SlideShare a Scribd company logo
สาขาวิชา : การบัญชี
ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006
หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
แผนภูมิปะการัง
หน้าที่
9แผ่นที่ : 1
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
ความหมายของการบัญชี ประวัติของการบัญชี
แม่บทการบัญชี
พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543
วัตถุประสงค์ของการบัญชี
ประโยชน์ของข้อมูลการบัญชี
วงจรบัญชี
ผังบัญชี
สาขาวิชา : การบัญชี
ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006
หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
ใบรายการหัวข้อเรื่อง หน้าที่
10
แผ่นที่ : 1
หัวข้อหลัก หัวข้อย่อย
ความหมายของการบัญชี ความหมายจากสมาคมนักบัญชีสหรัฐอเมริกา
ความหมายจากสมาคมนักบัญชีฯประเทศไทย
ประวัติของการบัญชี การจดบันทึกทางการบัญชี
การบัญชีในประเทศไทย
วัตถุประสงค์ของการบัญชี วัตถุประสงค์ของการบัญชี
ประโยชน์ของข้อมูลการบัญชี ประโยชน์ของข้อมูลการบัญชีต่อบุคคลภายนอก
ประโยชน์ของข้อมูลการบัญชีต่อบุคคลภายในกิจการ
แม่บทการบัญชี วัตถุประสงค์และสถานภาพ
ขอบเขต
ผู้ใช้งบการเงินและความต้องการข้อมูล
วัตถุประสงค์ของงบการเงิน
ข้อสมมุติ
พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 หมวด 1 บททั่วไป
หมวด 2 ผู้มีหน้าที่จัดทําบัญชี
หมวด 3 ผู้ทําบัญชี
หมวด 4 การตรวจสอบ
หมวด 5 บทกําหนดโทษ
บทเฉพาะกาล
วงจรบัญชี รายการบัญชี
สมุดบัญชี
การสรุปผลและรายงานทางการเงิน
ผังบัญชี บัญชี 5 หมวด
สาขาวิชา : การบัญชี
ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006
หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
ใบวัตถุประสงค์ทฤษฎี หน้าที่
11
แผ่นที่ : 1
หลังจากจบบทเรียนนี้แล้ว นักศึกษาสามารถที่จะ….
1. บอกความหมายของการบัญชี ได้ถูกต้อง
2. อธิบายประวัติของการบัญชีได้ถูกต้อง
3. อธิบายวัตถุประสงค์และประโยชน์ของข้อมูลการบัญชีได้
4. อธิบายแม่บทการบัญชีได้
5. อธิบายพระราชบัญญํติการบัญชี พ.ศ. 2543 ได้ถูกต้อง
6. อธิบายวงจรบัญชีได้ถูกต้อง
7. อธิบายความหมายของผังบัญชีได้ถูกต้อง
สาขาวิชา : การบัญชี
ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006
หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
ใบเนื้อหา หน้าที่
12
แผ่นที่ : 1
วิชา การบัญชีการเงิน
(3200-1006) จํานวน 3 หน่วยกิต
ผู้สอน
ครูโนรีย์ ทรัพย์โสภณ
บช.บ. (บัญชีบัณฑิต)
จุดประสงค์รายวิชา
1 มีความรู้ความเข้าใจแม่บทการบัญชี และ พ.ร.บ. การบัญชี
2 มีทักษะในการบันทึกบัญชีตามวงจรบัญชีของกิจการในการบริการและ
พาณิชยกรรม
3 มีทักษะในการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์หมุนเวียน ที่ดิน อาคาร
และอุปกรณ์ หนี้สินหมุนเวียนและส่วนของเจ้าของ
4 มีทักษะในการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับกิจการอุตสาหกรรม และระบบ
ใบสําคัญ
5 รู้ถึงคุณค่าของการนําข้อมูลทางการบัญชีไปใช้ในธุรกิจ
มาตรฐานรายวิชา
1 บันทึกบัญชีและทํางบการเงินสําหรับกิจการให้บริการ พาณิชยกรรม
และกิจการอุตสาหกรรม
2 บันทึกบัญชีเกี่ยวกับเงินสด ลูกหนี้ ตั๋วเงินรับ-จ่ายสินค้า ที่ดิน อาคาร
และอุปกรณ์ เจ้าหนี้การค้า ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย และส่วนของเจ้าของ
3 บันทึกบัญชีตามระบบใบสําคัญ
คําอธิบายรายวิชา
ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ แม่บทการบัญชี วิเคราะห์
รายการค้า บันทึกรายการในสมุดขั้นต้น บัญชีแยกประเภท ทํางบ
ทดลอง บันทึกรายการปรับปรุงและปิดบัญชี จัดทํางบการเงินของ
กิจการให้บริการ และซื้อขายสินค้า บันทึกบัญชีเกี่ยวกับเงินสด
ลูกหนี้ ตั๋วเงินรับ-จ่ายสินค้า ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เจ้าหนี้การค้า
ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย และส่วนของเจ้าของ การบัญชีอุตสาหกรรมและ
ระบบใบสําคัญ
การวัดผลประเมินผล
0 – 49 เกรด 0 50 - 54 เกรด 1
55 – 59 เกรด 1.5 60 - 64 เกรด 2
65 – 69 เกรด 2.5 70 - 74 เกรด 3
75 – 79 เกรด 3.5 80 - 100 เกรด 4
ทําอย่างไรได้คะแนน
80 : 20
สอบย่อย 50 ปลายภาค 30
มาเรียน 5 ส่งงาน 5
กิริยามารยาท 5 ความตังใจ 5
สาขาวิชา : การบัญชี
ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006
หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
ใบเนื้อหา หน้าที่
13
แผ่นที่ : 2
การบัญชี คือ ศิลปะของการรวบรวม บันทึก จําแนกเป็น
หมวดหมู่ และสรุปข้อมูลอันเกียวกับเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจในรูป
ตัวเงินแปลความหมายอย่างมีเหตุผลเพือประโยชน์นากรตัดสินใจ
การจดบันทึกทางการบัญชี เกิดขึนในสมัยบาบิโลเนียนและ
อียิปหรือเมืองประมาณ 5,000 ปีแล้ว ในช่วงแรกเป็นการจดบันทึกเป็น
ปริมาณต่อมาเปลียนแปลงไป นําเงินตรามาใช้แทนการแลกเปลียนมีการ
คิดค้นตัวเลขอารบิคแทนเลขโรมัน มีการลงทุนทีดําเนินธุรกิจเพือหวัง
ผลกําไร
1. เพือบันทึกรายการค้าอย่างเป็นระบบ ตามลําดับเหตุการณ์
2. เพือวัดผลดําเนินงานและแสดงฐานะการเงินของกิจการ
3. เพือใช้เป็นข้อมูลการวางแผน ควบคุมและตัดสินใจเกียวกับ
การดําเนินงานของกิจการในอนาคต
4. เพือให้เป็นไปตามข้อกําหนดกฎหมายเกียวกับการบัญชี
5. เพือใช้เป็นเครืองมือในการควบคุมขบวนการทํางานของ
พนักงานของกิจการ
6. เพือใช้เป็นข้อมูลแก่หน่วยงานของภาครัฐบาลในการจัดเก็บ
ภาษี และควบคุมการบริหารงานของกิจการ
7. เพือใช้เป็นข้อมูลแก่บุคคลทีสนใจ เช่น นักลงทุน สถาบัน
การเงินทีกิจการขอสินเชือ
ประโยชน์ของข้อมูลการบัญชีแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ
บุคคลภายนอกกิจการ
นักลงทุน เพือประกอบการตัดสินใจการลงทุนซือหุ้น
เจ้าหนี เพือให้สินเชือวิเคราะห์ความสามรถในการชําระหนีและ
จ่ายดอกเบียของกิจการ
ผู้สอบบัญชี เพือตรวจสอบว่ากิจการบันทึกบัญชีถูกต้องหรือไม่
หน่วยงานของรัฐบาล เพือเป็นข้อมูลการคํานวณและจัดเก็บ
ภาษีเงินได้
สถาบันการเงิน เพือพิจารณาให้กู้ยืม
สาธารณชน เพือพิจารณาผลกระทบต่อชุมชน
สาขาวิชา : การบัญชี
ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006
หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
ใบเนื้อหา หน้าที่
14
แผ่นที่ : 3
บุคคลภายในกิจการ
ฝ่ ายบริหาร เพือประกอบการวางแผน วิเคราะห์ ควบคุม
และตัดใจเกียวกับการดําเนินงานของกิจการ
ฝ่ ายพนักงาน เพือประกอบพิจารณาผลตอบแทนในการจ้าง
และความมันคงของกิจการ
บุคคลภายในกิจการ
ฝ่ ายบริหาร เพือประกอบการวางแผน วิเคราะห์ ควบคุม
และตัดใจเกียวกับการดําเนินงานของกิจการ
ฝ่ ายพนักงาน เพือประกอบพิจารณาผลตอบแทนในการจ้าง
และความมันคงของกิจการ
แม่บทการบัญชี
แม่บทการบัญชีกําหนดขึ้นโดยสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทยแทนข้อสมมติขั้น
มูลฐานของการบัญชี เพื่อวางแนวคิดที่เป็นพื้นฐานในการจัดทําและนําเสนองบการเงินแก่ผู้ใช้งบการเงินที่เป็น
บุคคลภายนอก
มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินีเรียกว่า "พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ.
๒๕๔๓"
มาตรา ๒ ใช้เมือพ้นกําหนด ๙๐วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจา
นุเบกษา
มาตรา ๓ ให้ยกเลิกคณะปฏิวัติ ฉบับที ๒๘๕ ลงวันที ๒๔ พฤศจิกายน
๒๕๑๕
มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี
“งบการเงิน” หมายถึง รายงานผลการดําเนินงาน ฐานะการเงิน การเงินของ
กิจการ
“มาตรฐานการบัญชี” หมายความว่า หลักการบัญชี
“ผู้มีหน้าทีจัดทําบัญชี” หมายความว่า ผู้มีหน้าทีจัดให้มีการทําบัญชี
สาขาวิชา : การบัญชี
ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006
หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
ใบเนื้อหา หน้าที่
15
แผ่นที่ : 4
“ผู้ทําบัญชี” หมายความว่า ผู้รับผิดชอบในการทําบัญชีของผู้มีหน้าทีจัดทํา
บัญชี
“สารวัตรใหญ่บัญชี” หมายความว่า อธิบดี
“สารวัตรบัญชี” หมายความว่า ผู้ซึงอธิบดีแต่งตังให้เป็นสารวัตรบัญชี
“อธิบดี” หมายความว่า อธิบดีกรมทะเบียนการค้า
“รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี
มาตรา ๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ตามพระราชบัญญัตินี ให้
มีอํานาจออกกฎกระทรวงเพือปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี
มาตรา ๖ กรมทะเบียนการค้า กระทรวงพาณิชย์ เป็นสํานักงานกลาง
บัญชี ให้อธิบดีมีอํานาจจัดตังสํานักงานบัญชี
มาตรา ๗ อธิบดีมีอํานาจในราชกิจจานุเบกษากําหนดในเรือง
ดังต่อไปนี
(๑) ชนิดของบัญชีทีต้องจัดทํา (๒) รายการทีต้องมีในบัญชี
(๓) ระยะเวลาในลงรายการในบัญชี (๔) เอกสารทีใช้ในการลงบัญชี
(๕) ยกเว้นให้ผู้ทําบัญชีไม่ต้องปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีในส่วนใด
ส่วนหนึง
(๖) คุณสมบัติและเงือนไขของการเป็นผู้ทําบัญชีตามพระราชบัญญัตินี
ในการประกาศข้อกําหนดตามวรรคหนึง ให้อธิบดีคํานึงถึงมาตรฐานการ
บัญชี
ข้อกําหนด (๕) (๖) ต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีด้วย
ข้อกําหนด (๑) (๒) (๓) (๔) หากเรืองนันมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติไว้
เป็นอย่างอืน เมือผู้มีหน้าทีจัดทําบัญชีปฏิบัติตามกฎหมายเฉพาะนันแล้ว ให้
ถือว่าได้จัดทําบัญชีโดยถูกต้องตามพระราชบัญญัตินีแล้ว
มาตรา ๘ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน บริษัทจํากัด บริษัทมหาชนจํากัด นิติ
บุคคล กิจการร่วมค้า จัดทําบัญชี และต้องจัดให้มีการทําบัญชีการประกอบ
ธุรกิจของตนโดยมีรายละเอียด หลักเกณฑ์และวิธีการตามทีบัญญัติ
มาตรา ๙ จัดทําบัญชีต้องจัดให้มีการทําบัญชีนับแต่วันเริมทําบัญชี
มาตรา ๑๐ จัดทําบัญชีต้องปิดบัญชีภายใน๑๒เดือนนับแต่วันเริมทําบัญชี
มาตรา ๑๑ ทําบัญชีห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน นิติบุคคลตามกฎหมายและ
กิจการร่วมค้าต้องทํางบการเงินและยืนงบการเงินต่อสํานักงานกลางบัญชี
ภายใน ๕เดือนนับแต่วันปิดบัญชี กรณีบริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชน
จํากัดให้ยืนภายใน๑ เดือนนับแต่วันทีงบการเงินนันได้รับอนุมัติ
มาตรา ๑๒ จัดทําบัญชีส่งมอบเอกสารใช้การลงบัญชีให้แก่ผู้ทําบัญชีให้
ครบถ้วน
มาตรา ๑๓ ผู้จัดทําบัญชีต้องเก็บเอกสารทีใช้การลงบัญชีไว้สถานทีทํา
การ หรือเว้นแต่ผู้จัดทําบัญชีได้รับอนุญาตจากสารวัตรใหญ่บัญชีให้เก็บ
เอกสาร ณ สถานทีอืน
มาตรา ๑๔ ผู้จัดทําบัญชีต้องเก็บเอกสารการลงบัญชีไม่น้อยกว่า๕ปีนับ
แต่วันปิดบัญชี
มาตรา ๑๕ ถ้าเอกสารทีใช้การลงบัญชีสูญหาย ให้ผู้จัดทําบัญชีแจ้ง
สารวัตรบัญชีตามหลักเกณฑ์และวิธีการทีอธิบดีกําหนดใน๑๕ วันนับแต่
วันทีทราบ
มาตรา ๑๖ กรณีสารวัตรบัญชีตรวจว่าเอกสารทีใช้การลงบัญชีสูญ
หายหรือมิได้เก็บไว้ในทีปลอดภัย ให้สันนิษฐานว่าผู้จัดทําบัญชีมี
เจตนาทําลาย
มาตรา ๑๗ เมือผู้จัดทําบัญชีเลิกประกอบธุรกิจโดยมิได้ชําระบัญชี
ให้ส่งมอบและเอกสารการลงบัญชีแก่สารวัตรบัญชีใน๙๐ วันและให้
สารวัตรบัญชีเก็บรักษาบัญชี
มาตรา ๑๘ งบการเงิน บัญชี และเอกสารทีสารวัตรบัญชีได้รับและ
เก็บรักษาไว้ตามม. ๑๑ ม. ๑๗ ผู้มีส่วนได้เสียอาจขอตรวจดูหรือขอ
ภาพถ่ายสําเนาได้โดยเสียค่าใช้จ่ายตามทีอธิบดีกําหนด
สาขาวิชา : การบัญชี
ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006
หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
ใบเนื้อหา หน้าที่
16
แผ่นที่ : 5
มาตรา ๑๙ ผู้จัดทําบัญชีต้องให้ผู้ทําบัญชีซึงมีคุณสมบัติตามที
อธิบดีกําหนดตามมาตรา ๗ (๖) เพือจัดทําบัญชีตามพระราชบัญญัติ
นี
มาตรา ๒๐ ผู้ทําบัญชีต้องจัดทําบัญชีเพือให้มีการแสดงผลการ
ดําเนินงาน ฐานะการเงินหรือการเปลียนแปลงฐานะการเงินโดยมี
เอกสารทีใช้การลงบัญชีให้ถูกต้อง
มาตรา ๒๑ การลงรายการในบัญชี ต้องปฏิบัติต่อไปนี
(๑) ลงรายการเป็นภาษาไทย หากลงรายการเป็นภาษาต่างประเทศ
ให้มีภาษาไทยกํากับ
(๒) เขียนด้วยหมึก ดีดพิมพ์ตีพิมพ์
มาตรา ๒๒ สารวัตรบัญชีมีหน้าทีตรวจสอบบัญชีให้เป็นไปตาม
พระราชบัญญัตินี
มาตรา ๒๓ การปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี สารวัตรบัญชีต้องแสดง
บัตรประจําตัวต่อผู้ทีเกียวข้อง
มาตรา ๒๔ การปฏิบัติพระราชบัญญัตินี ให้สารวัตรบัญชีมีอํานาจสัง
เป็นหนังสือ
มาตรา ๒๕ ห้ามมิให้ผู้ใดเปิดเผยข้อความใดๆ ทีได้มาเนืองจากการ
ปฏิบัติตามม. ๒๒ ม. ๒๔ เว้นแต่ผู้อํานาจทีจะทําได้โดยชอบด้วย
กฎหมาย
มาตรา ๒๖ การปฏิบัติหน้าที ให้สารวัตรบัญชีเป็นเจ้าพนักงานตาม
ประมวลกฎหมายอาญา
สาขาวิชา : การบัญชี
ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006
หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
ใบเนื้อหา หน้าที่
17
แผ่นที่ : 6
เมือดําเนินงานมาครบระยะเวลาหนึง กิจการจะมี
การสรุปผล เก็บรวบรวมข้อมูลจากสมุดแยกประเภททัวไป
มาจัดทํารายงานสรุป เรียกว่า งบทดลอง ซึงแบ่งออกได้
เป็น 3 งบตามลําดับขันตอนตอนในวงจรบัญชี
งบทดลอง (Trial Balance) งบทีจัดทําขึนด้วยการนํายอด
ดุลในบัญชีแยกประเภทต่าง ๆ ไม่ว่าจะอยู่ด้านเดบิต หรือ
เครดิตก็ตามมาคํานวณหายอดคงเหลือทังสองด้าน เพือ
พิสูจน์ความถูกต้องในการบันทึกบัญชีตามระบบบัญชีคู่
งบทดลองหลังรายการปรับปรุง (Adjusted Trial Balance) หลังจากบันทึก
รายการปรับปรุงในสมุดรายวันทัวไปและผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภททัวไป
ทีเกียวข้องแล้ว บัญชีทีมีผลกระทบจากรายการปรับปรุงจะมียอดคงเหลือที
เปลียนแปลงไป เพือเป็นการรวบรวมยอดคงเหลือของบัญชีแยกประเภททุก
บัญชีหลังรายการปรับปรุง จึงมีการจัดทํางบทดลองขึนอีกครัง
งบทดลองหลังปิดบัญชี (Trial Balance After Closing) หลังจากทีทําการปิด
บัญชีโดยบันทึกรายการปิดบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ผ่านรายการปิดบัญชีจาก
สมุดรายวันทัวไปไปยังสมุดบัญชีแยกประเภททัวไป และทําการปิดบัญชีต่าง ๆ
ในสมุดบัญชีแยกประเภททัวไปแล้วนัน ขันตอนสุดท้ายของการปิดบัญชีก็คือ
การจัดทํางบทดลองหลังการปิดบัญชีเพือจะพิสูจน์ความถูกต้องของการปิด
บัญชี โดยการปิดบัญชีทีถูกต้องในงบทดลองหลังการปิดบัญชีจะเหลือแต่บัญชี
หมวดสินทรัพย์ บัญชีหมวดหนีสิน และบัญชีหมวดส่วนของเจ้าของยกเว้นบัญชี
ถอนใช้ส่วนตัวเท่านัน
สาขาวิชา : การบัญชี
ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006
หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
ใบเนื้อหา หน้าที่
18
แผ่นที่ : 7
รายงานทางการเงิน (Financial Statement) เป็นรายงานที
แสดงผลของการดําเนินงานและฐานะทางการเงินของกิจการ
รายงานทางการเงินทีสําคัญได้แก่ งบกําไรขาดทุน (Profit and
Loss Statement หรือ Income Statement) มีผลการดําเนินงาน
เป็นกําไรสุทธิ หรือเป็นขาดทุนสุทธิ และงบดุล (Balance
Sheet) เป็นรายงานทีแสดงฐานะทางการเงิน กิจการมีสินทรัพย์
หนีสินและส่วนของเจ้าของเท่าใด
1. รายการเปิดบัญชี
(Opening Entries)
2. รายการค้าระหว่างงวด
(Business Transaction)
3. รายการปรับปรุง
(Adjustment)
4. รายการปิดบัญชี
(Closing Entries)
สมุดรายวันขันต้น
(Book of Primary Entry หรือ
Book of Original Entry)
สมุดรายวันขันต้น
(Book of Primary Entry หรือ
Book of Original Entry)
สมุดรายวันขันต้น
(Book of Primary Entry หรือ
Book of Original Entry)
สมุดบัญชีแยกประเภทย่อย
(Subsidiary Ledger)
สมุดบัญชีแยกประเภทย่อย
(Subsidiary Ledger)
สมุดบัญชีแยกประเภททัวไป
(General Ledger)
สมุดบัญชีแยกประเภททัวไป
(General Ledger)
สมุดบัญชีแยกประเภททัวไป
(General Ledger)
งบทดลองหลังปิดบัญชี
(TrialBalance After Closing)
งบทดลองหลังปรับปรุง
(AdjustedTrialBalance)
งบทดลอง
(Trial Balance)
รายการทางการเงิน
(FinancialStatement)
กระดาษทําการ
(Work Sheet หรือ Working Paper)
สาขาวิชา : การบัญชี
ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006
หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
ใบเนื้อหา หน้าที่
19
แผ่นที่ : 8
ผังบัญชี หมายถึง โครงสร้างทีแสดงชือและเลขทีบัญชีทีใช้ในระบบบัญชี
5 หมวด คือ สินทรัพย์หนีสิน ส่วนของเจ้าของ รายได้และค่าใช้จ่าย กําหนดเลขที
บัญชีอาจใช้ตัวเลขสองหลัก หรือ สามหลักก็ได้ขึนอยู่กับจํานวนบัญชีของกิจการ
สินทรัพย์ ขึนต้นด้วยหมายเลข 1
หนีสิน ขึนต้นด้วยหมายเลข 2
ส่วนของเจ้าของ ขึนต้นด้วยหมายเลข 3
รายได้ ขึนต้นด้วยหมายเลข 4
ค่าใช้จ่าย ขึนต้นด้วยหมายเลข 5
หมวด ชือบัญชี เลขทีบัญชี
สินทรัพย์ เงินสด
เงินฝากธนาคาร
ลูกหนี
วัสดุสินเปลือง
ค่าเช่าจ่ายล่วงหน้า
ค่าบริการค้างรับ
เครืองมือซ่อม
ค่าเสือมราคาสะสม-เครืองมือซ่อม
ยานพาหนะ
ค่าเสือมราคาสะสม-ยานพาหนะ
อาคาร
ค่าเสือมราคาสะสม-อาคาร
ทีดิน
101
102
102
104
105
106
107
108
109
110
111
112
113
สาขาวิชา : การบัญชี
ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006
หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
ใบเนื้อหา หน้าที่
20
แผ่นที่ : 9
หมวด ชือบัญชี เลขทีบัญชี
หนีสิน เจ้าหนี
เงินกู้
ค่าบริการรับล่วงหน้า
ค่าแรงงานค้างจ่าย
201
202
203
204
ส่วนของ
เจ้าของ
ทุน-เจ้าของกิจการ
เงินถอน/ถอนใช้ส่วนตัว-เจ้าของกิจการ
สรุปผลกําไรขาดทุน
301
302
303
รายได้ รายได้ค่าบริการ
รายได้อืน
401
402
หมวด ชือบัญชี เลขทีบัญชี
ค่าใช้จ่าย ค่าเช่า
ค่าโฆษณา
ค่าแรงงาน
วัสดุสินเปลืองใช้ไป
ค่านํา ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์
ค่าเสือมราคา-เครืองมือซ่อม
ค่าเสือมราคา-ยานพาหนะ
ค่าเสือมราคา-อาคาร
ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด
501
502
503
504
505
506
507
508
509
สาขาวิชา : การบัญชี
ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006
หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
ใบเนื้อหา หน้าที่
21
แผ่นที่ : 10
หมวด ชือบัญชี เลขทีบัญชี
สินทรัพย์ เงินสด
ลูกหนี
ค่าเผือหนีสงสัยจะสูญ
สินค้า
ภาษีซือ
วัสดุสํานักงาน
ค่าโฆษณาจ่ายล่วงหน้า
ค่านายหน้าจ่ายล่วงหน้า
ลูกหนี-กรมสรรพากร
101
102
103
104
105
106
107
108
109
หมวด ชือบัญชี เลขทีบัญชี
สินทรัพย์ อุปกรณ์สํานักงาน
ค่าเสือมราคาสะสม-อุปกรณ์สํานักงาน
ยานพาหนะ
ค่าเสือมราคาสะสม-ยานพาหนะ
อาคาร
ค่าเสือมราคาสะสม-อาคาร
ทีดิน
110
111
112
113
114
115
116
หนีสิน เจ้าหนี
ภาษีขาย
เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร
เงินเดือนค้างจ่าย
ภาษีหัก ณ ทีจ่าย
201
202
203
204
205
สาขาวิชา : การบัญชี
ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006
หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
ใบเนื้อหา หน้าที่
22
แผ่นที่ : 11
หมวด ชือบัญชี เลขทีบัญชี
หนีสิน เจ้าหนี
เงินกู้
ค่าบริการรับล่วงหน้า
ค่าแรงงานค้างจ่าย
201
202
203
204
ส่วนของ
เจ้าของ
ทุน-เจ้าของกิจการ
เงินถอน/ถอนใช้ส่วนตัว-เจ้าของกิจการ
สรุปผลกําไรขาดทุน
301
302
303
รายได้ รายได้ค่าบริการ
รายได้อืน
401
402
หมวด ชือบัญชี เลขทีบัญชี
ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขาย
ค่าขนส่งเข้า
ค่าโฆษณา
เงินเดือน
วัสดุสินเปลืองใช้ไป
ค่านํา ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์
ค่าสมทบเงินประกันสังคม
ค่าเสือมราคา-เครืองใช้สํานักงาน
ค่าเสือมราคา-ยานพาหนะ
ค่าเสือมราคา-อาคาร
ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด
ภาษีเงินได้
501
502
503
504
505
506
507
508
509
510
511
512
สาขาวิชา : การบัญชี
ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006
หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
ใบทดสอบ หน้าที่
23
แผ่นที่ : 1
ตอนที่ 1 จงเลือกคําตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว
1. “การบัญชีเป็นศิลปของการจดบันทึกรายการหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับการเงิน ไว้ในรูปของเงินตรา จัด
หมวดหมู่รายการเหล่านั้น สรุปผลพร้อมทั้งตีความหมายของผลอันนั้น” เป็นความหมายของการบัญชีของ
หน่วยงานใด
ก. AICPA
ข. AAA
ค. สมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย
ง. ถูกทุกข้อ
2. ผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งการบัญชีคือใคร
ก. หลุยส์ ปาสคาล ข. ชาลี แชปปลิน
ค. ลูกา ปาซิโอลิ ง. ชาร์ล แบบเบจ
3. ข้อใดคือวัตถุประสงค์ของการบัญชี
ก. เพื่อวัดผลการดําเนินงานและแสดงฐานะการเงินของกิจการ
ข. เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการควบคุมขบวนการทํางานของพนักงานของกิจการ
ค. เพื่อใช้เป็นข้อมูลแก่บุคคลที่สนใจ
ง. ถูกทุกข้อ
4. บุคคลภายนอกที่ใช้ประโยชน์จากข้อมูลทางบัญชีคือบุคคลกลุ่มใด
ก. นักลงทุน ข. เจ้าหนี้
ค. หน่วยงานของรัฐบาล ง. ถูกทุกข้อ
5. ตาม พ.ร.บ. การบัญชี พ.ศ. 2543 กําหนดให้ผู้สําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทาง
บัญชี ทําบัญชีให้กับธุรกิจประเภทและขนาดใดบ้าง
ก. บริษัทและห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนที่มีทุนไม่เกิน 5 ล้านบาท รายได้รวมไม่เกิน 30 ล้านบาท และสินทรัพย์
รวมไม่เกิน 30 ล้านบาท
ข. บริษัทและห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนที่มีทุนไม่เกิน 5 ล้านบาท รายได้รวมไม่เกิน 30 ล้านบาท และสินทรัพย์
รวมไม่เกิน 10 ล้านบาท
ค. บริษัทและห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนที่มีทุนไม่เกิน 5 ล้านบาท รายได้รวมไม่เกิน 5 ล้านบาท และสินทรัพย์
รวมไม่เกิน 30 ล้านบาท
ง. ทําได้ทุกธุรกิจ
สาขาวิชา : การบัญชี
ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006
หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
ใบทดสอบ หน้าที่
24
แผ่นที่ : 2
6. บัญชีแยกประเภทที่มียอดคงเหลือปกติด้านเดบิตได้แก่บัญชีหมวดใด
ก. สินทรัพย์และค่าใช้จ่าย ข. สินทรัพย์และหนี้สิน
ค. ส่วนของเจ้าของและค่าใช้จ่าย ง. สินทรัพย์และส่วนของเจ้าของ
จากโจทย์ต่อไปนี้ จงตอบคําถามข้อ 7 – ข้อ 8
สมุดรายวันทั่วไป หน้า 2
พ.ศ. 2547
รายการ
เลขที่
บัญชี
เดบิต เครดิต
เดือน วันที่ บาท สต. บาท สต.
พ.ค. 1 เงินสด
จักรเย็บผ้า
ทุน-นางสาวลาวดวงเดือน
เจ้าของกิจการนําเงินสดและจักรเย็บผ้ามา
ลงทุน
101
105
301
35,000
50,000
-
-
85,000 -
4 จักรเย็บผ้า
เจ้าหนี้
ซื้อจักรเย็บผ้าเป็นเงินเชื่อ
105
201
25,000 -
25,000 -
10 เงินสด
รายได้ค่าตัดเย็บ
รับค่าตัดเย็บเสื้อผ้า
101
401
3,500 -
3,500 -
15 ลูกหนี้
รายได้ค่าตัดเย็บ
ให้บริการตัดเย็บเสื้อผ้าแต่ยังไม่ได้รับเงิน
103
401
1,500 -
1,500 -
7. รายการค้าที่เกิดขึ้นมีทั้งหมดกี่รายการ
ก. รายการค้า 3 รายการ รายการเปิดบัญชี 1 รายการ
ข. รายการค้า 1 รายการ รายการเปิดบัญชี 3 รายการ
ค. รายการค้า 4 รายการ
ง. รายการเปิดบัญชี 4 รายการ
สาขาวิชา : การบัญชี
ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006
หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
ใบทดสอบ หน้าที่
25
แผ่นที่ : 3
8. บัญชีแยกประเภทจะมีทั้งหมดกี่บัญชี
ก. 4 บัญชี ข. 5 บัญชี
ค. 6 บัญชี ง. 7 บัญชี
9. งบทดลองก่อนปิดบัญชีจะประกอบด้วยบัญชีหมวดใดบ้าง
ก. หมวด 1 - หมวด 3 ข. หมวด 4 - หมวด 5
ค. หมวด 1 - หมวด 4 ง. หมวด 1 - หมวด 5
10. สาเหตุที่งบทดลองไม่ลงตัวมีอะไรบ้าง
ก. หายอดคงเหลือในบัญชีแยกประเภทผิด
ข. นํารายการจากบัญชีแยกประเภทไปแสดงในงบทดลองไม่ครบถ้วน
ค. นํารายการจากบัญชีแยกประเภทไปแสดงในงบทดลองผิดด้าน
ง. ถูกทุกข้อ
ตอนที่ 2 จงจับคู่ศัพท์ดังต่อไปนี้
1. การบัญชี ก. Auditor
2. นักลงทุน ข. Accounting Cycle
3. เจ้าหนี้ ค. Adjustment
4. ผู้สอบบัญชี ง. General Ledger
5. วงจรบัญชี จ. Opening Entries
สาขาวิชา : การบัญชี
ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006
หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
ใบทดสอบ หน้าที่
26
แผ่นที่ : 4
6. สมุดรายวันขั้นต้น ช. Closing Entries
7. สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป ซ. Creditor
8. รายงานทางการเงิน ฌ. Purchases Journal
9. รายการบัญชี ญ. Book of Primary Entry
10. สมุดบัญชี ฎ. Ledger
11. รายการเปิดบัญชี ฏ. Investor
12. สมุดรายวันเฉพาะ ฐ. Chart of Accounts
13. รายการปรับปรุง ฑ. Subsidiary Ledger
14. รายการปิดบัญชี ฒ. Business Transaction
15. บัญชีชั่วคราว ณ. Book of Account
16. สมุดรายวันขาย ด. Sales Journal
17. สมุดรายวันซื้อ ต. Accounting
18. สมุดรายวันรับเงิน ถ. Work Sheet
19. สมุดรายวันจ่ายเงิน ท. Financial Statement
20. สมุดบัญชีแยกประเภท ธ. Adjusted Trial Balance
21. สมุดบัญชีแยกประเภทย่อย น. Trial Balance After Closing
22. บัญชีคุมยอด บ. Accounting Transaction
23. งบทดลอง ป. Special Journal
24. งบทดลองหลังรายการปรับปรุง ผ. Controlling Account
25. งบทดลองหลังปิดบัญชี ฝ. Cash Receipts Journal
26. งบกําไรขาดทุน พ. Trial Balance
27. งบดุล ฟ. Cash Disbursement Journal
28. กระดาษทําการ ภ. Temporary Accounts
29. รายการค้า ม. Profit and Loss Statement
30. ผังบัญชี ย. Balance Sheet
สาขาวิชา : การบัญชี
ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006
หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
ใบทดสอบ หน้าที่
27
แผ่นที่ : 5
ตอนที่ 3 จงตอบคําถามต่อไปนี้
1. จงบอกความหมายของการบัญชี
2. จงบอกวัตถุประสงค์ของการบัญชี
3. บุคคลที่ใช้ประโยชน์จากข้อมูลการบัญชีมีกี่กลุ่ม ใครบ้าง
4. จงอธิบายแม่บทการบัญชี
5. จงอธิบายความหมายของวงจรบัญชี
6. รายการเปิดบัญชีหมายถึงอะไร แบ่งได้กี่กรณี อะไรบ้าง จงอธิบาย
7. จงอธิบายความหมายของรายการค้าระหว่างงวด
8. สมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกรายการค้ามีกี่ประเภท อะไรบ้าง
9. รายการปรับปรุงจะเกิดขึ้นเมื่อใด และบันทึกในสมุดรายวันขั้นต้นเล่มใด
10. รายการปิดบัญชีหมายถึงอะไร เกิดขึ้นเมื่อใด บันทึกในสมุดรายวันขั้นต้นเล่มใด
11. สมุดที่ใช้บันทึกรายการค้ามีกี่ประเภท อะไรบ้าง
12. จงอธิบายความหมายของสมุดรายวันเฉพาะ พร้อมทั้งยกตัวอย่างด้วย
13. งบทดลอง หมายถึงอะไร จงอธิบาย
14. รายงานทางการเงินหมายถึงอะไร จงอธิบาย
สาขาวิชา : การบัญชี
ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006
หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
ใบเฉลยใบทดสอบ หน้าที่
28
แผ่นที่ : 1
เฉลย ตอนที่ 1
1 2 3 4 5 6 7 8 9 10
ก ค ง ง ก ก ก ค ง ง
เฉลย ตอนที่ 2 ตอนที่ 2 จงจับคู่ศัพท์ดังต่อไปนี้
ต 1. การบัญชี ก. Auditor
ฏ 2. นักลงทุน ข. Accounting Cycle
ซ 3. เจ้าหนี้ ค. Adjustment
ก 4. ผู้สอบบัญชี ง. General Ledger
ข 5. วงจรบัญชี จ. Opening Entries
ญ 6. สมุดรายวันขั้นต้น ช. Closing Entries
ง 7. สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป ซ. Creditor
ท 8. รายงานทางการเงิน ฌ. Purchases Journal
บ 9. รายการบัญชี ญ. Book of Primary Entry
ณ 10. สมุดบัญชี ฎ. Ledger
สาขาวิชา : การบัญชี
ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006
หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
ใบเฉลยใบทดสอบ หน้าที่
29
แผ่นที่ : 2
จ 11. รายการเปิดบัญชี ฏ. Investor
ป 12. สมุดรายวันเฉพาะ ฐ. Chart of Accounts
ค 13. รายการปรับปรุง ฑ. Subsidiary Ledger
ช 14. รายการปิดบัญชี ฒ. Business Transaction
ภ 15. บัญชีชั่วคราว ณ. Book of Account
ด 16. สมุดรายวันขาย ด. Sales Journal
ฌ 17. สมุดรายวันซื้อ ต. Accounting
ฝ 18. สมุดรายวันรับเงิน ถ. Work Sheet
ฟ 19. สมุดรายวันจ่ายเงิน ท. Financial Statement
ฎ 20. สมุดบัญชีแยกประเภท ธ. Adjusted Trial Balance
ฑ 21. สมุดบัญชีแยกประเภทย่อย น. Trial Balance After Closing
ผ 22. บัญชีคุมยอด บ. Accounting Transaction
พ 23. งบทดลอง ป. Special Journal
ธ 24. งบทดลองหลังรายการปรับปรุง ผ. Controlling Account
น 25. งบทดลองหลังปิดบัญชี ฝ. Cash Receipts Journal
ม 26. งบกําไรขาดทุน พ. Trial Balance
ย 27. งบดุล ฟ. Cash Disbursement Journal
ถ 28. กระดาษทําการ ภ. Temporary Accounts
ฒ 29. รายการค้า ม. Profit and Loss Statement
ฐ 30. ผังบัญชี ย. Balance Sheet
สาขาวิชา : การบัญชี
ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006
หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
ใบเฉลยใบทดสอบ หน้าที่
30
แผ่นที่ : 3
ตอนที่ 3 จงตอบคําถามต่อไปนี้
1. จงบอกความหมายของการบัญชี
ศิลปะของการเก็บรวบรวม บันทึก จําแนก และทําสรุปข้อมูลอันเกี่ยวกับเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจในรูปตัว
เงิน ผลงานขั้นสุดท้ายของการบัญชีก็คือ การให้ข้อมูลทางการเงินซึ่งเป็นประโยชน์แก่บุคคลหลายฝ่าย และผู้ที่
สนใจในกิจกรรมของกิจการ
2. จงบอกวัตถุประสงค์ของการบัญชี
1. เพื่อจดบันทึกรายการค้าของกิจการอย่างเป็นระบบเรียงตามลําดับเหตุการณ์ก่อนหลัง
2. เพื่อวัดผลการดําเนินงานและแสดงฐานะทางการเงินของกิจการ
3. เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการวางแผน ควบคุมและตัดสินใจเกี่ยวกับการดําเนินงานของกิจการในอนาคต
4. เพื่อให้เป็นไปตามข้อกําหนดของกฎหมายเกี่ยวกับการบัญชี
5. เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการควบคุมขบวนการทํางานของพนักงานของกิจการ
6. เพื่อใช้เป็นข้อมูลแก่หน่วยงานของภาครัฐบาลในการจัดเก็บภาษี และควบคุมการบริหารงานของกิจการ
7. เพื่อใช้เป็นข้อมูลแก่บุคคลที่สนใจ เช่น นักลงทุน สถาบันการเงินที่กิจการขอสินเชื่อ
3. บุคคลที่ใช้ประโยชน์จากข้อมูลการบัญชีมีกี่กลุ่ม ใครบ้าง
2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ
บุคคลภายนอกกิจการ
1. นักลงทุน (Investor) ใช้ข้อมูลทางการบัญชีเพื่อประกอบการตัดสินใจในการลงทุนซื้อหุ้น
2. เจ้าหนี้ (Creditor) ใช้ข้อมูลทางการบัญชีเพื่อประกอบการพิจารณาให้สินเชื่อ วิเคราะห์ความสามารถใน
การชําระหนี้และจ่ายดอกเบี้ยของกิจการ
3. ผู้สอบบัญชี (Auditor) ใช้ข้อมูลทางการบัญชีเพื่อตรวจสอบว่ากิจการบันทึกบัญชีถูกต้องตามหลักการบัญชีที่
รับรองกันโดยทั่วไปหรือไม่ ก่อนที่จะลงนามรับรองรายงานทางการเงินหรืองบการเงิน
4. หน่วยงานของรัฐบาล (Goverment) เช่น กรมสรรพากร กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ใช้ข้อมูลทางการบัญชีเพื่อ
เป็นข้อมูลในการคํานวณและจัดเก็บภาษีเงินได้ อันเป็นรายได้หลักของภาครัฐบาลและเพื่อควบคุมให้เป็นไป
ตามข้อกําหนดของกฎหมาย
สาขาวิชา : การบัญชี
ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006
หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
ใบเฉลยใบทดสอบ หน้าที่
31
แผ่นที่ : 4
บุคคลภายในกิจการ
1. ฝ่ายบริหาร (Management) ใช้ข้อมูลทางการบัญชีเพื่อประกอบการวางแผน วิเคราะห์ ควบคุมและ
การตัดสินใจเกี่ยวกับการดําเนินงานของกิจการ
2. ฝ่ายพนักงาน (Employee) ใช้ข้อมูลทางการบัญชีเพื่อประกอบการพิจารณาผลตอบแทนในการจ้าง
ตลอดจนพิจารณาความมั่นคงของกิจการ
4. จงอธิบายแม่บทการบัญชี
แม่บทการบัญชีกําหนดขึ้นโดยสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทยแทนข้อสมมติขั้น
มูลฐานของการบัญชี เพื่อวางแนวคิดที่เป็นพื้นฐานในการจัดทําและนําเสนองบการเงินแก่ผู้ใช้งบการเงินที่เป็น
บุคคลภายนอก
5. จงอธิบายความหมายของวงจรบัญชี
วงจรบัญชี (Accounting Cycle) หมายถึง ขั้นตอนการบันทึกบัญชี ตั้งแต่วันต้นงวดจนถึงวันสิ้นงวด
เริ่มต้นด้วยการบันทึกรายการในสมุดรายวันขั้นต้น (Book of Primary Entry) ผ่านรายการ (Posting) ไปสมุด
บัญชีแยกประเภททั่วไป (General Ledger) สรุปผลและจัดทํารายงานทางการเงิน (Financial Statement)
สําหรับหนึ่งรอบระยะเวลาบัญชี
6. รายการเปิดบัญชีหมายถึงอะไร แบ่งได้กี่กรณี อะไรบ้าง จงอธิบาย
รายการเปิดบัญชี (Opening Entries) หมายถึง รายการแรกที่บันทึกในสมุดรายวันทั่วไปในวันต้นงวด การ
เปิดบัญชีแบ่งออกเป็น 2 กรณี ตามงวดบัญชี ดังนี้
1.1 งวดบัญชีแรก การเปิดบัญชี คือ การบันทึกรายการเกี่ยวกับสินทรัพย์ และหนี้สิน (ถ้ามี) ที่เจ้าของกิจการ
นํามาลงทุน
1.2 งวดบัญชีที่มิใช่งวดบัญชีแรก รายการเปิดบัญชี คือ การบันทึกรายการเกี่ยวกับยอดคงเหลือยกมาจากงวด
บัญชีก่อนงวดปัจจุบัน อันประกอบด้วยหมวดสินทรัพย์หนี้สินและส่วนของเจ้าของ
7. จงอธิบายความหมายของรายการค้าระหว่างงวด
รายการค้าระหว่างงวด (Business Transaction) หมายถึง กิจกรรมที่ก่อให้เกิดการโอนเงินระหว่างกิจการกับ
บุคคลภายนอก รายการค้าระหว่างวดจะเกิดขึ้นได้ตั้งแต่วันต้นงวดจนถึงวันสิ้นงวด สมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึก
เกี่ยวกับรายการค้าระหว่างงวดมี 2 ประเภท คือ สมุดรายวันทั่วไป (General Journal) และสมุดรายวันเฉพาะ
(Special Journal)
สาขาวิชา : การบัญชี
ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006
หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
ใบเฉลยใบทดสอบ หน้าที่
32
แผ่นที่ : 5
8. สมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกรายการค้ามีกี่ประเภท อะไรบ้าง
มี 2 ประเภท
1. สมุดรายวันทั่วไป (General Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกรายการเปิดบัญชี รายการ
ปรับปรุง รายการปิดบัญชี และรายการค้าทั่วไปสําหรับกิจการที่มิได้มีสมุดบันทึกเฉพาะเรื่อง
2. สมุดรายวันเฉพาะ (Special Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกรายการเฉพาะเรื่อง เช่น
- สมุดรายวันขาย (Sales Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกเฉพาะ การขายเป็นเงินเชื่อเท่านั้น
- สมุดรายวันซื้อ(Purchases Journal)เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกเฉพาะการซื้อเป็นเงินเชื่อเท่านั้น
- สมุดรายวันรับเงิน (Cash Receipts Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกเฉพาะรายการรับเงิน
เท่านั้น
- สมุดรายวันจ่ายเงิน (Cash Disbursement Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกเฉพาะรายการ
จ่ายเงินเท่านั้น
9. รายการปรับปรุงจะเกิดขึ้นเมื่อใด และบันทึกในสมุดรายวันขั้นต้นเล่มใด
รายการปรับปรุง (Adjustment) หมายถึง รายการบันทึกเพิ่มเติม หรือแก้ไขรายการที่บันทึกบัญชีไปแล้ว ทั้งนี้
เพื่อให้เป็นไปตามข้อสมมติขั้นมูลฐานของการบัญชี หลักการเกิดขึ้นของรายได้ และหลักเงินค้าง รายการปรับปรุง
อาจบันทึกในระหว่างงวด (กรณีพบข้อผิดพลาดในการบันทึกบัญชี) หรือบันทึกรายการปรับปรุงในวันสิ้นงวด
บัญชี โดยบันทึกในสมุดรายวันทั่วไป
10. รายการปิดบัญชีหมายถึงอะไร เกิดขึ้นเมื่อใด บันทึกในสมุดรายวันขั้นต้นเล่มใด
รายการปิดบัญชี (Closing Entries) หมายถึง การบันทึกรายการปิดบัญชีหมวดชั่วคราว (Temporary
Accounts) อันได้แก่ หมวดรายได้ และหมวดค่าใช้จ่าย เข้าบัญชีสรุปผลกําไรขาดทุน และปิดบัญชีสรุปผลกําไร
ขาดทุนเข้าบัญชีทุน หรือบัญชีกระแสทุน หรือบัญชีกําไรสะสม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับรูปแบบของธุรกิจ คือ กิจการเจ้าของ
คนเดียว ห้างหุ้นส่วน หรือบริษัทจํากัด การปิดบัญชีเป็นไปตามข้อสมมติขั้นมูลฐานของการบัญชี หลักรอบเวลา
รายการปิดบัญชีจะบันทึกในสมุดรายวันทั่วไป
สาขาวิชา : การบัญชี
ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006
หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
ใบเฉลยใบทดสอบ หน้าที่
33
แผ่นที่ : 6
11. สมุดที่ใช้บันทึกรายการค้ามีกี่ประเภท อะไรบ้าง
สมุดบัญชีที่ใช้บันทึกรายการ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
1. สมุดรายวัน (Journal) หมายถึง สมุดบัญชีขั้นต้น (Book of Primary Entry หรือ Book of Original
Entry) ที่ใช้บันทึกรายการเรียงตามลําดับวันต่อวัน สมุดรายวันแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
1.1 สมุดรายวันทั่วไป (General Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกรายการเปิดบัญชี
รายการปรับปรุง รายการปิดบัญชี และรายการค้าทั่วไปสําหรับกิจการที่มิได้มีสมุดบันทึกเฉพาะเรื่อง
1.2 สมุดรายวันเฉพาะ (Special Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกรายการเฉพาะเรื่อง เช่น
สมุดรายวันขาย (Sales Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกเฉพาะ การขายเป็นเงิน
เชื่อเท่านั้น
สมุดรายวันซื้อ (Purchases Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกเฉพาะการซื้อเป็น
เงินเชื่อเท่านั้น
สมุดรายวันรับเงิน (Cash Receipts Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกเฉพาะ
รายการรับเงินเท่านั้น
สมุดรายวันจ่ายเงิน (Cash Disbursement Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึก
เฉพาะรายการจ่ายเงินเท่านั้น
2. สมุดบัญชีแยกประเภท (Ledger) หมายถึง สมุดบัญชีที่ใช้บันทึกรายการต่อจากสมุดรายวัน การนํา
รายการที่บันทึกในสมุดรายวันมาบันทึกในสมุดบัญชีแยกประเภท เรียกว่า การผ่านรายการ (Posting) สมุดบัญชี
แยกประเภทแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ
2.1 สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป (General Ledger) เป็นสมุดที่ใช้บันทึกแยกเป็นประเภทตามหมวด
บัญชี 5 หมวด คือ หมวดสินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ รายได้และค่าใช้จ่าย
2.2 สมุดบัญชีแยกประเภทย่อย (Subsidiary Ledger) เป็นสมุดที่ใช้บันทึกรายละเอียดของบัญชีแยก
ประเภททั่วไป เช่น บัญชีแยกประเภททั่วไปเจ้าหนี้ จะมีบัญชีแยกประเภทย่อยเป็นรายชื่อเจ้าหนี้แต่ละราย พร้อม
จํานวนเงิน หากนําจํานวนเงินในบัญชีแยกประเภทย่อยเจ้าหนี้ทุกรายรวมกัน จะมีจํานวนเงินเท่ากับจํานวนเงิน
ในบัญชีแยกประเภททั่วไปเจ้าหนี้ บัญชีแยกประเภททั่วไปที่มีบัญชีแยกประเภทย่อยแสดงรายละเอียด เรียกบัญชี
แยกประเภททั่วไปบัญชีนั้นว่าบัญชีคุมยอด (Controlling Account) อย่างไรก็ตามบัญชีแยกประเภททั่วไปไม่
จําเป็นต้องมีบัญชีแยกประเภทย่อยแสดงรายละเอียดทุกบัญชี
สาขาวิชา : การบัญชี
ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006
หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
ใบเฉลยใบทดสอบ หน้าที่
34
แผ่นที่ : 7
12. จงอธิบายความหมายของสมุดรายวันเฉพาะ พร้อมทั้งยกตัวอย่างด้วย
สมุดรายวันเฉพาะ (Special Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกรายการเฉพาะเรื่อง เช่น
- สมุดรายวันขาย (Sales Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกเฉพาะ การขายเป็นเงินเชื่อเท่านั้น
- สมุดรายวันซื้อ (Purchases Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกเฉพาะการซื้อเป็นเงินเชื่อเท่านั้น
- สมุดรายวันรับเงิน (Cash Receipts Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกเฉพาะรายการรับเงินเท่านั้น
- สมุดรายวันจ่ายเงิน (Cash Disbursement Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกเฉพาะรายการ
จ่ายเงินเท่านั้น
13. งบทดลอง หมายถึงอะไร จงอธิบาย
งบทดลอง (Trial Balance) เป็นรายงานที่สรุปข้อมูลภายหลังจากบันทึกรายการเปิดบัญชีและรายการค้า
ระหว่างงวดบัญชีแล้ว หมวดบัญชีที่ปรากฏในงบทดลองนี้จะมีครบทั้ง 5 หมวดคือ หมวดสินทรัพย์ หนี้สิน
ส่วนของเจ้าของ รายได้และค่าใช้จ่าย
14. รายงานทางการเงินหมายถึงอะไร จงอธิบาย
รายงานทางการเงิน (Financial Sheet) เป็นรายงานที่แสดงผลของการดําเนินงานและฐานะทางการเงิน
ของกิจการ รายงานทางการเงินที่สําคัญได้แก่ งบกําไรขาดทุน (Profit and Loss Statement หรือ Income
Statement) และงบดุล (Balance Sheet) โดยงบกําไรขาดทุนเป็นรายงานทางการเงินที่แสดงผลการดําเนินงาน
ว่าในหนึ่งรอบระยะเวลาบัญชีกิจการมีผลการดําเนินงานเป็นกําไรสุทธิ (Net Income หรือ Net Profit) หรือเป็น
ขาดทุนสุทธิ (Net Loss) ส่วนงบดุลเป็นรายงานที่แสดงฐานะทางการเงินว่า ณ วันใดวันหนึ่ง กิจการมีสินทรัพย์
หนี้สินและส่วนของเจ้าของเท่าใด เพื่อให้การจัดทํารายงานทางการเงินเป็นไปด้วยความสะดวกและรวดเร็ว อาจ
จัดทํากระดาษทําการ (Work Sheet หรือ Working Paper) ขึ้นมาก่อนโดยนําข้อมูลจากงบทดลอง และรายการ
ปรับปรุง
MIAP
แผนการสอนภาคทฤษฎี
แผนการสอนภาคทฤษฎี (TEACHING PLAN) หน้าที่ : 36
หลักสูตร : ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546
วิชา : การบัญชีการเงิน เรื่อง : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
MIAP วัตถุประสงค์ วิธีสอน สื่อที่ใช้ เวลา/นาที
M แนะนํารายวิชา การบัญชีการเงิน
กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจและตรวจสอบความรู้พื้นฐาน
ถาม-ตอบ P.P. 10
5
I 1. บอกความหมายของการบัญชี ได้ถูกต้อง
2. อธิบายประวัติของการบัญชีได้ถูกต้อง
บรรยาย P.P. 20
A ทําการทดสอบตามวัตถุประสงค์ ผู้เรียนทํา
แบบทดสอบ
ใบทดสอบ 10
P ขั้นสําเร็จ
- เฉลยแบบทดสอบ
- ตรวจ ปรับ
ถาม-ตอบ ใบเฉลย 10
แผนการสอนภาคทฤษฎี (TEACHING PLAN) หน้าที่ : 37
หลักสูตร : ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546
วิชา : การบัญชีการเงิน เรื่อง : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
MIAP วัตถุประสงค์ วิธีสอน สื่อที่ใช้ เวลา/นาที
M กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจและตรวจสอบความรู้พื้นฐาน ถาม-ตอบ P.P. 10
5
I 3. อธิบายวัตถุประสงค์และประโยชน์ของข้อมูลการ
บัญชีได้
4. อธิบายแม่บทการบัญชีได้
บรรยาย P.P. 20
A ทําการทดสอบตามวัตถุประสงค์ ผู้เรียนทํา
แบบทดสอบ
ใบทดสอบ 10
P ขั้นสําเร็จ
- เฉลยแบบทดสอบ
- ตรวจ ปรับ
ถาม-ตอบ ใบเฉลย 10
แผนการสอนภาคทฤษฎี (TEACHING PLAN) หน้าที่ : 38
หลักสูตร : ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546
วิชา : การบัญชีการเงิน เรื่อง : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
MIAP วัตถุประสงค์ วิธีสอน สื่อที่ใช้ เวลา/นาที
M กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจและตรวจสอบความรู้พื้นฐาน ถาม-ตอบ P.P. 10
5
I 5. อธิบายพระราชบัญญํติการบัญชี พ.ศ. 2543 ได้
ถูกต้อง
บรรยาย P.P. 20
A ทําการทดสอบตามวัตถุประสงค์ ผู้เรียนทํา
แบบทดสอบ
ใบทดสอบ 10
P ขั้นสําเร็จ
- เฉลยแบบทดสอบ
- ตรวจ ปรับ
ถาม-ตอบ ใบเฉลย 10
แผนการสอนภาคทฤษฎี (TEACHING PLAN) หน้าที่ : 39
หลักสูตร : ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546
วิชา : การบัญชีการเงิน เรื่อง : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี
MIAP วัตถุประสงค์ วิธีสอน สื่อที่ใช้ เวลา/นาที
M กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจและตรวจสอบความรู้พื้นฐาน ถาม-ตอบ P.P. 10
5
I 6. อธิบายวงจรบัญชีได้ถูกต้อง
7. อธิบายความหมายของผังบัญชีได้ถูกต้อง
บรรยาย P.P. 20
A ทําการทดสอบตามวัตถุประสงค์ ผู้เรียนทํา
แบบทดสอบ
ใบทดสอบ 10
P ขั้นสําเร็จ
- เฉลยแบบทดสอบ
- ตรวจ ปรับ
ถาม-ตอบ ใบเฉลย 10
แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป

More Related Content

What's hot

การบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointการบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointOrawonya Wbac
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลัง
yingsinee
 
คู่มืออบรม Google sites
คู่มืออบรม  Google sitesคู่มืออบรม  Google sites
คู่มืออบรม Google sites
ครูเฒ่าบุรีรัมย์ ย่าแก่
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57AJ Por
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์
jeeraporn
 
แบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรี
แบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรีแบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรี
แบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรี
โรงเรียนหาดใหญ่รัฐประชาสรรค์
 
ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2aoynattaya
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1คุณครูพี่อั๋น
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรมkrupornpana55
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
somdetpittayakom school
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำNinna Natsu
 
พหุปัญญา แผนการจัดกาเรียนรู้ที่ 2 เงิน
พหุปัญญา แผนการจัดกาเรียนรู้ที่ 2 เงินพหุปัญญา แผนการจัดกาเรียนรู้ที่ 2 เงิน
พหุปัญญา แผนการจัดกาเรียนรู้ที่ 2 เงินDolonk
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
พัน พัน
 

What's hot (20)

การบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointการบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power point
 
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
Ac+102+เฉลยหลักการบัญชี+2
 
40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม
40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม
40 ฟังก์ชันชี้กำลังและฟังก์ชันลอการิทึม ตอนที่3_ลอการิทึม
 
วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2วิทย์ ป.2
วิทย์ ป.2
 
สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลังสมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลัง
 
คู่มืออบรม Google sites
คู่มืออบรม  Google sitesคู่มืออบรม  Google sites
คู่มืออบรม Google sites
 
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
วิชา กฎหมายที่ใช้ในชีวิตประจำวัน 8 มี ค 57
 
คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1
คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1
คณิตเพิ่ม ม6 เล่ม2 - บทที่ 1
 
วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์วิธีการทางประวัติศาสตร์
วิธีการทางประวัติศาสตร์
 
Square Root
Square RootSquare Root
Square Root
 
แบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรี
แบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรีแบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรี
แบบฝึกทักษะ เรื่อง เอกนาม โดยครูวาสนา พูลศรี
 
ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2ลำดับเลขคณิต 2
ลำดับเลขคณิต 2
 
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1
ข้อสอบกลางภาค คณิต ม.5 เทอม 2 ฉบับที่ 1
 
2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม2ใบกิจกรรม
2ใบกิจกรรม
 
สารบัญ
สารบัญสารบัญ
สารบัญ
 
สมบัติอื่นๆเลขยกกำลัง
สมบัติอื่นๆเลขยกกำลังสมบัติอื่นๆเลขยกกำลัง
สมบัติอื่นๆเลขยกกำลัง
 
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการแบบประเมินทักษะกระบวนการ
แบบประเมินทักษะกระบวนการ
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
พหุปัญญา แผนการจัดกาเรียนรู้ที่ 2 เงิน
พหุปัญญา แผนการจัดกาเรียนรู้ที่ 2 เงินพหุปัญญา แผนการจัดกาเรียนรู้ที่ 2 เงิน
พหุปัญญา แผนการจัดกาเรียนรู้ที่ 2 เงิน
 
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O netแบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
แบบฝึกทักษะเรื่องสถิติ O net
 

Viewers also liked

Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรมCh7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรมple2516
 
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
Chenchira Chaengson
 
บัญชีต้นทุน1
บัญชีต้นทุน1บัญชีต้นทุน1
บัญชีต้นทุน1
กุลเศรษฐ บานเย็น
 
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่มหลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่มpaka10011
 
การบัญชี
การบัญชีการบัญชี
การบัญชีrattanapachai
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสอบบัญชี
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสอบบัญชีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสอบบัญชี
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสอบบัญชี
arunrung suwanachot
 
นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1
นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1
นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1
Niti Nachit
 
งบต้นทุนการผลิต
งบต้นทุนการผลิต งบต้นทุนการผลิต
งบต้นทุนการผลิต
0834731327
 
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับCh2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับple2516
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
มิชิโกะ จังโกะ
 
5
55
ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2
มิชิโกะ จังโกะ
 
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการCh6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการple2516
 
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตนCh4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตนple2516
 
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชีแบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
วาสนา ทีคะสาย
 
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินCh5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินple2516
 
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารเรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
Noo Jomkwan Parida
 

Viewers also liked (20)

Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรมCh7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
Ch7 การบัญชีกิจการอุตสาหกรรม
 
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
แบบฝึกทำ Acc1102 + เฉยแบบฝึกทำ acc1102
 
บัญชีต้นทุน1
บัญชีต้นทุน1บัญชีต้นทุน1
บัญชีต้นทุน1
 
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่มหลักการบัญชีเบื้องต้น  รวมเล่ม
หลักการบัญชีเบื้องต้น รวมเล่ม
 
การบัญชี
การบัญชีการบัญชี
การบัญชี
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสอบบัญชี
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสอบบัญชีความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสอบบัญชี
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการสอบบัญชี
 
นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1
นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1
นำเสนอวิชาการสอบบัญชี หน่วยที่1
 
งบต้นทุนการผลิต
งบต้นทุนการผลิต งบต้นทุนการผลิต
งบต้นทุนการผลิต
 
023
023023
023
 
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับCh2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
 
013
013013
013
 
หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1หน่วยที่ 1
หน่วยที่ 1
 
5
55
5
 
010
010010
010
 
ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2ร่วมค้า หน่วยที่-2
ร่วมค้า หน่วยที่-2
 
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการCh6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
Ch6 ส่วนของเจ้าของกิจการ
 
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตนCh4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
Ch4 ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ และสินทรัพย์ไม่มีตัวตน
 
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชีแบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
แบบทดสอบความรูเบื้องต้นเกี่ยวกับบัญชี
 
Ch5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สินCh5 หนี้สิน
Ch5 หนี้สิน
 
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคารเรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
เรื่องงบพิสูจน์ยอดเงินฝากธนาคาร
 

Similar to แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป

บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
drchanidap
 
Ebooksint accsimple
Ebooksint accsimpleEbooksint accsimple
Ebooksint accsimpleRose Banioki
 
นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ) นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
ประพันธ์ เวารัมย์
 
นักวิชาการคลัง(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการคลัง(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)นักวิชาการคลัง(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการคลัง(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
ประพันธ์ เวารัมย์
 
9789740330981
97897403309819789740330981
9789740330981CUPress
 
01 ma
01 ma01 ma
บัญชีเบื้องต้น.pdf
บัญชีเบื้องต้น.pdfบัญชีเบื้องต้น.pdf
บัญชีเบื้องต้น.pdf
WattanaNanok
 
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนหลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนtelecentreacademy
 
สภาวิชาชีพหลักสูตรบัญชีAnnounce 17 2552
สภาวิชาชีพหลักสูตรบัญชีAnnounce 17 2552สภาวิชาชีพหลักสูตรบัญชีAnnounce 17 2552
สภาวิชาชีพหลักสูตรบัญชีAnnounce 17 2552P Pattarawit
 
ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ (30)
ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ (30)ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ (30)
ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ (30)
ประพันธ์ เวารัมย์
 
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐมาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
Sureeraya Limpaibul
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจthanathip
 
นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ) นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
ประพันธ์ เวารัมย์
 
นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
ประพันธ์ เวารัมย์
 
Financial management for exceutive
Financial management for exceutiveFinancial management for exceutive
Financial management for exceutiveKASETSART UNIVERSITY
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชีความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชีAttachoke Putththai
 
Ch1
Ch1Ch1
__________ 2
  __________ 2  __________ 2
__________ 2paka10011
 

Similar to แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป (20)

บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
 
Ebooksint accsimple
Ebooksint accsimpleEbooksint accsimple
Ebooksint accsimple
 
นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ) นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการเงินและบัญชี(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 
Ac01
Ac01Ac01
Ac01
 
นักวิชาการคลัง(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการคลัง(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)นักวิชาการคลัง(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการคลัง(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 
9789740330981
97897403309819789740330981
9789740330981
 
01 ma
01 ma01 ma
01 ma
 
บัญชีเบื้องต้น.pdf
บัญชีเบื้องต้น.pdfบัญชีเบื้องต้น.pdf
บัญชีเบื้องต้น.pdf
 
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชนหลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
หลักการทำบัญชีชุมชน และการเป็นผู้ประกอบการชุมชน
 
สภาวิชาชีพหลักสูตรบัญชีAnnounce 17 2552
สภาวิชาชีพหลักสูตรบัญชีAnnounce 17 2552สภาวิชาชีพหลักสูตรบัญชีAnnounce 17 2552
สภาวิชาชีพหลักสูตรบัญชีAnnounce 17 2552
 
ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ (30)
ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ (30)ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ (30)
ตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับปฏิบัติการ (30)
 
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐมาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
 
นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ) นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 
นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
นักวิชาการตรวจสอบภายใน(ปฏิบัติการ เชี่ยวชาญ)
 
Financial management for exceutive
Financial management for exceutiveFinancial management for exceutive
Financial management for exceutive
 
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชีความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
ความรู้เกี่ยวกับระบบบัญชี
 
Ch1
Ch1Ch1
Ch1
 
accounting for sport management
accounting  for sport managementaccounting  for sport management
accounting for sport management
 
__________ 2
  __________ 2  __________ 2
__________ 2
 

Recently uploaded

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

แผนการสอนการบัญชีการเงิน01ความรู้ทั่วไป

  • 1. สาขาวิชา : การบัญชี ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006 หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี แผนภูมิปะการัง หน้าที่ 9แผ่นที่ : 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี ความหมายของการบัญชี ประวัติของการบัญชี แม่บทการบัญชี พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 วัตถุประสงค์ของการบัญชี ประโยชน์ของข้อมูลการบัญชี วงจรบัญชี ผังบัญชี
  • 2. สาขาวิชา : การบัญชี ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006 หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี ใบรายการหัวข้อเรื่อง หน้าที่ 10 แผ่นที่ : 1 หัวข้อหลัก หัวข้อย่อย ความหมายของการบัญชี ความหมายจากสมาคมนักบัญชีสหรัฐอเมริกา ความหมายจากสมาคมนักบัญชีฯประเทศไทย ประวัติของการบัญชี การจดบันทึกทางการบัญชี การบัญชีในประเทศไทย วัตถุประสงค์ของการบัญชี วัตถุประสงค์ของการบัญชี ประโยชน์ของข้อมูลการบัญชี ประโยชน์ของข้อมูลการบัญชีต่อบุคคลภายนอก ประโยชน์ของข้อมูลการบัญชีต่อบุคคลภายในกิจการ แม่บทการบัญชี วัตถุประสงค์และสถานภาพ ขอบเขต ผู้ใช้งบการเงินและความต้องการข้อมูล วัตถุประสงค์ของงบการเงิน ข้อสมมุติ พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. 2543 หมวด 1 บททั่วไป หมวด 2 ผู้มีหน้าที่จัดทําบัญชี หมวด 3 ผู้ทําบัญชี หมวด 4 การตรวจสอบ หมวด 5 บทกําหนดโทษ บทเฉพาะกาล วงจรบัญชี รายการบัญชี สมุดบัญชี การสรุปผลและรายงานทางการเงิน ผังบัญชี บัญชี 5 หมวด
  • 3. สาขาวิชา : การบัญชี ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006 หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี ใบวัตถุประสงค์ทฤษฎี หน้าที่ 11 แผ่นที่ : 1 หลังจากจบบทเรียนนี้แล้ว นักศึกษาสามารถที่จะ…. 1. บอกความหมายของการบัญชี ได้ถูกต้อง 2. อธิบายประวัติของการบัญชีได้ถูกต้อง 3. อธิบายวัตถุประสงค์และประโยชน์ของข้อมูลการบัญชีได้ 4. อธิบายแม่บทการบัญชีได้ 5. อธิบายพระราชบัญญํติการบัญชี พ.ศ. 2543 ได้ถูกต้อง 6. อธิบายวงจรบัญชีได้ถูกต้อง 7. อธิบายความหมายของผังบัญชีได้ถูกต้อง
  • 4. สาขาวิชา : การบัญชี ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006 หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี ใบเนื้อหา หน้าที่ 12 แผ่นที่ : 1 วิชา การบัญชีการเงิน (3200-1006) จํานวน 3 หน่วยกิต ผู้สอน ครูโนรีย์ ทรัพย์โสภณ บช.บ. (บัญชีบัณฑิต) จุดประสงค์รายวิชา 1 มีความรู้ความเข้าใจแม่บทการบัญชี และ พ.ร.บ. การบัญชี 2 มีทักษะในการบันทึกบัญชีตามวงจรบัญชีของกิจการในการบริการและ พาณิชยกรรม 3 มีทักษะในการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับสินทรัพย์หมุนเวียน ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ หนี้สินหมุนเวียนและส่วนของเจ้าของ 4 มีทักษะในการบันทึกบัญชีเกี่ยวกับกิจการอุตสาหกรรม และระบบ ใบสําคัญ 5 รู้ถึงคุณค่าของการนําข้อมูลทางการบัญชีไปใช้ในธุรกิจ มาตรฐานรายวิชา 1 บันทึกบัญชีและทํางบการเงินสําหรับกิจการให้บริการ พาณิชยกรรม และกิจการอุตสาหกรรม 2 บันทึกบัญชีเกี่ยวกับเงินสด ลูกหนี้ ตั๋วเงินรับ-จ่ายสินค้า ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ เจ้าหนี้การค้า ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย และส่วนของเจ้าของ 3 บันทึกบัญชีตามระบบใบสําคัญ คําอธิบายรายวิชา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ แม่บทการบัญชี วิเคราะห์ รายการค้า บันทึกรายการในสมุดขั้นต้น บัญชีแยกประเภท ทํางบ ทดลอง บันทึกรายการปรับปรุงและปิดบัญชี จัดทํางบการเงินของ กิจการให้บริการ และซื้อขายสินค้า บันทึกบัญชีเกี่ยวกับเงินสด ลูกหนี้ ตั๋วเงินรับ-จ่ายสินค้า ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ เจ้าหนี้การค้า ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย และส่วนของเจ้าของ การบัญชีอุตสาหกรรมและ ระบบใบสําคัญ การวัดผลประเมินผล 0 – 49 เกรด 0 50 - 54 เกรด 1 55 – 59 เกรด 1.5 60 - 64 เกรด 2 65 – 69 เกรด 2.5 70 - 74 เกรด 3 75 – 79 เกรด 3.5 80 - 100 เกรด 4 ทําอย่างไรได้คะแนน 80 : 20 สอบย่อย 50 ปลายภาค 30 มาเรียน 5 ส่งงาน 5 กิริยามารยาท 5 ความตังใจ 5
  • 5. สาขาวิชา : การบัญชี ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006 หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี ใบเนื้อหา หน้าที่ 13 แผ่นที่ : 2 การบัญชี คือ ศิลปะของการรวบรวม บันทึก จําแนกเป็น หมวดหมู่ และสรุปข้อมูลอันเกียวกับเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจในรูป ตัวเงินแปลความหมายอย่างมีเหตุผลเพือประโยชน์นากรตัดสินใจ การจดบันทึกทางการบัญชี เกิดขึนในสมัยบาบิโลเนียนและ อียิปหรือเมืองประมาณ 5,000 ปีแล้ว ในช่วงแรกเป็นการจดบันทึกเป็น ปริมาณต่อมาเปลียนแปลงไป นําเงินตรามาใช้แทนการแลกเปลียนมีการ คิดค้นตัวเลขอารบิคแทนเลขโรมัน มีการลงทุนทีดําเนินธุรกิจเพือหวัง ผลกําไร 1. เพือบันทึกรายการค้าอย่างเป็นระบบ ตามลําดับเหตุการณ์ 2. เพือวัดผลดําเนินงานและแสดงฐานะการเงินของกิจการ 3. เพือใช้เป็นข้อมูลการวางแผน ควบคุมและตัดสินใจเกียวกับ การดําเนินงานของกิจการในอนาคต 4. เพือให้เป็นไปตามข้อกําหนดกฎหมายเกียวกับการบัญชี 5. เพือใช้เป็นเครืองมือในการควบคุมขบวนการทํางานของ พนักงานของกิจการ 6. เพือใช้เป็นข้อมูลแก่หน่วยงานของภาครัฐบาลในการจัดเก็บ ภาษี และควบคุมการบริหารงานของกิจการ 7. เพือใช้เป็นข้อมูลแก่บุคคลทีสนใจ เช่น นักลงทุน สถาบัน การเงินทีกิจการขอสินเชือ ประโยชน์ของข้อมูลการบัญชีแบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ บุคคลภายนอกกิจการ นักลงทุน เพือประกอบการตัดสินใจการลงทุนซือหุ้น เจ้าหนี เพือให้สินเชือวิเคราะห์ความสามรถในการชําระหนีและ จ่ายดอกเบียของกิจการ ผู้สอบบัญชี เพือตรวจสอบว่ากิจการบันทึกบัญชีถูกต้องหรือไม่ หน่วยงานของรัฐบาล เพือเป็นข้อมูลการคํานวณและจัดเก็บ ภาษีเงินได้ สถาบันการเงิน เพือพิจารณาให้กู้ยืม สาธารณชน เพือพิจารณาผลกระทบต่อชุมชน
  • 6. สาขาวิชา : การบัญชี ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006 หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี ใบเนื้อหา หน้าที่ 14 แผ่นที่ : 3 บุคคลภายในกิจการ ฝ่ ายบริหาร เพือประกอบการวางแผน วิเคราะห์ ควบคุม และตัดใจเกียวกับการดําเนินงานของกิจการ ฝ่ ายพนักงาน เพือประกอบพิจารณาผลตอบแทนในการจ้าง และความมันคงของกิจการ บุคคลภายในกิจการ ฝ่ ายบริหาร เพือประกอบการวางแผน วิเคราะห์ ควบคุม และตัดใจเกียวกับการดําเนินงานของกิจการ ฝ่ ายพนักงาน เพือประกอบพิจารณาผลตอบแทนในการจ้าง และความมันคงของกิจการ แม่บทการบัญชี แม่บทการบัญชีกําหนดขึ้นโดยสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทยแทนข้อสมมติขั้น มูลฐานของการบัญชี เพื่อวางแนวคิดที่เป็นพื้นฐานในการจัดทําและนําเสนองบการเงินแก่ผู้ใช้งบการเงินที่เป็น บุคคลภายนอก มาตรา ๑ พระราชบัญญัตินีเรียกว่า "พระราชบัญญัติการบัญชี พ.ศ. ๒๕๔๓" มาตรา ๒ ใช้เมือพ้นกําหนด ๙๐วันนับแต่วันประกาศในราชกิจจา นุเบกษา มาตรา ๓ ให้ยกเลิกคณะปฏิวัติ ฉบับที ๒๘๕ ลงวันที ๒๔ พฤศจิกายน ๒๕๑๕ มาตรา ๔ ในพระราชบัญญัตินี “งบการเงิน” หมายถึง รายงานผลการดําเนินงาน ฐานะการเงิน การเงินของ กิจการ “มาตรฐานการบัญชี” หมายความว่า หลักการบัญชี “ผู้มีหน้าทีจัดทําบัญชี” หมายความว่า ผู้มีหน้าทีจัดให้มีการทําบัญชี
  • 7. สาขาวิชา : การบัญชี ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006 หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี ใบเนื้อหา หน้าที่ 15 แผ่นที่ : 4 “ผู้ทําบัญชี” หมายความว่า ผู้รับผิดชอบในการทําบัญชีของผู้มีหน้าทีจัดทํา บัญชี “สารวัตรใหญ่บัญชี” หมายความว่า อธิบดี “สารวัตรบัญชี” หมายความว่า ผู้ซึงอธิบดีแต่งตังให้เป็นสารวัตรบัญชี “อธิบดี” หมายความว่า อธิบดีกรมทะเบียนการค้า “รัฐมนตรี” หมายความว่า รัฐมนตรีผู้รักษาการตามพระราชบัญญัตินี มาตรา ๕ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ตามพระราชบัญญัตินี ให้ มีอํานาจออกกฎกระทรวงเพือปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี มาตรา ๖ กรมทะเบียนการค้า กระทรวงพาณิชย์ เป็นสํานักงานกลาง บัญชี ให้อธิบดีมีอํานาจจัดตังสํานักงานบัญชี มาตรา ๗ อธิบดีมีอํานาจในราชกิจจานุเบกษากําหนดในเรือง ดังต่อไปนี (๑) ชนิดของบัญชีทีต้องจัดทํา (๒) รายการทีต้องมีในบัญชี (๓) ระยะเวลาในลงรายการในบัญชี (๔) เอกสารทีใช้ในการลงบัญชี (๕) ยกเว้นให้ผู้ทําบัญชีไม่ต้องปฏิบัติตามมาตรฐานการบัญชีในส่วนใด ส่วนหนึง (๖) คุณสมบัติและเงือนไขของการเป็นผู้ทําบัญชีตามพระราชบัญญัตินี ในการประกาศข้อกําหนดตามวรรคหนึง ให้อธิบดีคํานึงถึงมาตรฐานการ บัญชี ข้อกําหนด (๕) (๖) ต้องได้รับความเห็นชอบจากรัฐมนตรีด้วย ข้อกําหนด (๑) (๒) (๓) (๔) หากเรืองนันมีกฎหมายเฉพาะบัญญัติไว้ เป็นอย่างอืน เมือผู้มีหน้าทีจัดทําบัญชีปฏิบัติตามกฎหมายเฉพาะนันแล้ว ให้ ถือว่าได้จัดทําบัญชีโดยถูกต้องตามพระราชบัญญัตินีแล้ว มาตรา ๘ ห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน บริษัทจํากัด บริษัทมหาชนจํากัด นิติ บุคคล กิจการร่วมค้า จัดทําบัญชี และต้องจัดให้มีการทําบัญชีการประกอบ ธุรกิจของตนโดยมีรายละเอียด หลักเกณฑ์และวิธีการตามทีบัญญัติ มาตรา ๙ จัดทําบัญชีต้องจัดให้มีการทําบัญชีนับแต่วันเริมทําบัญชี มาตรา ๑๐ จัดทําบัญชีต้องปิดบัญชีภายใน๑๒เดือนนับแต่วันเริมทําบัญชี มาตรา ๑๑ ทําบัญชีห้างหุ้นส่วนจดทะเบียน นิติบุคคลตามกฎหมายและ กิจการร่วมค้าต้องทํางบการเงินและยืนงบการเงินต่อสํานักงานกลางบัญชี ภายใน ๕เดือนนับแต่วันปิดบัญชี กรณีบริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชน จํากัดให้ยืนภายใน๑ เดือนนับแต่วันทีงบการเงินนันได้รับอนุมัติ มาตรา ๑๒ จัดทําบัญชีส่งมอบเอกสารใช้การลงบัญชีให้แก่ผู้ทําบัญชีให้ ครบถ้วน มาตรา ๑๓ ผู้จัดทําบัญชีต้องเก็บเอกสารทีใช้การลงบัญชีไว้สถานทีทํา การ หรือเว้นแต่ผู้จัดทําบัญชีได้รับอนุญาตจากสารวัตรใหญ่บัญชีให้เก็บ เอกสาร ณ สถานทีอืน มาตรา ๑๔ ผู้จัดทําบัญชีต้องเก็บเอกสารการลงบัญชีไม่น้อยกว่า๕ปีนับ แต่วันปิดบัญชี มาตรา ๑๕ ถ้าเอกสารทีใช้การลงบัญชีสูญหาย ให้ผู้จัดทําบัญชีแจ้ง สารวัตรบัญชีตามหลักเกณฑ์และวิธีการทีอธิบดีกําหนดใน๑๕ วันนับแต่ วันทีทราบ มาตรา ๑๖ กรณีสารวัตรบัญชีตรวจว่าเอกสารทีใช้การลงบัญชีสูญ หายหรือมิได้เก็บไว้ในทีปลอดภัย ให้สันนิษฐานว่าผู้จัดทําบัญชีมี เจตนาทําลาย มาตรา ๑๗ เมือผู้จัดทําบัญชีเลิกประกอบธุรกิจโดยมิได้ชําระบัญชี ให้ส่งมอบและเอกสารการลงบัญชีแก่สารวัตรบัญชีใน๙๐ วันและให้ สารวัตรบัญชีเก็บรักษาบัญชี มาตรา ๑๘ งบการเงิน บัญชี และเอกสารทีสารวัตรบัญชีได้รับและ เก็บรักษาไว้ตามม. ๑๑ ม. ๑๗ ผู้มีส่วนได้เสียอาจขอตรวจดูหรือขอ ภาพถ่ายสําเนาได้โดยเสียค่าใช้จ่ายตามทีอธิบดีกําหนด
  • 8. สาขาวิชา : การบัญชี ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006 หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี ใบเนื้อหา หน้าที่ 16 แผ่นที่ : 5 มาตรา ๑๙ ผู้จัดทําบัญชีต้องให้ผู้ทําบัญชีซึงมีคุณสมบัติตามที อธิบดีกําหนดตามมาตรา ๗ (๖) เพือจัดทําบัญชีตามพระราชบัญญัติ นี มาตรา ๒๐ ผู้ทําบัญชีต้องจัดทําบัญชีเพือให้มีการแสดงผลการ ดําเนินงาน ฐานะการเงินหรือการเปลียนแปลงฐานะการเงินโดยมี เอกสารทีใช้การลงบัญชีให้ถูกต้อง มาตรา ๒๑ การลงรายการในบัญชี ต้องปฏิบัติต่อไปนี (๑) ลงรายการเป็นภาษาไทย หากลงรายการเป็นภาษาต่างประเทศ ให้มีภาษาไทยกํากับ (๒) เขียนด้วยหมึก ดีดพิมพ์ตีพิมพ์ มาตรา ๒๒ สารวัตรบัญชีมีหน้าทีตรวจสอบบัญชีให้เป็นไปตาม พระราชบัญญัตินี มาตรา ๒๓ การปฏิบัติตามพระราชบัญญัตินี สารวัตรบัญชีต้องแสดง บัตรประจําตัวต่อผู้ทีเกียวข้อง มาตรา ๒๔ การปฏิบัติพระราชบัญญัตินี ให้สารวัตรบัญชีมีอํานาจสัง เป็นหนังสือ มาตรา ๒๕ ห้ามมิให้ผู้ใดเปิดเผยข้อความใดๆ ทีได้มาเนืองจากการ ปฏิบัติตามม. ๒๒ ม. ๒๔ เว้นแต่ผู้อํานาจทีจะทําได้โดยชอบด้วย กฎหมาย มาตรา ๒๖ การปฏิบัติหน้าที ให้สารวัตรบัญชีเป็นเจ้าพนักงานตาม ประมวลกฎหมายอาญา
  • 9. สาขาวิชา : การบัญชี ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006 หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี ใบเนื้อหา หน้าที่ 17 แผ่นที่ : 6 เมือดําเนินงานมาครบระยะเวลาหนึง กิจการจะมี การสรุปผล เก็บรวบรวมข้อมูลจากสมุดแยกประเภททัวไป มาจัดทํารายงานสรุป เรียกว่า งบทดลอง ซึงแบ่งออกได้ เป็น 3 งบตามลําดับขันตอนตอนในวงจรบัญชี งบทดลอง (Trial Balance) งบทีจัดทําขึนด้วยการนํายอด ดุลในบัญชีแยกประเภทต่าง ๆ ไม่ว่าจะอยู่ด้านเดบิต หรือ เครดิตก็ตามมาคํานวณหายอดคงเหลือทังสองด้าน เพือ พิสูจน์ความถูกต้องในการบันทึกบัญชีตามระบบบัญชีคู่ งบทดลองหลังรายการปรับปรุง (Adjusted Trial Balance) หลังจากบันทึก รายการปรับปรุงในสมุดรายวันทัวไปและผ่านรายการไปบัญชีแยกประเภททัวไป ทีเกียวข้องแล้ว บัญชีทีมีผลกระทบจากรายการปรับปรุงจะมียอดคงเหลือที เปลียนแปลงไป เพือเป็นการรวบรวมยอดคงเหลือของบัญชีแยกประเภททุก บัญชีหลังรายการปรับปรุง จึงมีการจัดทํางบทดลองขึนอีกครัง งบทดลองหลังปิดบัญชี (Trial Balance After Closing) หลังจากทีทําการปิด บัญชีโดยบันทึกรายการปิดบัญชีในสมุดรายวันทัวไป ผ่านรายการปิดบัญชีจาก สมุดรายวันทัวไปไปยังสมุดบัญชีแยกประเภททัวไป และทําการปิดบัญชีต่าง ๆ ในสมุดบัญชีแยกประเภททัวไปแล้วนัน ขันตอนสุดท้ายของการปิดบัญชีก็คือ การจัดทํางบทดลองหลังการปิดบัญชีเพือจะพิสูจน์ความถูกต้องของการปิด บัญชี โดยการปิดบัญชีทีถูกต้องในงบทดลองหลังการปิดบัญชีจะเหลือแต่บัญชี หมวดสินทรัพย์ บัญชีหมวดหนีสิน และบัญชีหมวดส่วนของเจ้าของยกเว้นบัญชี ถอนใช้ส่วนตัวเท่านัน
  • 10. สาขาวิชา : การบัญชี ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006 หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี ใบเนื้อหา หน้าที่ 18 แผ่นที่ : 7 รายงานทางการเงิน (Financial Statement) เป็นรายงานที แสดงผลของการดําเนินงานและฐานะทางการเงินของกิจการ รายงานทางการเงินทีสําคัญได้แก่ งบกําไรขาดทุน (Profit and Loss Statement หรือ Income Statement) มีผลการดําเนินงาน เป็นกําไรสุทธิ หรือเป็นขาดทุนสุทธิ และงบดุล (Balance Sheet) เป็นรายงานทีแสดงฐานะทางการเงิน กิจการมีสินทรัพย์ หนีสินและส่วนของเจ้าของเท่าใด 1. รายการเปิดบัญชี (Opening Entries) 2. รายการค้าระหว่างงวด (Business Transaction) 3. รายการปรับปรุง (Adjustment) 4. รายการปิดบัญชี (Closing Entries) สมุดรายวันขันต้น (Book of Primary Entry หรือ Book of Original Entry) สมุดรายวันขันต้น (Book of Primary Entry หรือ Book of Original Entry) สมุดรายวันขันต้น (Book of Primary Entry หรือ Book of Original Entry) สมุดบัญชีแยกประเภทย่อย (Subsidiary Ledger) สมุดบัญชีแยกประเภทย่อย (Subsidiary Ledger) สมุดบัญชีแยกประเภททัวไป (General Ledger) สมุดบัญชีแยกประเภททัวไป (General Ledger) สมุดบัญชีแยกประเภททัวไป (General Ledger) งบทดลองหลังปิดบัญชี (TrialBalance After Closing) งบทดลองหลังปรับปรุง (AdjustedTrialBalance) งบทดลอง (Trial Balance) รายการทางการเงิน (FinancialStatement) กระดาษทําการ (Work Sheet หรือ Working Paper)
  • 11. สาขาวิชา : การบัญชี ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006 หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี ใบเนื้อหา หน้าที่ 19 แผ่นที่ : 8 ผังบัญชี หมายถึง โครงสร้างทีแสดงชือและเลขทีบัญชีทีใช้ในระบบบัญชี 5 หมวด คือ สินทรัพย์หนีสิน ส่วนของเจ้าของ รายได้และค่าใช้จ่าย กําหนดเลขที บัญชีอาจใช้ตัวเลขสองหลัก หรือ สามหลักก็ได้ขึนอยู่กับจํานวนบัญชีของกิจการ สินทรัพย์ ขึนต้นด้วยหมายเลข 1 หนีสิน ขึนต้นด้วยหมายเลข 2 ส่วนของเจ้าของ ขึนต้นด้วยหมายเลข 3 รายได้ ขึนต้นด้วยหมายเลข 4 ค่าใช้จ่าย ขึนต้นด้วยหมายเลข 5 หมวด ชือบัญชี เลขทีบัญชี สินทรัพย์ เงินสด เงินฝากธนาคาร ลูกหนี วัสดุสินเปลือง ค่าเช่าจ่ายล่วงหน้า ค่าบริการค้างรับ เครืองมือซ่อม ค่าเสือมราคาสะสม-เครืองมือซ่อม ยานพาหนะ ค่าเสือมราคาสะสม-ยานพาหนะ อาคาร ค่าเสือมราคาสะสม-อาคาร ทีดิน 101 102 102 104 105 106 107 108 109 110 111 112 113
  • 12. สาขาวิชา : การบัญชี ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006 หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี ใบเนื้อหา หน้าที่ 20 แผ่นที่ : 9 หมวด ชือบัญชี เลขทีบัญชี หนีสิน เจ้าหนี เงินกู้ ค่าบริการรับล่วงหน้า ค่าแรงงานค้างจ่าย 201 202 203 204 ส่วนของ เจ้าของ ทุน-เจ้าของกิจการ เงินถอน/ถอนใช้ส่วนตัว-เจ้าของกิจการ สรุปผลกําไรขาดทุน 301 302 303 รายได้ รายได้ค่าบริการ รายได้อืน 401 402 หมวด ชือบัญชี เลขทีบัญชี ค่าใช้จ่าย ค่าเช่า ค่าโฆษณา ค่าแรงงาน วัสดุสินเปลืองใช้ไป ค่านํา ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ค่าเสือมราคา-เครืองมือซ่อม ค่าเสือมราคา-ยานพาหนะ ค่าเสือมราคา-อาคาร ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด 501 502 503 504 505 506 507 508 509
  • 13. สาขาวิชา : การบัญชี ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006 หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี ใบเนื้อหา หน้าที่ 21 แผ่นที่ : 10 หมวด ชือบัญชี เลขทีบัญชี สินทรัพย์ เงินสด ลูกหนี ค่าเผือหนีสงสัยจะสูญ สินค้า ภาษีซือ วัสดุสํานักงาน ค่าโฆษณาจ่ายล่วงหน้า ค่านายหน้าจ่ายล่วงหน้า ลูกหนี-กรมสรรพากร 101 102 103 104 105 106 107 108 109 หมวด ชือบัญชี เลขทีบัญชี สินทรัพย์ อุปกรณ์สํานักงาน ค่าเสือมราคาสะสม-อุปกรณ์สํานักงาน ยานพาหนะ ค่าเสือมราคาสะสม-ยานพาหนะ อาคาร ค่าเสือมราคาสะสม-อาคาร ทีดิน 110 111 112 113 114 115 116 หนีสิน เจ้าหนี ภาษีขาย เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร เงินเดือนค้างจ่าย ภาษีหัก ณ ทีจ่าย 201 202 203 204 205
  • 14. สาขาวิชา : การบัญชี ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006 หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี ใบเนื้อหา หน้าที่ 22 แผ่นที่ : 11 หมวด ชือบัญชี เลขทีบัญชี หนีสิน เจ้าหนี เงินกู้ ค่าบริการรับล่วงหน้า ค่าแรงงานค้างจ่าย 201 202 203 204 ส่วนของ เจ้าของ ทุน-เจ้าของกิจการ เงินถอน/ถอนใช้ส่วนตัว-เจ้าของกิจการ สรุปผลกําไรขาดทุน 301 302 303 รายได้ รายได้ค่าบริการ รายได้อืน 401 402 หมวด ชือบัญชี เลขทีบัญชี ค่าใช้จ่าย ต้นทุนขาย ค่าขนส่งเข้า ค่าโฆษณา เงินเดือน วัสดุสินเปลืองใช้ไป ค่านํา ค่าไฟ ค่าโทรศัพท์ ค่าสมทบเงินประกันสังคม ค่าเสือมราคา-เครืองใช้สํานักงาน ค่าเสือมราคา-ยานพาหนะ ค่าเสือมราคา-อาคาร ค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด ภาษีเงินได้ 501 502 503 504 505 506 507 508 509 510 511 512
  • 15. สาขาวิชา : การบัญชี ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006 หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี ใบทดสอบ หน้าที่ 23 แผ่นที่ : 1 ตอนที่ 1 จงเลือกคําตอบที่ถูกต้องที่สุดเพียงข้อเดียว 1. “การบัญชีเป็นศิลปของการจดบันทึกรายการหรือเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับการเงิน ไว้ในรูปของเงินตรา จัด หมวดหมู่รายการเหล่านั้น สรุปผลพร้อมทั้งตีความหมายของผลอันนั้น” เป็นความหมายของการบัญชีของ หน่วยงานใด ก. AICPA ข. AAA ค. สมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทย ง. ถูกทุกข้อ 2. ผู้ที่ได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งการบัญชีคือใคร ก. หลุยส์ ปาสคาล ข. ชาลี แชปปลิน ค. ลูกา ปาซิโอลิ ง. ชาร์ล แบบเบจ 3. ข้อใดคือวัตถุประสงค์ของการบัญชี ก. เพื่อวัดผลการดําเนินงานและแสดงฐานะการเงินของกิจการ ข. เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการควบคุมขบวนการทํางานของพนักงานของกิจการ ค. เพื่อใช้เป็นข้อมูลแก่บุคคลที่สนใจ ง. ถูกทุกข้อ 4. บุคคลภายนอกที่ใช้ประโยชน์จากข้อมูลทางบัญชีคือบุคคลกลุ่มใด ก. นักลงทุน ข. เจ้าหนี้ ค. หน่วยงานของรัฐบาล ง. ถูกทุกข้อ 5. ตาม พ.ร.บ. การบัญชี พ.ศ. 2543 กําหนดให้ผู้สําเร็จการศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.) ทาง บัญชี ทําบัญชีให้กับธุรกิจประเภทและขนาดใดบ้าง ก. บริษัทและห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนที่มีทุนไม่เกิน 5 ล้านบาท รายได้รวมไม่เกิน 30 ล้านบาท และสินทรัพย์ รวมไม่เกิน 30 ล้านบาท ข. บริษัทและห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนที่มีทุนไม่เกิน 5 ล้านบาท รายได้รวมไม่เกิน 30 ล้านบาท และสินทรัพย์ รวมไม่เกิน 10 ล้านบาท ค. บริษัทและห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนที่มีทุนไม่เกิน 5 ล้านบาท รายได้รวมไม่เกิน 5 ล้านบาท และสินทรัพย์ รวมไม่เกิน 30 ล้านบาท ง. ทําได้ทุกธุรกิจ
  • 16. สาขาวิชา : การบัญชี ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006 หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี ใบทดสอบ หน้าที่ 24 แผ่นที่ : 2 6. บัญชีแยกประเภทที่มียอดคงเหลือปกติด้านเดบิตได้แก่บัญชีหมวดใด ก. สินทรัพย์และค่าใช้จ่าย ข. สินทรัพย์และหนี้สิน ค. ส่วนของเจ้าของและค่าใช้จ่าย ง. สินทรัพย์และส่วนของเจ้าของ จากโจทย์ต่อไปนี้ จงตอบคําถามข้อ 7 – ข้อ 8 สมุดรายวันทั่วไป หน้า 2 พ.ศ. 2547 รายการ เลขที่ บัญชี เดบิต เครดิต เดือน วันที่ บาท สต. บาท สต. พ.ค. 1 เงินสด จักรเย็บผ้า ทุน-นางสาวลาวดวงเดือน เจ้าของกิจการนําเงินสดและจักรเย็บผ้ามา ลงทุน 101 105 301 35,000 50,000 - - 85,000 - 4 จักรเย็บผ้า เจ้าหนี้ ซื้อจักรเย็บผ้าเป็นเงินเชื่อ 105 201 25,000 - 25,000 - 10 เงินสด รายได้ค่าตัดเย็บ รับค่าตัดเย็บเสื้อผ้า 101 401 3,500 - 3,500 - 15 ลูกหนี้ รายได้ค่าตัดเย็บ ให้บริการตัดเย็บเสื้อผ้าแต่ยังไม่ได้รับเงิน 103 401 1,500 - 1,500 - 7. รายการค้าที่เกิดขึ้นมีทั้งหมดกี่รายการ ก. รายการค้า 3 รายการ รายการเปิดบัญชี 1 รายการ ข. รายการค้า 1 รายการ รายการเปิดบัญชี 3 รายการ ค. รายการค้า 4 รายการ ง. รายการเปิดบัญชี 4 รายการ
  • 17. สาขาวิชา : การบัญชี ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006 หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี ใบทดสอบ หน้าที่ 25 แผ่นที่ : 3 8. บัญชีแยกประเภทจะมีทั้งหมดกี่บัญชี ก. 4 บัญชี ข. 5 บัญชี ค. 6 บัญชี ง. 7 บัญชี 9. งบทดลองก่อนปิดบัญชีจะประกอบด้วยบัญชีหมวดใดบ้าง ก. หมวด 1 - หมวด 3 ข. หมวด 4 - หมวด 5 ค. หมวด 1 - หมวด 4 ง. หมวด 1 - หมวด 5 10. สาเหตุที่งบทดลองไม่ลงตัวมีอะไรบ้าง ก. หายอดคงเหลือในบัญชีแยกประเภทผิด ข. นํารายการจากบัญชีแยกประเภทไปแสดงในงบทดลองไม่ครบถ้วน ค. นํารายการจากบัญชีแยกประเภทไปแสดงในงบทดลองผิดด้าน ง. ถูกทุกข้อ ตอนที่ 2 จงจับคู่ศัพท์ดังต่อไปนี้ 1. การบัญชี ก. Auditor 2. นักลงทุน ข. Accounting Cycle 3. เจ้าหนี้ ค. Adjustment 4. ผู้สอบบัญชี ง. General Ledger 5. วงจรบัญชี จ. Opening Entries
  • 18. สาขาวิชา : การบัญชี ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006 หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี ใบทดสอบ หน้าที่ 26 แผ่นที่ : 4 6. สมุดรายวันขั้นต้น ช. Closing Entries 7. สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป ซ. Creditor 8. รายงานทางการเงิน ฌ. Purchases Journal 9. รายการบัญชี ญ. Book of Primary Entry 10. สมุดบัญชี ฎ. Ledger 11. รายการเปิดบัญชี ฏ. Investor 12. สมุดรายวันเฉพาะ ฐ. Chart of Accounts 13. รายการปรับปรุง ฑ. Subsidiary Ledger 14. รายการปิดบัญชี ฒ. Business Transaction 15. บัญชีชั่วคราว ณ. Book of Account 16. สมุดรายวันขาย ด. Sales Journal 17. สมุดรายวันซื้อ ต. Accounting 18. สมุดรายวันรับเงิน ถ. Work Sheet 19. สมุดรายวันจ่ายเงิน ท. Financial Statement 20. สมุดบัญชีแยกประเภท ธ. Adjusted Trial Balance 21. สมุดบัญชีแยกประเภทย่อย น. Trial Balance After Closing 22. บัญชีคุมยอด บ. Accounting Transaction 23. งบทดลอง ป. Special Journal 24. งบทดลองหลังรายการปรับปรุง ผ. Controlling Account 25. งบทดลองหลังปิดบัญชี ฝ. Cash Receipts Journal 26. งบกําไรขาดทุน พ. Trial Balance 27. งบดุล ฟ. Cash Disbursement Journal 28. กระดาษทําการ ภ. Temporary Accounts 29. รายการค้า ม. Profit and Loss Statement 30. ผังบัญชี ย. Balance Sheet
  • 19. สาขาวิชา : การบัญชี ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006 หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี ใบทดสอบ หน้าที่ 27 แผ่นที่ : 5 ตอนที่ 3 จงตอบคําถามต่อไปนี้ 1. จงบอกความหมายของการบัญชี 2. จงบอกวัตถุประสงค์ของการบัญชี 3. บุคคลที่ใช้ประโยชน์จากข้อมูลการบัญชีมีกี่กลุ่ม ใครบ้าง 4. จงอธิบายแม่บทการบัญชี 5. จงอธิบายความหมายของวงจรบัญชี 6. รายการเปิดบัญชีหมายถึงอะไร แบ่งได้กี่กรณี อะไรบ้าง จงอธิบาย 7. จงอธิบายความหมายของรายการค้าระหว่างงวด 8. สมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกรายการค้ามีกี่ประเภท อะไรบ้าง 9. รายการปรับปรุงจะเกิดขึ้นเมื่อใด และบันทึกในสมุดรายวันขั้นต้นเล่มใด 10. รายการปิดบัญชีหมายถึงอะไร เกิดขึ้นเมื่อใด บันทึกในสมุดรายวันขั้นต้นเล่มใด 11. สมุดที่ใช้บันทึกรายการค้ามีกี่ประเภท อะไรบ้าง 12. จงอธิบายความหมายของสมุดรายวันเฉพาะ พร้อมทั้งยกตัวอย่างด้วย 13. งบทดลอง หมายถึงอะไร จงอธิบาย 14. รายงานทางการเงินหมายถึงอะไร จงอธิบาย
  • 20. สาขาวิชา : การบัญชี ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006 หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี ใบเฉลยใบทดสอบ หน้าที่ 28 แผ่นที่ : 1 เฉลย ตอนที่ 1 1 2 3 4 5 6 7 8 9 10 ก ค ง ง ก ก ก ค ง ง เฉลย ตอนที่ 2 ตอนที่ 2 จงจับคู่ศัพท์ดังต่อไปนี้ ต 1. การบัญชี ก. Auditor ฏ 2. นักลงทุน ข. Accounting Cycle ซ 3. เจ้าหนี้ ค. Adjustment ก 4. ผู้สอบบัญชี ง. General Ledger ข 5. วงจรบัญชี จ. Opening Entries ญ 6. สมุดรายวันขั้นต้น ช. Closing Entries ง 7. สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป ซ. Creditor ท 8. รายงานทางการเงิน ฌ. Purchases Journal บ 9. รายการบัญชี ญ. Book of Primary Entry ณ 10. สมุดบัญชี ฎ. Ledger
  • 21. สาขาวิชา : การบัญชี ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006 หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี ใบเฉลยใบทดสอบ หน้าที่ 29 แผ่นที่ : 2 จ 11. รายการเปิดบัญชี ฏ. Investor ป 12. สมุดรายวันเฉพาะ ฐ. Chart of Accounts ค 13. รายการปรับปรุง ฑ. Subsidiary Ledger ช 14. รายการปิดบัญชี ฒ. Business Transaction ภ 15. บัญชีชั่วคราว ณ. Book of Account ด 16. สมุดรายวันขาย ด. Sales Journal ฌ 17. สมุดรายวันซื้อ ต. Accounting ฝ 18. สมุดรายวันรับเงิน ถ. Work Sheet ฟ 19. สมุดรายวันจ่ายเงิน ท. Financial Statement ฎ 20. สมุดบัญชีแยกประเภท ธ. Adjusted Trial Balance ฑ 21. สมุดบัญชีแยกประเภทย่อย น. Trial Balance After Closing ผ 22. บัญชีคุมยอด บ. Accounting Transaction พ 23. งบทดลอง ป. Special Journal ธ 24. งบทดลองหลังรายการปรับปรุง ผ. Controlling Account น 25. งบทดลองหลังปิดบัญชี ฝ. Cash Receipts Journal ม 26. งบกําไรขาดทุน พ. Trial Balance ย 27. งบดุล ฟ. Cash Disbursement Journal ถ 28. กระดาษทําการ ภ. Temporary Accounts ฒ 29. รายการค้า ม. Profit and Loss Statement ฐ 30. ผังบัญชี ย. Balance Sheet
  • 22. สาขาวิชา : การบัญชี ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006 หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี ใบเฉลยใบทดสอบ หน้าที่ 30 แผ่นที่ : 3 ตอนที่ 3 จงตอบคําถามต่อไปนี้ 1. จงบอกความหมายของการบัญชี ศิลปะของการเก็บรวบรวม บันทึก จําแนก และทําสรุปข้อมูลอันเกี่ยวกับเหตุการณ์ทางเศรษฐกิจในรูปตัว เงิน ผลงานขั้นสุดท้ายของการบัญชีก็คือ การให้ข้อมูลทางการเงินซึ่งเป็นประโยชน์แก่บุคคลหลายฝ่าย และผู้ที่ สนใจในกิจกรรมของกิจการ 2. จงบอกวัตถุประสงค์ของการบัญชี 1. เพื่อจดบันทึกรายการค้าของกิจการอย่างเป็นระบบเรียงตามลําดับเหตุการณ์ก่อนหลัง 2. เพื่อวัดผลการดําเนินงานและแสดงฐานะทางการเงินของกิจการ 3. เพื่อใช้เป็นข้อมูลประกอบการวางแผน ควบคุมและตัดสินใจเกี่ยวกับการดําเนินงานของกิจการในอนาคต 4. เพื่อให้เป็นไปตามข้อกําหนดของกฎหมายเกี่ยวกับการบัญชี 5. เพื่อใช้เป็นเครื่องมือในการควบคุมขบวนการทํางานของพนักงานของกิจการ 6. เพื่อใช้เป็นข้อมูลแก่หน่วยงานของภาครัฐบาลในการจัดเก็บภาษี และควบคุมการบริหารงานของกิจการ 7. เพื่อใช้เป็นข้อมูลแก่บุคคลที่สนใจ เช่น นักลงทุน สถาบันการเงินที่กิจการขอสินเชื่อ 3. บุคคลที่ใช้ประโยชน์จากข้อมูลการบัญชีมีกี่กลุ่ม ใครบ้าง 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ บุคคลภายนอกกิจการ 1. นักลงทุน (Investor) ใช้ข้อมูลทางการบัญชีเพื่อประกอบการตัดสินใจในการลงทุนซื้อหุ้น 2. เจ้าหนี้ (Creditor) ใช้ข้อมูลทางการบัญชีเพื่อประกอบการพิจารณาให้สินเชื่อ วิเคราะห์ความสามารถใน การชําระหนี้และจ่ายดอกเบี้ยของกิจการ 3. ผู้สอบบัญชี (Auditor) ใช้ข้อมูลทางการบัญชีเพื่อตรวจสอบว่ากิจการบันทึกบัญชีถูกต้องตามหลักการบัญชีที่ รับรองกันโดยทั่วไปหรือไม่ ก่อนที่จะลงนามรับรองรายงานทางการเงินหรืองบการเงิน 4. หน่วยงานของรัฐบาล (Goverment) เช่น กรมสรรพากร กรมพัฒนาธุรกิจการค้า ใช้ข้อมูลทางการบัญชีเพื่อ เป็นข้อมูลในการคํานวณและจัดเก็บภาษีเงินได้ อันเป็นรายได้หลักของภาครัฐบาลและเพื่อควบคุมให้เป็นไป ตามข้อกําหนดของกฎหมาย
  • 23. สาขาวิชา : การบัญชี ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006 หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี ใบเฉลยใบทดสอบ หน้าที่ 31 แผ่นที่ : 4 บุคคลภายในกิจการ 1. ฝ่ายบริหาร (Management) ใช้ข้อมูลทางการบัญชีเพื่อประกอบการวางแผน วิเคราะห์ ควบคุมและ การตัดสินใจเกี่ยวกับการดําเนินงานของกิจการ 2. ฝ่ายพนักงาน (Employee) ใช้ข้อมูลทางการบัญชีเพื่อประกอบการพิจารณาผลตอบแทนในการจ้าง ตลอดจนพิจารณาความมั่นคงของกิจการ 4. จงอธิบายแม่บทการบัญชี แม่บทการบัญชีกําหนดขึ้นโดยสมาคมนักบัญชีและผู้สอบบัญชีรับอนุญาตแห่งประเทศไทยแทนข้อสมมติขั้น มูลฐานของการบัญชี เพื่อวางแนวคิดที่เป็นพื้นฐานในการจัดทําและนําเสนองบการเงินแก่ผู้ใช้งบการเงินที่เป็น บุคคลภายนอก 5. จงอธิบายความหมายของวงจรบัญชี วงจรบัญชี (Accounting Cycle) หมายถึง ขั้นตอนการบันทึกบัญชี ตั้งแต่วันต้นงวดจนถึงวันสิ้นงวด เริ่มต้นด้วยการบันทึกรายการในสมุดรายวันขั้นต้น (Book of Primary Entry) ผ่านรายการ (Posting) ไปสมุด บัญชีแยกประเภททั่วไป (General Ledger) สรุปผลและจัดทํารายงานทางการเงิน (Financial Statement) สําหรับหนึ่งรอบระยะเวลาบัญชี 6. รายการเปิดบัญชีหมายถึงอะไร แบ่งได้กี่กรณี อะไรบ้าง จงอธิบาย รายการเปิดบัญชี (Opening Entries) หมายถึง รายการแรกที่บันทึกในสมุดรายวันทั่วไปในวันต้นงวด การ เปิดบัญชีแบ่งออกเป็น 2 กรณี ตามงวดบัญชี ดังนี้ 1.1 งวดบัญชีแรก การเปิดบัญชี คือ การบันทึกรายการเกี่ยวกับสินทรัพย์ และหนี้สิน (ถ้ามี) ที่เจ้าของกิจการ นํามาลงทุน 1.2 งวดบัญชีที่มิใช่งวดบัญชีแรก รายการเปิดบัญชี คือ การบันทึกรายการเกี่ยวกับยอดคงเหลือยกมาจากงวด บัญชีก่อนงวดปัจจุบัน อันประกอบด้วยหมวดสินทรัพย์หนี้สินและส่วนของเจ้าของ 7. จงอธิบายความหมายของรายการค้าระหว่างงวด รายการค้าระหว่างงวด (Business Transaction) หมายถึง กิจกรรมที่ก่อให้เกิดการโอนเงินระหว่างกิจการกับ บุคคลภายนอก รายการค้าระหว่างวดจะเกิดขึ้นได้ตั้งแต่วันต้นงวดจนถึงวันสิ้นงวด สมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึก เกี่ยวกับรายการค้าระหว่างงวดมี 2 ประเภท คือ สมุดรายวันทั่วไป (General Journal) และสมุดรายวันเฉพาะ (Special Journal)
  • 24. สาขาวิชา : การบัญชี ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006 หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี ใบเฉลยใบทดสอบ หน้าที่ 32 แผ่นที่ : 5 8. สมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกรายการค้ามีกี่ประเภท อะไรบ้าง มี 2 ประเภท 1. สมุดรายวันทั่วไป (General Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกรายการเปิดบัญชี รายการ ปรับปรุง รายการปิดบัญชี และรายการค้าทั่วไปสําหรับกิจการที่มิได้มีสมุดบันทึกเฉพาะเรื่อง 2. สมุดรายวันเฉพาะ (Special Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกรายการเฉพาะเรื่อง เช่น - สมุดรายวันขาย (Sales Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกเฉพาะ การขายเป็นเงินเชื่อเท่านั้น - สมุดรายวันซื้อ(Purchases Journal)เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกเฉพาะการซื้อเป็นเงินเชื่อเท่านั้น - สมุดรายวันรับเงิน (Cash Receipts Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกเฉพาะรายการรับเงิน เท่านั้น - สมุดรายวันจ่ายเงิน (Cash Disbursement Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกเฉพาะรายการ จ่ายเงินเท่านั้น 9. รายการปรับปรุงจะเกิดขึ้นเมื่อใด และบันทึกในสมุดรายวันขั้นต้นเล่มใด รายการปรับปรุง (Adjustment) หมายถึง รายการบันทึกเพิ่มเติม หรือแก้ไขรายการที่บันทึกบัญชีไปแล้ว ทั้งนี้ เพื่อให้เป็นไปตามข้อสมมติขั้นมูลฐานของการบัญชี หลักการเกิดขึ้นของรายได้ และหลักเงินค้าง รายการปรับปรุง อาจบันทึกในระหว่างงวด (กรณีพบข้อผิดพลาดในการบันทึกบัญชี) หรือบันทึกรายการปรับปรุงในวันสิ้นงวด บัญชี โดยบันทึกในสมุดรายวันทั่วไป 10. รายการปิดบัญชีหมายถึงอะไร เกิดขึ้นเมื่อใด บันทึกในสมุดรายวันขั้นต้นเล่มใด รายการปิดบัญชี (Closing Entries) หมายถึง การบันทึกรายการปิดบัญชีหมวดชั่วคราว (Temporary Accounts) อันได้แก่ หมวดรายได้ และหมวดค่าใช้จ่าย เข้าบัญชีสรุปผลกําไรขาดทุน และปิดบัญชีสรุปผลกําไร ขาดทุนเข้าบัญชีทุน หรือบัญชีกระแสทุน หรือบัญชีกําไรสะสม ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับรูปแบบของธุรกิจ คือ กิจการเจ้าของ คนเดียว ห้างหุ้นส่วน หรือบริษัทจํากัด การปิดบัญชีเป็นไปตามข้อสมมติขั้นมูลฐานของการบัญชี หลักรอบเวลา รายการปิดบัญชีจะบันทึกในสมุดรายวันทั่วไป
  • 25. สาขาวิชา : การบัญชี ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006 หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี ใบเฉลยใบทดสอบ หน้าที่ 33 แผ่นที่ : 6 11. สมุดที่ใช้บันทึกรายการค้ามีกี่ประเภท อะไรบ้าง สมุดบัญชีที่ใช้บันทึกรายการ แบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ 1. สมุดรายวัน (Journal) หมายถึง สมุดบัญชีขั้นต้น (Book of Primary Entry หรือ Book of Original Entry) ที่ใช้บันทึกรายการเรียงตามลําดับวันต่อวัน สมุดรายวันแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ 1.1 สมุดรายวันทั่วไป (General Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกรายการเปิดบัญชี รายการปรับปรุง รายการปิดบัญชี และรายการค้าทั่วไปสําหรับกิจการที่มิได้มีสมุดบันทึกเฉพาะเรื่อง 1.2 สมุดรายวันเฉพาะ (Special Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกรายการเฉพาะเรื่อง เช่น สมุดรายวันขาย (Sales Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกเฉพาะ การขายเป็นเงิน เชื่อเท่านั้น สมุดรายวันซื้อ (Purchases Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกเฉพาะการซื้อเป็น เงินเชื่อเท่านั้น สมุดรายวันรับเงิน (Cash Receipts Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกเฉพาะ รายการรับเงินเท่านั้น สมุดรายวันจ่ายเงิน (Cash Disbursement Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึก เฉพาะรายการจ่ายเงินเท่านั้น 2. สมุดบัญชีแยกประเภท (Ledger) หมายถึง สมุดบัญชีที่ใช้บันทึกรายการต่อจากสมุดรายวัน การนํา รายการที่บันทึกในสมุดรายวันมาบันทึกในสมุดบัญชีแยกประเภท เรียกว่า การผ่านรายการ (Posting) สมุดบัญชี แยกประเภทแบ่งออกได้เป็น 2 ประเภท คือ 2.1 สมุดบัญชีแยกประเภททั่วไป (General Ledger) เป็นสมุดที่ใช้บันทึกแยกเป็นประเภทตามหมวด บัญชี 5 หมวด คือ หมวดสินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ รายได้และค่าใช้จ่าย 2.2 สมุดบัญชีแยกประเภทย่อย (Subsidiary Ledger) เป็นสมุดที่ใช้บันทึกรายละเอียดของบัญชีแยก ประเภททั่วไป เช่น บัญชีแยกประเภททั่วไปเจ้าหนี้ จะมีบัญชีแยกประเภทย่อยเป็นรายชื่อเจ้าหนี้แต่ละราย พร้อม จํานวนเงิน หากนําจํานวนเงินในบัญชีแยกประเภทย่อยเจ้าหนี้ทุกรายรวมกัน จะมีจํานวนเงินเท่ากับจํานวนเงิน ในบัญชีแยกประเภททั่วไปเจ้าหนี้ บัญชีแยกประเภททั่วไปที่มีบัญชีแยกประเภทย่อยแสดงรายละเอียด เรียกบัญชี แยกประเภททั่วไปบัญชีนั้นว่าบัญชีคุมยอด (Controlling Account) อย่างไรก็ตามบัญชีแยกประเภททั่วไปไม่ จําเป็นต้องมีบัญชีแยกประเภทย่อยแสดงรายละเอียดทุกบัญชี
  • 26. สาขาวิชา : การบัญชี ชื่อวิชา : การบัญชีการเงิน รหัสวิชา 3200 - 1006 หัวข้อ : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี ใบเฉลยใบทดสอบ หน้าที่ 34 แผ่นที่ : 7 12. จงอธิบายความหมายของสมุดรายวันเฉพาะ พร้อมทั้งยกตัวอย่างด้วย สมุดรายวันเฉพาะ (Special Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกรายการเฉพาะเรื่อง เช่น - สมุดรายวันขาย (Sales Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกเฉพาะ การขายเป็นเงินเชื่อเท่านั้น - สมุดรายวันซื้อ (Purchases Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกเฉพาะการซื้อเป็นเงินเชื่อเท่านั้น - สมุดรายวันรับเงิน (Cash Receipts Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกเฉพาะรายการรับเงินเท่านั้น - สมุดรายวันจ่ายเงิน (Cash Disbursement Journal) เป็นสมุดรายวันขั้นต้นที่ใช้บันทึกเฉพาะรายการ จ่ายเงินเท่านั้น 13. งบทดลอง หมายถึงอะไร จงอธิบาย งบทดลอง (Trial Balance) เป็นรายงานที่สรุปข้อมูลภายหลังจากบันทึกรายการเปิดบัญชีและรายการค้า ระหว่างงวดบัญชีแล้ว หมวดบัญชีที่ปรากฏในงบทดลองนี้จะมีครบทั้ง 5 หมวดคือ หมวดสินทรัพย์ หนี้สิน ส่วนของเจ้าของ รายได้และค่าใช้จ่าย 14. รายงานทางการเงินหมายถึงอะไร จงอธิบาย รายงานทางการเงิน (Financial Sheet) เป็นรายงานที่แสดงผลของการดําเนินงานและฐานะทางการเงิน ของกิจการ รายงานทางการเงินที่สําคัญได้แก่ งบกําไรขาดทุน (Profit and Loss Statement หรือ Income Statement) และงบดุล (Balance Sheet) โดยงบกําไรขาดทุนเป็นรายงานทางการเงินที่แสดงผลการดําเนินงาน ว่าในหนึ่งรอบระยะเวลาบัญชีกิจการมีผลการดําเนินงานเป็นกําไรสุทธิ (Net Income หรือ Net Profit) หรือเป็น ขาดทุนสุทธิ (Net Loss) ส่วนงบดุลเป็นรายงานที่แสดงฐานะทางการเงินว่า ณ วันใดวันหนึ่ง กิจการมีสินทรัพย์ หนี้สินและส่วนของเจ้าของเท่าใด เพื่อให้การจัดทํารายงานทางการเงินเป็นไปด้วยความสะดวกและรวดเร็ว อาจ จัดทํากระดาษทําการ (Work Sheet หรือ Working Paper) ขึ้นมาก่อนโดยนําข้อมูลจากงบทดลอง และรายการ ปรับปรุง
  • 28. แผนการสอนภาคทฤษฎี (TEACHING PLAN) หน้าที่ : 36 หลักสูตร : ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 วิชา : การบัญชีการเงิน เรื่อง : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี MIAP วัตถุประสงค์ วิธีสอน สื่อที่ใช้ เวลา/นาที M แนะนํารายวิชา การบัญชีการเงิน กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจและตรวจสอบความรู้พื้นฐาน ถาม-ตอบ P.P. 10 5 I 1. บอกความหมายของการบัญชี ได้ถูกต้อง 2. อธิบายประวัติของการบัญชีได้ถูกต้อง บรรยาย P.P. 20 A ทําการทดสอบตามวัตถุประสงค์ ผู้เรียนทํา แบบทดสอบ ใบทดสอบ 10 P ขั้นสําเร็จ - เฉลยแบบทดสอบ - ตรวจ ปรับ ถาม-ตอบ ใบเฉลย 10
  • 29. แผนการสอนภาคทฤษฎี (TEACHING PLAN) หน้าที่ : 37 หลักสูตร : ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 วิชา : การบัญชีการเงิน เรื่อง : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี MIAP วัตถุประสงค์ วิธีสอน สื่อที่ใช้ เวลา/นาที M กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจและตรวจสอบความรู้พื้นฐาน ถาม-ตอบ P.P. 10 5 I 3. อธิบายวัตถุประสงค์และประโยชน์ของข้อมูลการ บัญชีได้ 4. อธิบายแม่บทการบัญชีได้ บรรยาย P.P. 20 A ทําการทดสอบตามวัตถุประสงค์ ผู้เรียนทํา แบบทดสอบ ใบทดสอบ 10 P ขั้นสําเร็จ - เฉลยแบบทดสอบ - ตรวจ ปรับ ถาม-ตอบ ใบเฉลย 10
  • 30. แผนการสอนภาคทฤษฎี (TEACHING PLAN) หน้าที่ : 38 หลักสูตร : ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 วิชา : การบัญชีการเงิน เรื่อง : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี MIAP วัตถุประสงค์ วิธีสอน สื่อที่ใช้ เวลา/นาที M กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจและตรวจสอบความรู้พื้นฐาน ถาม-ตอบ P.P. 10 5 I 5. อธิบายพระราชบัญญํติการบัญชี พ.ศ. 2543 ได้ ถูกต้อง บรรยาย P.P. 20 A ทําการทดสอบตามวัตถุประสงค์ ผู้เรียนทํา แบบทดสอบ ใบทดสอบ 10 P ขั้นสําเร็จ - เฉลยแบบทดสอบ - ตรวจ ปรับ ถาม-ตอบ ใบเฉลย 10
  • 31. แผนการสอนภาคทฤษฎี (TEACHING PLAN) หน้าที่ : 39 หลักสูตร : ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง พุทธศักราช 2546 วิชา : การบัญชีการเงิน เรื่อง : ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการบัญชี MIAP วัตถุประสงค์ วิธีสอน สื่อที่ใช้ เวลา/นาที M กระตุ้นให้ผู้เรียนเกิดความสนใจและตรวจสอบความรู้พื้นฐาน ถาม-ตอบ P.P. 10 5 I 6. อธิบายวงจรบัญชีได้ถูกต้อง 7. อธิบายความหมายของผังบัญชีได้ถูกต้อง บรรยาย P.P. 20 A ทําการทดสอบตามวัตถุประสงค์ ผู้เรียนทํา แบบทดสอบ ใบทดสอบ 10 P ขั้นสําเร็จ - เฉลยแบบทดสอบ - ตรวจ ปรับ ถาม-ตอบ ใบเฉลย 10