SlideShare a Scribd company logo
1 of 25
Download to read offline
บทที่ 3 
แนวปฏิบัติด้านความรับผิดชอบ 
ต่อสังคมของกิจการ
8 แนวทางเพื่อ บรรลุเป้าหมายธุรกิจที่ มี CSR
“ธุรกิจไม่สามารถประสบความสาเร็จได้ในสังคมที่ล้มเหลว” (Business cannot succeed in a society that fails) 
Bjorn Stigson 
ประธานสภาธุรกิจโลกเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน (WBCSD)
สิ่ง แวดล้อม 
สังคม 
กิจการ 
G 
E 
S 
CSR
สิ่ง แวดล้อม 
สังคม 
กิจการ 
Profit 
CSR 
People 
Planet
CSR 4 ขั้น 
ขั้นที่ 1 - Mandatory level : ข้อกาหนดตามกฎหมาย 
ขั้นที่ 2 - Elementary level : ประโยชน์ทางเศรษฐกิจ 
ขั้นที่ 3 - Preemptive level : จรรยาบรรณทางธุรกิจ 
ขั้นที่ 4 - Voluntary level : ความสมัครใจ
กิจการ 
Profit 
ทากาไรอย่างไร ที่ อย่าให้ผู้อื่นว่าเอาได้ 
ตรวจสอบได้ 
อธิบายได้ 
เชื่อถือได้ 
1
ประชาชนทั่วไป คู่แข่งขันทางธุรกิจ 
ลูกค้า คู่ค้า ครอบครัวของพนักงาน ชุมชนที่องค์กรตั้งอยู่ สิ่งแวดล้อมรอบข้าง 
ผู้ถือหุ้น ผู้บริหาร พนักงาน 
© สงวนลิขสิทธิ์ โดยสถาบันไทยพัฒน์
© สงวนลิขสิทธิ์ โดยสถาบันไทยพัฒน์ 
CSR มีกี่ชนิด
ไม่ต้องไปดูอื่นไกล ดูแลพนักงานของตัวเองให้ดีก่อน 
สุขภาพเงิน 
สุขภาพกาย 
สุขภาพใจ 
สังคม 
People 
2
ดูแลลูกค้า เท่ากับดูแลรายได้ จึงจะมีแรงทา CSR 
ซื่อตรง 
ปลอดภัย 
ไว้วางใจได้ 
สังคม 
People 
3
สนับสนุนคู่ค้า ตรงไปตรงมากับคู่แข่ง ธุรกิจปลอดโปร่ง 
ไม่โกง 
ไม่กัน 
ไม่กิน 
สังคม 
People 
4
ชุมชนอยู่ดี ธุรกิจอยู่ได้ ถ้าสังคมล้มละลาย ธุรกิจก็ตายเช่นกัน 
อย่าเป็นภาระ 
อย่าดูดาย 
อย่าไร้กลยุทธ์ 
สังคม 
People 
5
ความต้องการทางสังคม 
ความเชี่ยวชาญทางธุรกิจ 
CSR เชิงกลยุทธ์ 
+
อย่าติดหนี้ธรรมชาติ ยืมอะไรมาเยอะ ก็ใช้คืนอันนั้นให้มาก 
มีประสิทธิภาพ 
มีประสิทธิผล 
มีคุณค่า 
สิ่ง แวดล้อม 
Planet 
6
สร้างสรรค์-แบ่งปัน ดีกว่า ทาลาพัง-ลอกเลียน จะได้ยั่ง ยืน 
มีหัวคิด (เก่ง) 
มีจิตใจ (ดี) 
มีความเป็นผู้นา 
Profit 
กิจการ 
7
ตุ้ยนุ้ยมีส่วนก่อปัญหาโลกร้อน 
นักวิจัยเผย คนอ้วน มีส่วนก่อปัญหาโลกร้อน เพราะบริโภคเชื้อเพลิงและอาหารมากกว่าคนทั่วไป 
นายฟิล เอดเวิร์ดส และนายเอียน โรเบิร์ตส นักวิจัยของวิทยาลัยสุขอนามัยและเวชศาสตร์เขตร้อน แห่งลอนดอน ระบุในรายงาน ตีพิมพ์ใน วารสารแลนเซท เมื่อวันศุกร์ที่ผ่านมา (16 พ.ค.) ว่า สภาพการณ์ดังกล่าวช่วยเพิ่มปัญหาให้กับวิกฤติขาดแคลนอาหารและพลังงานราคาแพง 
"เมื่อเราอ้วนขึ้นมากเท่าไร ความรับผิดชอบต่อโลกก็มากขึ้นเท่านั้น" เอดเวิร์ดสกล่าว 
ปัจจุบันมีประชากรโลกในวัยผู้ใหญ่อย่างน้อย 400 ล้านคน ที่จัดว่าอ้วน ขณะที่องค์การอนามัยโลก (ฮู) คาดว่า ผู้ใหญ่ที่มีน้าหนักมากกว่าเกณฑ์ จะมีจานวนถึง 2,300 ล้านคน และคนอ้วนจะมีจานวนมากกว่า 700 ล้านคน ภายในปี 2558 
รายงานระบุว่า 40% ของประชากรโลก อยู่ในภาวะอ้วนโดยมีดัชนีมวลกาย (บีเอ็มไอ) ใกล้ระดับ 30 ขณะที่ประชาชนในหลายประเทศ มี น้าหนักตัวเข้าใกล้หรือเกินระดับดังกล่าวไปแล้ว โดยผู้ที่มีน้าหนักในเกณฑ์ปกติ จะมีค่าบีเอ็มไอระหว่าง 18-25 หากมากกว่า 25 จะจัดเป็นผู้ที่ มีน้าหนักเกินกว่ามาตรฐาน ส่วนมากกว่า 30 จะจัดอยู่ในกลุ่มอ้วน 
นักวิจัยพบว่า คนอ้วนต้องการพลังงานมากกว่าคนที่มีน้าหนักปกติถึง 18% ขณะที่คนผอม กินน้อยกว่า และ มักชอบเดินมากกว่านั่งรถยนต์ ทาให้คนผอมใช้เชื้อเพลิงน้อยกว่าทั้งในการขนส่ง และเกษตรกรรม ซึ่ง ปล่อยก๊าซโลกร้อนในสัดส่วนถึง 20% 
"การส่งเสริมให้ผู้คนมีน้าหนักตัวในเกณฑ์ปกติ จะช่วยลดความต้องการอาหาร และเชื้อเพลิงในโลก และทาให้ราคาอาหารลดลงด้วย" นักวิจัยกล่าวทิ้งท้าย 
(ที่มา: กรุงเทพธุรกิจ 18 พฤษภาคม 2551)
มี annual report มาทุกปี สิ้นปีนี้ ขอ CSR report ด้วย 
ทาจริง 
บอกตรง 
ครบถ้วน 
Profit 
กิจการ 
8
หลักการ แนวปฏิบัติ และมาตรฐานทาง CSR 
- UN Global Compact - OECD Guidelines - ISO 26000 
- GRI (Global Reporting Initiative) 
- ก.ล.ต.
เปรียบเทียบแนวปฏิบัติทาง CSR
การสนับสนุน 
การมีส่วนร่วม 
SUCCESSFUL CSR 
TOP-DOWN 
BOTTOM-UP
สถาบันไทยพัฒน์ 
การมีส่วนร่วมด้วยนวัตกรรม - Contribution by Innovation
Previous Project 
Current Project 
Next Project 
CSR in Process 
CSR Campus 
CSR Day! 
What CSR business are we in?
“เราไม่ได้ขอให้กิจการทาสิ่งที่ต่างไปจากการทาธุรกิจปกติ แต่ เรากาลังขอให้กิจการทาธุรกิจเช่นปกตินั้นด้วยวิธีการที่ แตกต่างจากเดิม” (We are not asking corporations to do something different from their normal business; we are asking them to do this normal business differently) 
Kofi Annan อดีตเลขาธิการสหประชาชาติ (UN)
ขอบคุณค่ะ 
ข้อมูลเพิ่มเติม: www.thaicsr.com

More Related Content

Viewers also liked

บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตบทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตRungnapa Rungnapa
 
Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 10 การบริหารโครงการ
บทที่ 10 การบริหารโครงการบทที่ 10 การบริหารโครงการ
บทที่ 10 การบริหารโครงการRungnapa Rungnapa
 
Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาRungnapa Rungnapa
 
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษารายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษาAttaporn Ninsuwan
 

Viewers also liked (9)

Ch6 new
Ch6 newCh6 new
Ch6 new
 
Slide3
Slide3Slide3
Slide3
 
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตบทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
 
Ch8
Ch8Ch8
Ch8
 
Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคา
 
case study Cp
case study Cpcase study Cp
case study Cp
 
บทที่ 10 การบริหารโครงการ
บทที่ 10 การบริหารโครงการบทที่ 10 การบริหารโครงการ
บทที่ 10 การบริหารโครงการ
 
Building construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคาBuilding construction 5หลังคา
Building construction 5หลังคา
 
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษารายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
รายงานการปฏิบัติงานสหกิจศึกษา
 

Similar to บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี

Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessSarinee Achavanuntakul
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527Chuchai Sornchumni
 
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงMetabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงUtai Sukviwatsirikul
 
Usana present sept 10
Usana present sept 10Usana present sept 10
Usana present sept 10topstarteam
 
การเดินทางของแนวคิด 1
การเดินทางของแนวคิด 1การเดินทางของแนวคิด 1
การเดินทางของแนวคิด 1Image plus Communication
 

Similar to บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี (8)

บทที่ 2
บทที่ 2บทที่ 2
บทที่ 2
 
Introduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable BusinessIntroduction to CSR and Sustainable Business
Introduction to CSR and Sustainable Business
 
พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527พระปกเกล้า20170527
พระปกเกล้า20170527
 
Smart Industry Vol.23
Smart Industry Vol.23Smart Industry Vol.23
Smart Industry Vol.23
 
H&f 2010
H&f 2010H&f 2010
H&f 2010
 
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุงMetabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
Metabolic syndrome หนังสือคู่มืออ้วนลงพุง
 
Usana present sept 10
Usana present sept 10Usana present sept 10
Usana present sept 10
 
การเดินทางของแนวคิด 1
การเดินทางของแนวคิด 1การเดินทางของแนวคิด 1
การเดินทางของแนวคิด 1
 

More from Rungnapa Rungnapa

บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐานบทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐานRungnapa Rungnapa
 
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัยบทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัยRungnapa Rungnapa
 
บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลบทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityบทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตบทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลังRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 7 การจัดการซัพพลายเชน
บทที่ 7 การจัดการซัพพลายเชนบทที่ 7 การจัดการซัพพลายเชน
บทที่ 7 การจัดการซัพพลายเชนRungnapa Rungnapa
 
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้งRungnapa Rungnapa
 

More from Rungnapa Rungnapa (17)

Ch9
Ch9Ch9
Ch9
 
Ch5
Ch5Ch5
Ch5
 
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐานบทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
บทที่ 3 แนวความคิดพื้นฐาน
 
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
บทที่2ความเสี่ยงภัยและการจัดการความเสี่ยง
 
บทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัยบทที่ 1 การจัดการประกันภัย
บทที่ 1 การจัดการประกันภัย
 
บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น บทที่1ความรู้เบื้องต้น
บทที่1ความรู้เบื้องต้น
 
บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2บทที่ 5 good corporate governance2
บทที่ 5 good corporate governance2
 
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาลบทที่ 4 บรรษัทภิบาล
บทที่ 4 บรรษัทภิบาล
 
บทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibilityบทที่ 2 corporate social responsibility
บทที่ 2 corporate social responsibility
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูลบทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
บทที่ 1 แนวคิดทั่วไปเกี่ยวกับฐานข้อมูล
 
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิตบทที่ 9 การควบคุมการผลิต
บทที่ 9 การควบคุมการผลิต
 
บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลังบทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง
บทที่ 8 การจัดการสินค้าคงคลัง
 
บทที่ 7 การจัดการซัพพลายเชน
บทที่ 7 การจัดการซัพพลายเชนบทที่ 7 การจัดการซัพพลายเชน
บทที่ 7 การจัดการซัพพลายเชน
 
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
 

บทที่ 3 แนวปฏิบัติที่ดี