000 - หนี้ค่ารับประกันคุณภาพโดยประมาณ 30,000 - ประมาณหนี้ค่ารับประกันคุณภาพ 5% ของยอดขาย คานวณ : ประมาณค่าซ่อม 5% x 800,00 = 40,000บาท ลูกค้านามาให้ซ่อมแล้ว = 10,000บาท คงเหลือหนี้ค่ารับประกันโดยประมาณ = 30,000 บาท
  • 15. 187 4. บัตรของขวัญหรื อบัตรกานัล ห้างสรรพสิ นค้าที่มีการจาหน่ายบัตรของขวัญหรื อบัตรกานัลแก่ลูกค้า เพื่อให้ลูกค้าซื้ อไป เป็ นของขวัญในโอกาสต่างๆ ซึ่ งผูที่ได้รับบัตรของขวัญสามารถนาบัตรไปเลือกซื้ อสิ นค้า ได้ตาม ้ ความต้องการ เมื่อขายบัตรของขวัญให้แก่ลูกค้าไปแล้วกิจการถือว่ามีหนี้สินเกิดขึ้นที่จะต้องชดใช้ เป็ นสิ นค้าตามจานวนเงินในบัตรของขวัญ ดังนั้น ในวันสิ้ นงวดบัญชี หากมีผได้รับบัตรของขวัญ ู้ บางรายยังไม่ได้นาบัตรมาแลกสิ นค้า จะถือว่าบัตรของขวัญที่ยงไม่ได้นามาแลกสิ นค้าเป็ นหนี้สิน ั หมุนเวียนของกิจการ เนื่องจากบัตรของขวัญ จะมีกาหนดระยะเวลาที่นาไปแลกสิ นค้า และถ้าบัตรหมดอายุโดยที่ ยังไม่ได้แลก ให้โอนจานวนเงินของบัตรที่หมดอายุไปเป็ นรายได้อื่นๆ ตัวอย่างที่ 9 ในปี 2546 ห้างสรรพสิ นค้าโรบินฮูท ได้จาหน่ายบัตรกานัล เพื่อให้ลูกค้านามา แลกสิ นค้า เป็ นจานวน 200,000 บาท และในปี นี้ลูกค้านามาแลกสิ นค้าแล้ว 170,000 บาท บัตร หมดอายุในวันสิ้ นเดือน เมษายน 2547 มีลูกค้ายังไม่นามาแลกสิ นค้า จานวน 3,000 บาท การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้ ่ 2546 เงินสด 200,000 - หนี้สินจากการขายบัตรกานัล 200,000 - ขายบัตรกานัลให้ลูกค้า หนี้สินจากการขายบัตรกานัล 170,000 - ขายสิ นค้า 170,000 - ลูกค้านาบัตรกานัลมาแลกสิ นค้า 2547 เม.ย.30 หนี้สินจากการขายบัตรกานัล 27,000 - ขายสิ นค้า 27,000 - ลูกค้านาบัตรกานัลมาแลกสิ นค้า หนี้สินจาการขายบัตรกานัล 3,000 - รายได้อื่น ๆ 3,000 - โอนบัตรกานัลจานวน 3,000 บาท ที่ลูกค้าไม่นามาแลก สิ นค้าเป็ นรายได้อื่นๆ
  • 16. 188 หนีสินระยะยาว ้ หนี้สินระยะยาว หมายถึง หนี้สินที่กิจการมีภาระผูกพันต้องชาระคืนเกินกว่าหนึ่งรอบ ้ื ระยะเวลาการดาเนินงานหรื อเกินกว่าหนึ่งปี ตัวอย่างรายการหนี้สินระยะยาวได้แก่เงินกูยมระยะยาว การออกหุ นกู้ ตัวเงินจ่ายระยะยาว เจ้าหนี้กรรมการและลูกจ้าง หนี้สินตามสัญญาเช่าระยะยาว ้ ๋ เงินมัดจาและเงินค่าประกันสิ นค้า เป็ นต้น ซึ่ งชื่อบัญชีที่ใช้และการบันทึกบัญชีของหนี้สินระยะยาว จะคล้ายกับหนี้สินหมุนเวียน แต่จะมีหนี้สินระยะยาวที่แตกต่างไปจากหนี้สินหมุนเวียน คือ หุ นกู้ ้ (bonds payable) ที่มีลกษณะการเกิดขึ้นของรายการเหมือนกับหุ นทุน ั ้ หุ นกู้ เป็ นการจัดหาเงินทุนมาใช้ในการดาเนินงานอีกวิธีหนึ่ง นอกจากการจัดหาเงินทุน ้ โดยใช้หุนทุน ตามพระราชบัญญัติบริ ษทมหาชน จากัด พ.ศ. 2535 มาตรา 145 ได้ให้ความหมายไว้ ้ ั ว่า หุ นกู้ หมายถึง การกูเ้ งินของบริ ษทโดยการออกหุ ้นกูเ้ พื่อเสนอขายต่อประชาชน โดยที่แบ่งหุ นกู้ ้ ั ้ เป็ นจานวนเงินออกเป็ นหุ นๆละเท่าๆกัน มีกาหนดการจ่ายดอกเบี้ยและกาหนด ้ ้ ้ ้ ระยะเวลาไถ่ถอนราคาหุ นกูตองไม่ต่ากว่าหุ นละ 100 บาท โดยชาระค่าหุ นเป็ นเงินสดเท่านั้นและผู ้ ้ ้ ั ซื้ อจะขอหักกลบลบหนี้กบบริ ษทไม่ได้ ั ราคาจาหน่ายหุ นกู้ หุ นกูแต่ละฉบับจะมีมูลค่าเท่ากัน และมีราคาที่ระบุไว้บนใบหุ ้น เรี ยกว่า ้ ้ ้ ้ ้ ราคาตามมูลค่า (par value) ซึ่ งอาจจาหน่ายหุ นกูในราคาเท่ากับราคาตามมูลค่า สู งกว่าราคาตาม ่ ั ้ ้ มูลค่าหรื อต่ากว่าราคาตามมูลค่าก็ได้ ขึ้นอยูกบอัตราดอกเบี้ยที่หุนกูจะจ่าย เมื่อเปรี ยบเทียบกับอัตรา ดอกเบี้ยในท้องตลาด ณ วันที่จาหน่าย กล่าวคือ ถ้าหุ นกูจ่ายดอกเบี้ยเท่ากับอัตราดอกเบี้ยใน ้ ้ ท้องตลาดขณะนั้น ราคาจาหน่ายหุ นกูก็จะเท่ากับราคาตามมูลค่า ถ้าหุ นกูจ่ายดอกเบี้ยในอัตราที่สูง ้ ้ ้ ้ กว่าอัตราดอกเบี้ยในท้องตลาด ราคาจาหน่ายหุ นกูก็จะสู งกว่าราคาตามมูลค่า และถ้าหุ นกูจ่าย ้ ้ ้ ้ ดอกเบี้ยในอัตราที่ต่ากว่าอัตราดอกเบี้ยในท้องตลาด ราคาจาหน่ายหุ นกูก็จะต่ากว่าราคาตามมูลค่า ้ ้ ้ ดังนั้น ในกรณี ที่จาหน่ายหุ ้นกูในราคาสู งกว่าหรื อต่ากว่ามูลค่า จะเกิดผลต่างขึ้น ระหว่างราคา จาหน่ายหุ นกู้ กับราคาตามมูลค่า ให้บนทึกไว้ บัญชีส่วนเกินมูลค่าหุ นกู้ หรื อส่ วนลดมูลค่าหุ นกู้ ซึ่ ง ้ ั ้ ้ ถือเป็ นบัญชีปรับมูลค่าของหุ ้นกู้ และ ณ วันสิ้ นงวดบัญชีจะต้องปรับปรุ งตัดบัญชี ส่วนเกินหรื อ ส่ วนลดมูลค่าหุ นกูน้ ี ไปยังบัญชีดอกเบี้ยจ่ายตลอดอายุของหุ นกู้ นับจากวันที่ออกหุ ้นกูจนถึงวันที่ ้ ้ ้ ้ ้ ้ หุ นกูครบกาหนด เพื่อให้บญชีดอกเบี้ยจ่ายเหลือยอดที่ถูกต้องตามอัตราดอกเบี้ยที่แท้จริ ง ั ั ้ ้ ตัวอย่างที่ 10 บริ ษท รวมจิตร มหาชน จากัด ออกหุ นกูมูลค่าหุ นละ 500 บาท จานวน 20,000 หุ ้น ้ อายุ 5 ปี อัตราดอกเบี้ย 12% กาหนดจ่ายดอกเบี้ยในวันที่ 1 เมษายน และ 1 ตุลาคม บริ ษทจาหน่าย ั ้ ้ หุ นกูออกไปเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2543 จานวน 15,000 หุน ในราคา 108 บาท ้ การบันทึกบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ดังนี้ ่
  • 17. 189 2543 เม.ย. 1 เงินสด 8,100,000 - หุ นกู้ ้ 7,500,000 - ส่ วนเกินมูลค่าหุ นกู้ ้ 600,000 จาหน่ายหุ นกู้ อายุ 5 ปี จานวน 15,000 หุน ้ ้ - มูลค่าหุ นละ 500 บาท อัตราดอกเบี้ย 12% ใน ้ ราคา 108 บาท ต.ค. 1 ดอกเบี้ยจ่าย 450,000 - เงินสด 450,000 ้ ้ ้ จ่ายดอกเบี้ยหุ นกูคางจ่ายจานวน 3 เดือน ธ.ค.31 ดอกเบี้ยจ่าย 225,000 - ดอกเบี้ยค้างจ่าย 225,000 - ้ ้ ปรับปรุ งดอกเบี้ยหุ ้นกูคางจ่าย จานวน 3 เดือน ส่ วนเกินมูลค่าหุ นกู้ ้ 90,000 - ดอกเบี้ยจ่าย 90,000 - ตัดส่ วนเกินมูลค่าหุ นกู้ (600,000 x 9) ้ 60 ณ วันสิ้ นงวดบัญชี บริ ษทจะทาการการปรับปรุ งบัญชีดอกเบี้ยค้างจ่าย และตัดบัญชี ั ส่ วนเกินหรื อส่ วนลดมูลค่าหุ ้นกู้ ตามวิธีเส้นตรง ซึ่ งจะทาให้จานวนส่ วนเกินหรื อส่ วนลดมูลค่าหุ นกู้ ้ ที่ถูกตัดจะเท่าๆ กันทุกปี ตลอดอายุของหุ ้นกู้ โดยเมื่อครบกาหนดไถ่ถอนหุ นกู้ ส่ วนเกินหรื อส่ วนลด ้ มูลค่าหุ นกูน้ ีก็จะหมดไป ้ ้ จากตัวอย่างที่ 10 หุ นกูเ้ ริ่ มจาหน่ายวันที่ 1 เมษายน 2543 มีจานวนส่ วนเกินมูลค่าหุ นกู้ ้ ้ 600,000 บาท จะถูกตัดบัญชี ไปลดดอกเบี้ยจ่าย ในปี 2543 เท่ากับ 9 เดือน (1 เมษายน – 31 ธันวาคม 2543) คิดเป็ นเงิน 90,000 บาท (600,000 x 9) ปี 2544, 2545, 2546, 2547 จะถูกตัดบัญชีเต็มปี คิด 60 เป็ นเงินปี ละ 120,000 บาท และปี 2548 เหลือ 3 เดือน คิดเป็ นเงิน 30,000 บาท
  • 18. 190 ตัวอย่างที่ 11 จากข้อมูลตัวอย่างที่ 10 ถ้าเปลี่ยนมาเป็ น บริ ษทจาหน่ายหุ น จานวน 15,000 หุน ั ้ ้ ในราคา 95 บาท การบันทึกบัญชีสมุดรายวันทัวไป ดังนี้ ่ 2543 เม.ย. 1 เงินสด 7,125,000 - ส่ วนลดมูลค่าหุ นกู้ ้ 375,000 - หุ นกู้ ้ 7,500,000 - จาหน่ายหุ นกู้ อายุ 5 ปี จานวน 15,000 หุน ้ ้ มูลค่าหุ นละ 500 บาท อัตราดอกเบี้ย 12% ใน ้ ราคา 95 บาท ต.ค. 1 ดอกเบี้ยจ่าย 450,000 - เงินสด 450,000 - ้ ้ ้ จ่ายดอกเบี้ยหุ นกูคางจ่ายจานวน 6 เดือน ดอกเบี้ยจ่าย 225,000 - ดอกเบี้ยค้างจ่าย 225,000 - ้ ้ ปรับปรุ งดอกเบี้ยหุ ้นกูคางจ่าย จานวน 3 เดือน ธ.ค. 31 ดอกเบี้ยจ่าย 56,250 - ส่ วนลดมูลค่าหุ นกู้ ้ 56,250 - ตัดส่ วนลดมูลค่าหุ นกู้ (375,000 x 9) ้ 60 ส่ วนลดมูลค่าหุ นกู้ จานวน 375,000 บาท จะถูกตัดบัญชีไปเพิ่มดอกเบี้ยจ่าย ในปี 2543 ้ เท่ากับ 9 เดือน คิดเป็ นเงิน 56,250 บาท ปี 2544, 2545, 2546, 2547 จะถูกตัดปี ละ 75,000 บาท และปี 2548 จานวน 2 เดือน คิดเป็ นเงิน 18,750 บาท บัญชีส่วนเกินหรื อส่ วนลดมูลค่าหุ นกู้ เป็ นบัญชีปรับมูลค่า แสดงในงบดุลโดยบัญชี ส่วน ้ เกินมูลค่าหุ นกูจะนาไปบวกกับบัญชีหุนกู้ ส่ วนบัญชีส่วนลดมูลค่าหุ นกูจะนาไปหักบัญชีหุนกู้ เพื่อ ้ ้ ้ ้ ้ ้ ้ ้ ให้หุนกูแสดงมูลค่าสุ ทธิ ท่ีแท้จริ ง
  • 19. 191 ระบบใบสาคัญจ่ าย ระบบใบสาคัญจ่ายเป็ นส่ วนหนึ่งของการควบคุมภายใน สาหรับการจ่ายเงินสดที่มีการ อนุมติการจ่ายเงิน ไม่วาจะเป็ นการจ่ายสาหรับการซื้ อสิ นค้า ซื้ อสิ นทรัพย์ ค่าใช้จ่ายต่างๆ และจ่าย ั ่ ชาระหนี้ตามระบบใบสาคัญจ่าย จะถือว่ารายจ่ายทุกรายการให้ต้ งเป็ นหนี้สินไว้ก่อน แล้วจึงนามา ั ลงบันทึกในสมุดทะเบียนใบสาคัญจ่าย (voucher register) และผ่านรายการไปยังบัญชี แยกประเภท ใบสาคัญจ่าย และบัญชีที่เกี่ยวข้อง เมื่อถึงกาหนดก็จะจ่ายเป็ นเช็คทุกรายการ ยกเว้น เงินสดย่อยของ กิจการซึ่ งรายการที่เกิดขึ้นแต่ละรายการจะต้องมีระบบการตรวจสอบหลักฐานการจ่ายเงินที่สามารถ พิสูจน์ได้ตามขั้นตอนที่ได้กาหนดไว้และกาหนดหน้าที่ของแต่ละบุคคลที่เกี่ยวข้องกับการจ่ายเงิน ให้เหมาะสม เช่น ในการสั่งซื้ อสิ นค้า แผนกซื้ อมีหน้าที่สั่งซื้ อ และก่อนจะมีการจ่ายเงินค่าสิ นค้า จะต้องเทียบใบตรวจรับสิ นค้ากับใบกากับสิ นค้าที่ผขายส่ งมาให้เสี ยก่อน เป็ นต้น ู้ วิธีการดาเนินงานเกียวกับระบบใบสาคัญจ่ าย ่ วิธีการดาเนิ นงานเกี่ยวกับระบบใบสาคัญจ่าย เป็ นการกาหนดการจัดทาใบสาคัญจ่ายตั้งแต่ เริ่ มต้นจนกระทังชาระหนี้สินที่เกิดขึ้นแล้ว ซึ่ งมีข้ นตอน ดังนี้ ่ ั 1. การจัดทาใบสาคัญจ่าย การจัดทาระบบใบสาคัญจ่ายเริ่ มจากการกาหนดแบบฟอร์ มใบสาคัญจ่ายซึ่ งอาจแตกต่าง กันไปตามความเหมาะสมของแต่ละกิจการ จุดเริ่ มต้นของระบบใบสาคัญจ่ายเกิดขึ้น เมื่อแผนกที่ ต้องการสิ นค้าหรื อสิ่ งของต่างๆ จะส่ งใบขอซื้ อที่ได้รับอนุมติแล้ว ไปให้แผนกจัดซื้ อเพื่อดาเนิ นการ ั จัดซื้ อให้ แผนกจัดซื้ อจะทาใบสั่งซื้ อไปให้ผขายเพื่อเป็ นการสั่งซื้ อและส่ งเอกสารตั้งแต่ใบขอซื้ อ ู้ ใบสั่งซื้ อ ใบกากับสิ นค้า ไปยังแผนกบัญชี ในขณะที่แผนกอื่นๆ ได้แก่ แผนกตรวจรับของ จัดทา ใบตรวจรับของส่ งไปยังแผนกบัญชี ดังนั้นแผนกบัญชีจะเป็ นผูรวบรวมหลักฐานต่างๆ ทั้งหมดมา ้ ตรวจสอบความถูกต้องตรงกันแล้ว ก็จดทาใบสาคัญจ่ายเพื่อขออนุมติจ่ายรายการซื้ อครั้งนี้ โดยแนบ ั ั เอกสารที่ได้รับไปพร้อมกับใบสาคัญจ่ายเพื่อให้ผมีอานาจอนุมติจ่าย ู้ ั ใบสาคัญจ่าย ที่แผนกบัญชีจดทาขึ้นหนึ่งฉบับต่อรายการจ่ายเงินหนึ่งรายการ ควรมีรายการ ั ที่สาคัญ ดังนี้ 1.1 เลขที่ใบสาคัญจ่าย แสดงถึงลาดับที่ของใบสาคัญ โดยปกติจะให้เลขที่เรี ยงลาดับไป ตลอดทั้งปี แต่ถาใบสาคัญจ่ายมีมาก อาจให้เลขที่โดยแบ่งเป็ นเดือนก่อน แล้วจึงตามด้วยลาดับที่ของ ้ ใบสาคัญ เช่น ใบสาคัญจ่ายเลขที่ 1-15 หมายความว่า ใบสาคัญจ่ายทาในเดือนมกราคม ลาดับที่ 15 1.2 วันที่บนทึก ซึ่ งเป็ นวัน เดือน ปี ที่ทาใบสาคัญจ่าย ั ่ ู้ 1.3 ชื่อที่อยูผรับเงิน และวันครบกาหนดจ่ายเงิน
  • 20. 192 1.4 รายการ เงื่อนไข การชาระเงิน ในใบกากับสิ นค้า 1.5 ชื่อบัญชีที่เดบิต และเครดิต พร้อมจานวนเงิน 1.6 รายการจ่ายเงิน จานวนเงินที่จ่าย วันที่ เลขที่เช็คที่จ่าย 1.7 ลงมือชื่อผูจดทาใบสาคัญจ่าย ผูตรวจสอบและผูอนุมติจ่าย ้ั ้ ้ ั ตัวอย่างใบสาคัญจ่ายแสดงได้ ดังภาพที่ 5.1 และ 5.2 ด้านหน้าใบสาคัญจ่ายเงิน ใบสาคัญจ่าย บริ ษท........................... ั ที่อยู.่ .................................................. เลขที่.............................. วันที่.............................. ผูรับเงิน......................................... ้ ที่อยู.่ ............................................. วันครบกาหนดชาระเงิน........................ รายการและรายละเอียดการจ่ายเงิน วันที่ เลขที่ใบกากับสิ นค้า เงื่อนไข คาอธิบาย จานวนเงิน .............................................. ............................................... ........................................... ผูจดทา ้ั ผูตรวจสอบ ้ ผูอนุมติ ้ ั ภาพที่ 5.1 แสดงตัวอย่างลักษณะแบบฟอร์ มใบสาคัญจ่ าย (ด้ านหน้ า)