SlideShare a Scribd company logo
NEW PROCESS DESIGN
1อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 2
แบ่งออกเป็น 3 ส่วน
1. การวางแผน
2. การเตรียมการผลิต
3. การผลิต
1. การออกแบบผลิตภัณฑ์และชิ้นส่วนประกอบ
2. การออกแบบกระบวนการผลิต
3. การออกแบบวิธีการปฏิบัติงาน
4. การออกแบบอุปกรณ์และเครื่องมือประกอบ
5. การออกแบบผังโรงงาน
6. การกาหนดเวลามาตรฐาน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 3
1. จัดหาและติดตั้งเครื่องจักรและอุปกรณ์สิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ
2. ทดสอบเครื่องจักร อุปกรณ์และวัสดุต่างๆที่ใช้ในการผลิต
3. กาหนดเส้นทางในการผลิตและออกแบบเอกสารต่าง ๆ ที่ใช้ในการ
ควบคุมการผลิต
4. กาหนดจุดควบคุมและมอบหมายผู้รับผิดชอบ
5. เลือกและฝึกหัดพนักงานให้ปฏิบัติงานตามวิธีที่กาหนดไว้
6. ทวนสอบวิธีการและความสัมพันธ์กับเวลามาตรฐานที่กาหนดไว้
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 4
1. ป้ องกันวิธีการทางานไม่ให้เกิดการเบี่ยงเบนจากมาตรฐาน
วิธีการทางานที่ตั้งไว้
2. พิจารณาตรวจสอบวิธีการทางานอย่างสม่าเสมอ เพื่อพัฒนา
ไปสู่วิธีการทางานที่ดีกว่า
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 5
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 6
1. การวางผังแบบที่ตั้งคงที่ (Fixed-location Layout)
2. การวางผังตามกระบวนการ (Process Layout)
3. การวางผังตามผลิตภัณฑ์ (Product Layout)
4. การวางผังแบบผสม (Hybrid/Combination Layout)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 7
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 8
1. พื้นที่ในการทางานที่มีจากัด ส่งผลให้การ
เลือกใช้อุปกรณ์การเคลื่อนย้ายที่จากัด
2. ระยะเวลาในการทางานที่จะต้องเป็นไปตาม
กาหนดการ
3. การบริหารจัดการและการประสานงานเพื่อให้
กลุ่มงานต่าง ๆ และวัสดุอุปกรณ์สามารถ
เคลื่อนย้ายเข้าพื้นที่เพื่อการทางานได้อย่าง
รวดเร็ว
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 9
• ใช้กับผลิตภัณฑ์ตามสั่ง(Customized) ที่มีปริมาณการผลิตไม่มาก แม้มีความหลากหลาย ของ
ผลิตภัณฑ์
• กระบวนการในการทางานคล้ายคลึงกัน เช่น เฟอร์นิเจอร์ไม้ ของเด็กเล่น งานพิมพ์ เป็นต้น
• กลุ่มของกระบวนการอาจเป็นการรวม กลุ่มของเครื่องจักรอุปกรณ์ (Machine Process)ที่ทางาน
อย่างเดียวกัน หรือเป็นการรวมกลุ่มตามหน้าที่งาน(Functional)
• วัตถุประสงค์ก็เพื่อให้ทางานที่หลากหลายได้โดยสะดวก งานบริการบางกลุ่ม ที่มีการจัดการผังการ
ให้บริการเป็นแบบนี้เช่น โรงพยาบาล ธนาคาร ห้องสมุด อู่ซ่อมรถ เป็นต้น
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 10
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 11
• มีความคล่องตัวในการปรับเปลี่ยนตารางการผลิต เพื่อรองรับความต้องการของ
ลูกค้า
• การใช้เครื่องมือที่มีความคล้ายคลึงกันรวมกลุ่มด้วยกัน ทาให้สามารถเลือกใช้
เครื่องจักรให้ตรงตามลักษณะงานได้ ซึ่งช่วยลดต้นทุนการผลิตโดยรวม
• พนักงานส่วนใหญ่จะเป็นแรงงานมีฝีมือและมีทักษะหลากหลาย
• ลักษณะงานที่แบ่งตามกระบวนการ เอื้ออานวยให้สามารถใช้ระบบค่าแรงจูง ใจ
แบบเดี่ยวได้
• การหยุดชะงักของงาน เนื่องจากปัญหาเครื่องจักรตัวใดตัวหนึ่งไม่ส่งผลต่อ
กระบวนการทั้งหมด เนื่องจากยังมีเครื่องจักรตัวอื่น ๆ ที่สามารถทาหน้าที่ชดเชย
กันได้
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 12
• ปัญหาในการเพิ่มผลิตภาพด้านเครื่องจักร เนื่องจากความหลากหลายของผลิตภัณฑ์
และความแปรปรวนในความต้องการของลูกค้า
• ปัญหาในการควบคุมต้นทุน อันเนื่องจากสินค้าคงค้างในระหว่างผลิต (In-process
Inventory) และต้นทุนค่าตั้งเครื่องอันเนื่องมาจากการปรับเปลี่ยนการผลิตบ่อย
• การรอคอยของกระบวนการ อันเนื่องมาจากความล่าช้าในการผลิตและการขนย้าย
ระหว่างแผนก
• ปัญหาในการจัดกาหนดการผลิตให้มีประสิทธิภาพสูงสุด และทันกับความต้อง การ
ของลูกค้าในกรณีที่มีการสั่งซื้อเข้ามามาก
• ปัญหาในการปรับเปลี่ยนการวางผังเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการขนย้าย
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 13
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 14
• เป็นลักษณะการวางผังที่เน้นการผลิตผลิตภัณฑ์ใน
ปริมาณสูง
• เครื่องจักรเครื่องมือในการผลิตจะเรียงตามขั้นตอนการ
ผลิตของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ตั้งแต่วัตถุดิบป้ อนเข้าจนเป็น
ผลิตภัณฑ์สาเร็จรูป
• สายการผลิตจะถูกออกแบบมา เพื่อให้การป้ อนของ
ชิ้นส่วนและวัตถุดิบเป็นไปอย่างต่อเนื่องและไม่ขาดตอน
• ชิ้นส่วนและผลิตภัณฑ์มักต้องเคลื่อนย้ายไปบนสายพาน
เพื่อให้เกิดความรวด เร็วในการผลิต
• เหมาะสาหรับการผลิตสินค้าแบบต่อเนื่องเป็นจานวน
มาก เช่น การผลิตรถยนต์ อาหาร เครื่องใช้ไฟฟ้ ารองเท้า
กีฬา เป็นต้น การวางผังในลักษณะนี้บางครั้งเรียกว่า Flow
Shop หรือ Assembly Line
ข้อดี
• เหมาะสาหรับการผลิตในปริมาณสูง
สูง
ในเวลาอันรวดเร็วและด้วยต้นทุนที่
ถูกลง
• พนักงานที่ทางานในสายการผลิต
ทางานเฉพาะอย่าง ต้องการทักษะใน
ระดับต่าทาให้ลดเวลาในการฝึกอบรม
ฝึกอบรม
และการเรียนรู้ และสามารถ
ควบคุมดูแลได้ง่าย
• สามารถคานวณต้นทุนค่าแรงได้
โดยง่าย
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 15
ข้อเสีย
• ไม่มีความคล่องตัวในการรองรับการ
ปรับเปลี่ยนของรูปแบบผลิตภัณฑ์
หรือกระบวนการ
• การหยุดชะงักในกระบวนการผลิต
อันเนื่องจากเหตุเสียหรือขัดข้องของ
เครื่องจักรในสายการผลิต
• ปัญหาในการลดการรอคอยและคอ
ขวดที่เกิดขึ้นในกระบวนการ
• การกระตุ้นให้พนักงานเกิดการพัฒนา
และเรียนรู้
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 16
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 17
1. การวางผังแบบเซล (Cellular) เป็นการ
รวมกลุ่มเครื่องจักรที่ทาหน้าที่คล้าย คลึง
กันเพื่อการผลิตชิ้นส่วนบางตัว หรือกลุ่ม
ชิ้นส่วนที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน
2. การวางผังแบบปรับเปลี่ยน (Flexible
Manufacturing Systems) เป็นการใช้
เครื่องจักรและระบบลาเลียงอัตโนมัติ ที่
สามารถปรับเปลี่ยนเพื่อรองรับผลิต-
ภัณฑ์ที่หลากหลาย
3. การวางผังแบบผลิตภัณฑ์ผสม (Mixed
Model Assembly-lines) เป็นการวางผังที่
รวมกลุ่มผลิตภัณฑ์บางกลุ่มเข้าด้วยกัน
บนสายการผลิตเดียวกัน เพื่อลดเวลาใน
การปรับเปลี่ยน
1. เพื่ออานวยความสะดวกแก่กระบวนการผลิต
2. เพื่อลดต้นทุนการขนย้ายให้น้อยที่สุด
3. เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์จากพื้นที่ที่มีอยู่อย่างเต็มที่
4. เพื่อให้สายการผลิตมีความยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลง
5. เพื่อเอื้ออานวยให้การสื่อสารระหว่างหัวหน้างานและพนักงานมี
ประสิทธิภาพสูงสุด และแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที
6. การวางผังเพื่อก่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ
7. ผังที่ดีต้องออกแบบเพื่อให้คนงานทางานได้อย่างสะดวก ปลอดภัย และ
ถูกหลักการยศาสตร์
8. ช่วยลดรอบเวลาในการผลิต
9. รองรับแผนการซ่อมบารุงต่าง ๆ
10. สนับสนุนการควบคุมการผลิตโดยวิสัย (Visual Control)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 18
1. ประเภทของเครื่องจักรและเครื่องมือในการผลิต โดยคานึงถึงผลิตภัณฑ์ที่ต้อง การผลิต
เป็นหลัก
2. จานวนเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิต ซึ่งต้องสัมพันธ์กับปริมาณการขายและการเติบโตใน
อนาคต
3. เนื้อที่สาหรับการติดตั้งเครื่องจักรและพื้นที่ในการทางาน
4. เนื้อที่สาหรับวางวัสดุ ซึ่งรวมถึงวัตถุดิบ วัสดุระหว่างผลิต และผลิตภัณฑ์สาเร็จรูป
รวมทั้งอุปกรณ์ที่ใช้ในการขนถ่ายวัสดุตลอดกระบวนการ
5. เนื้อที่สาหรับการให้บริการ เช่น ห้องทางาน ห้องอาหาร ห้องพยาบาลห้องน้า เป็นต้น
6. เนื้อที่สาหรับพนักงานและการปฏิบัติงานของคนงาน
7. การติดต่อกับแผนกงานอื่น ๆ ภายในโรงงาน
8. ผังของตัวอาคารและเนื้อที่ปฏิบัติงาน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 19
1. เพื่อขจัดหรือลดระยะทางในการขนถ่ายวัสดุให้น้อยลง
2. ปรับปรุงประสิทธิภาพของการขนถ่ายให้ดีขึ้น
3. เลือกใช้อุปกรณ์ในการขนถ่ายที่ถูกต้อง
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 20
• การลดระยะทางในการขนถ่ายวัสดุ จากการวิเคราะห์โดยแผนภูมิการเคลื่อนย้าย
(Flow
Process Chart) เช่น ระยะทางการขนย้ายยาวเกินไป วัสดุที่ขนถ่ายหนักเกินไป มี
อุบัติเหตุเนื่องจากการขนย้าย มีความเสียหายเกิดขึ้นกับผลิตภัณฑ์จากการขนย้าย
• แนวทางในการแก้ไขสามารถอาศัยแผนภูมิกระบวนการผลิต และแผนภาพการ
เคลื่อนย้ายช่วยในการวิเคราะห์เพื่อปรับปรุง ร่วมกับเทคนิคการตั้งคาถามต่าง ๆ ดัง
แสดงขั้นตอนการวิเคราะห์ในบทที่ 7 การขจัดและการลดระยะทางในการขนถ่ายมัก
เกิดขึ้นควบคู่ไปกับการพัฒนาการวางผังโรงงาน
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 21
การปรับปรุงประสิทธิภาพของการขนถ่ายวัสดุอาจพิจารณาโดยอาศัย Check list ต่อนี้คือ
1. บรรจุให้เต็มภาชนะขนย้ายทุกครั้ง
2. อุปกรณ์ขนถ่ายเคลื่อนย้ายได้สะดวกและรวดเร็ว
3. ขนถ่ายโดยอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลก
4. เครื่องมือขนถ่ายควรใช้งานได้หลากหลายหน้าที่ และขนถ่ายได้หลายประเภท
5. เคลื่อนย้ายในระยะทางตรงเสมอ
6. จัดให้มีอุปกรณ์เก็บของขนาดใหญ่ เช่น คอนเทนเนอร์ หรือหีบขนาดใหญ่เพื่อความ
สะดวกในการขนย้าย
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 22
ก. สายพานลาเลียง (Conveyors)
ข. รถบรรทุก (Trucks)
ค. รอกรางและรอกชัก (Rail and Hoist)
ง. อุปกรณ์บรรจุ (Containers)
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 23
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 24
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 25
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 26
1. คุณสมบัติของวัสดุ เช่น เป็นของแข็ง ของเหลว ชิ้นส่วนประกอบ รูปร่าง
ขนาดและน้าหนัก
2. ผังโรงงานและลักษณะของอาคาร ควรคานึงว่ามีเนื้อที่ในการขนถ่าย
วัสดุ
เพียงใด ซึ่งจะไม่ไปกีดขวางการทางานของพนักงานในบริเวณนั้น
3. ลักษณะของสายการผลิตเป็นแบบต่อเนื่องหรือเป็นกลุ่ม
4. การพิจารณาด้านต้นทุนค่าใช้จ่ายและความคุ้มค่า
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 27
สินค้าที่ผลิตคือ สินค้า A
จานวนสินค้าที่ต้องผลิต (จากการพยากรณ์) 48,000 หน่วย/ปี
เวลาทาการ ( 8 ชั่วโมง/วัน ปีละ 300 วัน) 2,400 ชั่วโมง/ปี
สินค้าที่ต้องการ เผื่อความเสียหาย 10%
ขั้นตอนการผลิต 3 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1,2 และ 3
ชนิดของเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิต ขั้นที่ 1 ใช้เครื่องจักร ก
ขั้นที่ 2 ใช้เครื่องจักร ข
ขั้นที่ 3 ใช้เครื่องจักร ค
เวลาในการผลิตโดยใช้
เครื่องจักร ก. 5 นาที/หน่วย
เครื่องจักร ข. 2.5 นาที/หน่วย
เครื่องจักร ค. 15 นาที/หน่วย
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 28
หาจานวนสินค้าที่ต้องการต่อชั่วโมงทางาน
= จานวนสินค้าที่ต้องการผลิต
เวลาทางาน
หาอัตราการทางานของเครื่องจักร
= ปริมาณการผลิตของเครื่องจักร
ชั่วโมง
หาจานวนเครื่องจักรที่ต้องการ
= อัตราการผลิตของเครื่องจักรทั้งหมด
อัตราการทางานของเครื่องจักรแต่ละเครื่อง
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 29
หาจานวนสินค้าที่ต้องการต่อชั่วโมงทางาน
= จานวนสินค้าที่ต้องการผลิต
เวลาทางาน
= 52,800
2,400
= 22 ชิ้นต่อชั่วโมง
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 30
เครื่องจักร ก. = 60 นาที/นาที/หน่วย
5
= 12 หน่วย/ชั่วโมง
เครื่องจักร ข. = 60 นาที/นาที/หน่วย
2.5
= 24 หน่วย/ชั่วโมง
เครื่องจักร ค. = 60 นาที/นาที/หน่วย
15
= 4 หน่วย/ชั่วโมง
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 31
เครื่องจักร ก. = 22 หน่วย/ชั่วโมง/หน่วย/ชั่วโมง
12
ต้องการเครื่องจักร ก. = 1.83 เครื่อง
เครื่องจักร ข. = 22 หน่วย/ชั่วโมง/หน่วย/ชั่วโมง
24
ต้องการเครื่องจักร ข. = 0.92 เครื่อง
เครื่องจักร ค. = 22 หน่วย/ชั่วโมง/หน่วย/ชั่วโมง
4
ต้องการเครื่องจักร ค. = 5.5 เครื่อง
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 32
รายละเอียดของการผลิตสินค้า 1 2 3
เวลาในการตั้งเครื่อง 30 50 10
เวลามาตรฐาน (หน่วย/นาที) 1 0.60 0.20
ความต้องการ (หน่วย/สัปดาห์) 1,000 5,000 2,500
จานวนครั้งของการตั้งเครื่อง (ครั้ง/สัปดาห์) 1 4 6
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 33
เวลาทางาน/สัปดาห์ 48 ชั่วโมงทางาน
เผื่อสินค้าเสียหาย 10%
จานวนเครื่องจักรที่ต้องการ = เวลาตั้งเครื่องจักร + เวลาที่ใช้ในการผลิตสินค้า 1,2,3
เวลาทางาน/สัปดาห์
สินค้า 1 อัตราการผลิต = 110 x 1,000 = 1,100 หน่วย/สัปดาห์
100
สินค้า 2 อัตราการผลิต = 110 x 5,000 = 5,500 หน่วย/สัปดาห์
100
สินค้า 3 อัตราการผลิต = 110 x 2,500 = 2,750 หน่วย/สัปดาห์
100
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 34
= จานวนเวลาตั้งเครื่อง x จานวนครั้งตั้งเครื่อง/สัปดาห์
60 นาที
สินค้า 1 = 30 x 1 = 0.50 ชั่วโมง/สัปดาห์
60
สินค้า 2 = 50 x 4 = 3.33 ชั่วโมง/สัปดาห์
60
สินค้า 3 = 10 x 6 = 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
60
ดังนั้น เวลาตั้งเครื่อง = 0.50 + 3.33 + 1 = 4.83 ชั่วโมง
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 35
เวลาที่ใช้ในการผลิต = เวลามาตรฐานต่อหน่วย x อัตราการผลิต
60 นาที
เวลาที่ใช้ในการผลิตสินค้า 1 = 1x1100 = 18.33 ชั่วโมง/สัปดาห์
60
เวลาที่ใช้ในการผลิตสินค้า 2 = 0.60x5500 = 55 ชั่วโมง/สัปดาห์
60
เวลาที่ใช้ในการผลิตสินค้า 3 = 0.20x2750 = 9.16 ชั่วโมง/สัปดาห์
60
ดังนั้นเวลาที่ใช้ในการผลิตสินค้า 1,2,3 เท่ากับ 18.33 + 55 + 9.16 = 82.49
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 36
จานวนเครื่องจักร ที่ต้องการ = เวลาตั้งเครื่องจักร + เวลาที่ใช้ในการผลิต
48 ชั่วโมง/สัปดาห์
= 4.83+82.49 = 87.32 = 1.81
48 48
เครื่องจักรที่ต้องการ = 2 เครื่อง
อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 37

More Related Content

What's hot

บทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางาน
บทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางานบทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางาน
บทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางาน
Teetut Tresirichod
 
บทที่ 16 การประเมินค่าอัตราความเร็ว
บทที่ 16 การประเมินค่าอัตราความเร็วบทที่ 16 การประเมินค่าอัตราความเร็ว
บทที่ 16 การประเมินค่าอัตราความเร็ว
Teetut Tresirichod
 
บทที่ 10 การวิเิคราะห์การปฏิบัติการ
บทที่ 10 การวิเิคราะห์การปฏิบัติการบทที่ 10 การวิเิคราะห์การปฏิบัติการ
บทที่ 10 การวิเิคราะห์การปฏิบัติการ
Teetut Tresirichod
 
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐานบทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
Teetut Tresirichod
 
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางานบทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
Teetut Tresirichod
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
Kitipan Kitbamroong Ph.D. CISA
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิต และการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
บทที่ 1การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืนบทที่ 1การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
บทที่ 1 การจัดการการผลิต และการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืนคนป่า เถื่อนๆ
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพ
Prakob Chantarakamnerd
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
Rungnapa Rungnapa
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
peter dontoom
 
การขายเบื้องต้น.ppt
การขายเบื้องต้น.pptการขายเบื้องต้น.ppt
การขายเบื้องต้น.ppt
Suppanut Wannapong
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
peter dontoom
 
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโครบทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
Teetut Tresirichod
 
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษาจิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จารุวรรณ ชื่นใจชน
 
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหวบทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
Teetut Tresirichod
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
Teetut Tresirichod
 
บทที่ 18 การศึกษาเวลาแบบพรีดีเทอร์มิน
บทที่ 18 การศึกษาเวลาแบบพรีดีเทอร์มินบทที่ 18 การศึกษาเวลาแบบพรีดีเทอร์มิน
บทที่ 18 การศึกษาเวลาแบบพรีดีเทอร์มิน
Teetut Tresirichod
 

What's hot (20)

บทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางาน
บทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางานบทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางาน
บทที่ 5 ภาพรวมของการศึกษางาน
 
บทที่ 16 การประเมินค่าอัตราความเร็ว
บทที่ 16 การประเมินค่าอัตราความเร็วบทที่ 16 การประเมินค่าอัตราความเร็ว
บทที่ 16 การประเมินค่าอัตราความเร็ว
 
บทที่ 10 การวิเิคราะห์การปฏิบัติการ
บทที่ 10 การวิเิคราะห์การปฏิบัติการบทที่ 10 การวิเิคราะห์การปฏิบัติการ
บทที่ 10 การวิเิคราะห์การปฏิบัติการ
 
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐานบทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
บทที่ 17 การกำหนดค่าเผื่อและการคำนวณเวลามาตรฐาน
 
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางานบทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
บทที่ 2 นิยามและขอบเขตของการศึกษางาน
 
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิตการวางแผนและการควบคุมการผลิต
การวางแผนและการควบคุมการผลิต
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิต และการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
บทที่ 1การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืนบทที่ 1การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
บทที่ 1 การจัดการการผลิต และการปฏิบัติการเพื่อความยั่งยืน
 
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการบทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
บทที่ 1 การจัดการการผลิตและการปฏิบัติการ
 
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพบทที 6 การจัดการคุณภาพ
บทที 6 การจัดการคุณภาพ
 
การควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพการควบคุมคุณภาพ
การควบคุมคุณภาพ
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิตบทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
บทที่ 4 การวางแผนกำลังการผลิต
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
ข้อสอบปลายภาค50ข้อexcel 07 2558
 
การขายเบื้องต้น.ppt
การขายเบื้องต้น.pptการขายเบื้องต้น.ppt
การขายเบื้องต้น.ppt
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
 
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโครบทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
บทที่ 11 การศึกษาการเคลื่อนไหวแบบไมโคร
 
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษาจิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
จิตวิทยาแนะแนวและการให้คำปรึกษา
 
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหวบทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
บทที่ 12 หลักเศรษฐศาสตร์ของการเคลื่อนไหว
 
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลักการบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
การบทที่ 4 การวางแผนและการจัดตารางการผลิตหลัก
 
บทที่ 18 การศึกษาเวลาแบบพรีดีเทอร์มิน
บทที่ 18 การศึกษาเวลาแบบพรีดีเทอร์มินบทที่ 18 การศึกษาเวลาแบบพรีดีเทอร์มิน
บทที่ 18 การศึกษาเวลาแบบพรีดีเทอร์มิน
 

Viewers also liked

บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการบทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไปบทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
Teetut Tresirichod
 
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรมบทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
Teetut Tresirichod
 
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจบทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
Teetut Tresirichod
 
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการกลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
tumetr
 
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงานบทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
Teetut Tresirichod
 
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newบทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
Rungnapa Rungnapa
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
Dr.Krisada [Hua] RMUTT
 
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารหน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
tumetr
 
Greeen bus plan green shop beleaf 15 june 2014
Greeen bus plan   green shop beleaf 15 june 2014Greeen bus plan   green shop beleaf 15 june 2014
Greeen bus plan green shop beleaf 15 june 2014Utai Sukviwatsirikul
 
หนังสือเล่มเล็กทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์
หนังสือเล่มเล็กทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์หนังสือเล่มเล็กทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์
หนังสือเล่มเล็กทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์
Chaiyot Jarates
 
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตบทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
Rungnapa Rungnapa
 

Viewers also liked (15)

บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการบทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
บทที่ 9 การวางผังสถานประกอบการ
 
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไปบทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
บทที่ 4 กระบวนการแก้ปัญหาโดยทั่วไป
 
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรมบทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
บทที่ 9 การวิเิคราะห์กิจกรรม
 
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจบทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
บทที่ 22 ระบบค่าแรงจูงใจ
 
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการกลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
กลยุทธ์การวางผังสถานประกอบการ
 
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงานบทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
บทที่ 21 ความเครียดในการทำงาน
 
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 5 การเลือกทำเลที่ตั้ง
 
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
บทที่ 5 การออกแบบผลิตภัณฑ์
 
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 newบทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
บทที่ 3 การออกแบบพัฒนาผลิตภัณฑ์และการบริการ2 new
 
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้งบทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
บทที่ 8 การเลือกทำเลที่ตั้ง
 
54101 engineer 3
54101 engineer 354101 engineer 3
54101 engineer 3
 
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหารหน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
หน่วยที่ 5.3.2 การสุขาภิบาลอาหาร
 
Greeen bus plan green shop beleaf 15 june 2014
Greeen bus plan   green shop beleaf 15 june 2014Greeen bus plan   green shop beleaf 15 june 2014
Greeen bus plan green shop beleaf 15 june 2014
 
หนังสือเล่มเล็กทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์
หนังสือเล่มเล็กทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์หนังสือเล่มเล็กทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์
หนังสือเล่มเล็กทฤษฎีสีกับการออกแบบเว็บไซต์
 
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิตบทที่  6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
บทที่ 6 การออกแบบงาน มาตรฐานแรงงาน และเทคโนโลยีการผลิต
 

More from Teetut Tresirichod

Process Model 5 for Moderated and Moderation Graph.pdf
Process Model 5 for Moderated and Moderation Graph.pdfProcess Model 5 for Moderated and Moderation Graph.pdf
Process Model 5 for Moderated and Moderation Graph.pdf
Teetut Tresirichod
 
Covariance-based Structural Equation Modeling (CB-SEM) Model Using SmartPLS4
Covariance-based Structural Equation Modeling (CB-SEM) Model Using SmartPLS4Covariance-based Structural Equation Modeling (CB-SEM) Model Using SmartPLS4
Covariance-based Structural Equation Modeling (CB-SEM) Model Using SmartPLS4
Teetut Tresirichod
 
Using JAMOVI in structural equation analysis
Using JAMOVI in structural equation analysisUsing JAMOVI in structural equation analysis
Using JAMOVI in structural equation analysis
Teetut Tresirichod
 
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
Teetut Tresirichod
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
Teetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Teetut Tresirichod
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Teetut Tresirichod
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
Teetut Tresirichod
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
Teetut Tresirichod
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Teetut Tresirichod
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
Teetut Tresirichod
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
Teetut Tresirichod
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
Teetut Tresirichod
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
Teetut Tresirichod
 
LINE OA
LINE OALINE OA
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
Teetut Tresirichod
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Teetut Tresirichod
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
Teetut Tresirichod
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
Teetut Tresirichod
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Teetut Tresirichod
 

More from Teetut Tresirichod (20)

Process Model 5 for Moderated and Moderation Graph.pdf
Process Model 5 for Moderated and Moderation Graph.pdfProcess Model 5 for Moderated and Moderation Graph.pdf
Process Model 5 for Moderated and Moderation Graph.pdf
 
Covariance-based Structural Equation Modeling (CB-SEM) Model Using SmartPLS4
Covariance-based Structural Equation Modeling (CB-SEM) Model Using SmartPLS4Covariance-based Structural Equation Modeling (CB-SEM) Model Using SmartPLS4
Covariance-based Structural Equation Modeling (CB-SEM) Model Using SmartPLS4
 
Using JAMOVI in structural equation analysis
Using JAMOVI in structural equation analysisUsing JAMOVI in structural equation analysis
Using JAMOVI in structural equation analysis
 
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์ (Strategic Leadership and Communication)
 
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdfบทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
บทที่ 1 ภาวะผู้นำและการสื่อสารเชิงกลยุทธ์โดยภาพรวม.pdf
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLSPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS
 
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking worldChapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
Chapter 3 SHRM in a changing and shrinking world
 
Chapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource managementChapter 2 Strategic human resource management
Chapter 2 Strategic human resource management
 
Chapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource managementChapter 1 Strategy and human resource management
Chapter 1 Strategy and human resource management
 
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdfPartial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
Partial Least Square Path Modeling with SmartPLS.pdf
 
การใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewerการใช้ VoSViewer
การใช้ VoSViewer
 
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdfการใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
การใช้โปรแกรม QDA Miner.pdf
 
SPSS software application.pdf
SPSS software application.pdfSPSS software application.pdf
SPSS software application.pdf
 
PSPP software application
PSPP software applicationPSPP software application
PSPP software application
 
LINE OA
LINE OALINE OA
LINE OA
 
Partial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adancoPartial least square path modeling with adanco
Partial least square path modeling with adanco
 
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technologyChapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
Chapter 10 creating an organizational image in innovation and technology
 
Chapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change managementChapter 9 business organization leadership and change management
Chapter 9 business organization leadership and change management
 
Chapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change managementChapter 8 concepts of change management
Chapter 8 concepts of change management
 
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st centuryChapter 7 technology development trends in the 21st century
Chapter 7 technology development trends in the 21st century
 

บทที่ 6 การออกแบบกระบวนการใหม่

  • 1. NEW PROCESS DESIGN 1อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ
  • 2. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 2 แบ่งออกเป็น 3 ส่วน 1. การวางแผน 2. การเตรียมการผลิต 3. การผลิต
  • 3. 1. การออกแบบผลิตภัณฑ์และชิ้นส่วนประกอบ 2. การออกแบบกระบวนการผลิต 3. การออกแบบวิธีการปฏิบัติงาน 4. การออกแบบอุปกรณ์และเครื่องมือประกอบ 5. การออกแบบผังโรงงาน 6. การกาหนดเวลามาตรฐาน อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 3
  • 4. 1. จัดหาและติดตั้งเครื่องจักรและอุปกรณ์สิ่งอานวยความสะดวกต่าง ๆ 2. ทดสอบเครื่องจักร อุปกรณ์และวัสดุต่างๆที่ใช้ในการผลิต 3. กาหนดเส้นทางในการผลิตและออกแบบเอกสารต่าง ๆ ที่ใช้ในการ ควบคุมการผลิต 4. กาหนดจุดควบคุมและมอบหมายผู้รับผิดชอบ 5. เลือกและฝึกหัดพนักงานให้ปฏิบัติงานตามวิธีที่กาหนดไว้ 6. ทวนสอบวิธีการและความสัมพันธ์กับเวลามาตรฐานที่กาหนดไว้ อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 4
  • 5. 1. ป้ องกันวิธีการทางานไม่ให้เกิดการเบี่ยงเบนจากมาตรฐาน วิธีการทางานที่ตั้งไว้ 2. พิจารณาตรวจสอบวิธีการทางานอย่างสม่าเสมอ เพื่อพัฒนา ไปสู่วิธีการทางานที่ดีกว่า อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 5
  • 7. 1. การวางผังแบบที่ตั้งคงที่ (Fixed-location Layout) 2. การวางผังตามกระบวนการ (Process Layout) 3. การวางผังตามผลิตภัณฑ์ (Product Layout) 4. การวางผังแบบผสม (Hybrid/Combination Layout) อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 7
  • 8. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 8 1. พื้นที่ในการทางานที่มีจากัด ส่งผลให้การ เลือกใช้อุปกรณ์การเคลื่อนย้ายที่จากัด 2. ระยะเวลาในการทางานที่จะต้องเป็นไปตาม กาหนดการ 3. การบริหารจัดการและการประสานงานเพื่อให้ กลุ่มงานต่าง ๆ และวัสดุอุปกรณ์สามารถ เคลื่อนย้ายเข้าพื้นที่เพื่อการทางานได้อย่าง รวดเร็ว
  • 9. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 9 • ใช้กับผลิตภัณฑ์ตามสั่ง(Customized) ที่มีปริมาณการผลิตไม่มาก แม้มีความหลากหลาย ของ ผลิตภัณฑ์ • กระบวนการในการทางานคล้ายคลึงกัน เช่น เฟอร์นิเจอร์ไม้ ของเด็กเล่น งานพิมพ์ เป็นต้น • กลุ่มของกระบวนการอาจเป็นการรวม กลุ่มของเครื่องจักรอุปกรณ์ (Machine Process)ที่ทางาน อย่างเดียวกัน หรือเป็นการรวมกลุ่มตามหน้าที่งาน(Functional) • วัตถุประสงค์ก็เพื่อให้ทางานที่หลากหลายได้โดยสะดวก งานบริการบางกลุ่ม ที่มีการจัดการผังการ ให้บริการเป็นแบบนี้เช่น โรงพยาบาล ธนาคาร ห้องสมุด อู่ซ่อมรถ เป็นต้น
  • 12. • มีความคล่องตัวในการปรับเปลี่ยนตารางการผลิต เพื่อรองรับความต้องการของ ลูกค้า • การใช้เครื่องมือที่มีความคล้ายคลึงกันรวมกลุ่มด้วยกัน ทาให้สามารถเลือกใช้ เครื่องจักรให้ตรงตามลักษณะงานได้ ซึ่งช่วยลดต้นทุนการผลิตโดยรวม • พนักงานส่วนใหญ่จะเป็นแรงงานมีฝีมือและมีทักษะหลากหลาย • ลักษณะงานที่แบ่งตามกระบวนการ เอื้ออานวยให้สามารถใช้ระบบค่าแรงจูง ใจ แบบเดี่ยวได้ • การหยุดชะงักของงาน เนื่องจากปัญหาเครื่องจักรตัวใดตัวหนึ่งไม่ส่งผลต่อ กระบวนการทั้งหมด เนื่องจากยังมีเครื่องจักรตัวอื่น ๆ ที่สามารถทาหน้าที่ชดเชย กันได้ อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 12
  • 13. • ปัญหาในการเพิ่มผลิตภาพด้านเครื่องจักร เนื่องจากความหลากหลายของผลิตภัณฑ์ และความแปรปรวนในความต้องการของลูกค้า • ปัญหาในการควบคุมต้นทุน อันเนื่องจากสินค้าคงค้างในระหว่างผลิต (In-process Inventory) และต้นทุนค่าตั้งเครื่องอันเนื่องมาจากการปรับเปลี่ยนการผลิตบ่อย • การรอคอยของกระบวนการ อันเนื่องมาจากความล่าช้าในการผลิตและการขนย้าย ระหว่างแผนก • ปัญหาในการจัดกาหนดการผลิตให้มีประสิทธิภาพสูงสุด และทันกับความต้อง การ ของลูกค้าในกรณีที่มีการสั่งซื้อเข้ามามาก • ปัญหาในการปรับเปลี่ยนการวางผังเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการขนย้าย อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 13
  • 14. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 14 • เป็นลักษณะการวางผังที่เน้นการผลิตผลิตภัณฑ์ใน ปริมาณสูง • เครื่องจักรเครื่องมือในการผลิตจะเรียงตามขั้นตอนการ ผลิตของผลิตภัณฑ์นั้น ๆ ตั้งแต่วัตถุดิบป้ อนเข้าจนเป็น ผลิตภัณฑ์สาเร็จรูป • สายการผลิตจะถูกออกแบบมา เพื่อให้การป้ อนของ ชิ้นส่วนและวัตถุดิบเป็นไปอย่างต่อเนื่องและไม่ขาดตอน • ชิ้นส่วนและผลิตภัณฑ์มักต้องเคลื่อนย้ายไปบนสายพาน เพื่อให้เกิดความรวด เร็วในการผลิต • เหมาะสาหรับการผลิตสินค้าแบบต่อเนื่องเป็นจานวน มาก เช่น การผลิตรถยนต์ อาหาร เครื่องใช้ไฟฟ้ ารองเท้า กีฬา เป็นต้น การวางผังในลักษณะนี้บางครั้งเรียกว่า Flow Shop หรือ Assembly Line
  • 15. ข้อดี • เหมาะสาหรับการผลิตในปริมาณสูง สูง ในเวลาอันรวดเร็วและด้วยต้นทุนที่ ถูกลง • พนักงานที่ทางานในสายการผลิต ทางานเฉพาะอย่าง ต้องการทักษะใน ระดับต่าทาให้ลดเวลาในการฝึกอบรม ฝึกอบรม และการเรียนรู้ และสามารถ ควบคุมดูแลได้ง่าย • สามารถคานวณต้นทุนค่าแรงได้ โดยง่าย อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 15 ข้อเสีย • ไม่มีความคล่องตัวในการรองรับการ ปรับเปลี่ยนของรูปแบบผลิตภัณฑ์ หรือกระบวนการ • การหยุดชะงักในกระบวนการผลิต อันเนื่องจากเหตุเสียหรือขัดข้องของ เครื่องจักรในสายการผลิต • ปัญหาในการลดการรอคอยและคอ ขวดที่เกิดขึ้นในกระบวนการ • การกระตุ้นให้พนักงานเกิดการพัฒนา และเรียนรู้
  • 17. อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 17 1. การวางผังแบบเซล (Cellular) เป็นการ รวมกลุ่มเครื่องจักรที่ทาหน้าที่คล้าย คลึง กันเพื่อการผลิตชิ้นส่วนบางตัว หรือกลุ่ม ชิ้นส่วนที่มีลักษณะคล้ายคลึงกัน 2. การวางผังแบบปรับเปลี่ยน (Flexible Manufacturing Systems) เป็นการใช้ เครื่องจักรและระบบลาเลียงอัตโนมัติ ที่ สามารถปรับเปลี่ยนเพื่อรองรับผลิต- ภัณฑ์ที่หลากหลาย 3. การวางผังแบบผลิตภัณฑ์ผสม (Mixed Model Assembly-lines) เป็นการวางผังที่ รวมกลุ่มผลิตภัณฑ์บางกลุ่มเข้าด้วยกัน บนสายการผลิตเดียวกัน เพื่อลดเวลาใน การปรับเปลี่ยน
  • 18. 1. เพื่ออานวยความสะดวกแก่กระบวนการผลิต 2. เพื่อลดต้นทุนการขนย้ายให้น้อยที่สุด 3. เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์จากพื้นที่ที่มีอยู่อย่างเต็มที่ 4. เพื่อให้สายการผลิตมีความยืดหยุ่นต่อการเปลี่ยนแปลง 5. เพื่อเอื้ออานวยให้การสื่อสารระหว่างหัวหน้างานและพนักงานมี ประสิทธิภาพสูงสุด และแก้ไขปัญหาได้ทันท่วงที 6. การวางผังเพื่อก่อให้เกิดการใช้ทรัพยากรต่าง ๆ อย่างมีประสิทธิภาพ 7. ผังที่ดีต้องออกแบบเพื่อให้คนงานทางานได้อย่างสะดวก ปลอดภัย และ ถูกหลักการยศาสตร์ 8. ช่วยลดรอบเวลาในการผลิต 9. รองรับแผนการซ่อมบารุงต่าง ๆ 10. สนับสนุนการควบคุมการผลิตโดยวิสัย (Visual Control) อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 18
  • 19. 1. ประเภทของเครื่องจักรและเครื่องมือในการผลิต โดยคานึงถึงผลิตภัณฑ์ที่ต้อง การผลิต เป็นหลัก 2. จานวนเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิต ซึ่งต้องสัมพันธ์กับปริมาณการขายและการเติบโตใน อนาคต 3. เนื้อที่สาหรับการติดตั้งเครื่องจักรและพื้นที่ในการทางาน 4. เนื้อที่สาหรับวางวัสดุ ซึ่งรวมถึงวัตถุดิบ วัสดุระหว่างผลิต และผลิตภัณฑ์สาเร็จรูป รวมทั้งอุปกรณ์ที่ใช้ในการขนถ่ายวัสดุตลอดกระบวนการ 5. เนื้อที่สาหรับการให้บริการ เช่น ห้องทางาน ห้องอาหาร ห้องพยาบาลห้องน้า เป็นต้น 6. เนื้อที่สาหรับพนักงานและการปฏิบัติงานของคนงาน 7. การติดต่อกับแผนกงานอื่น ๆ ภายในโรงงาน 8. ผังของตัวอาคารและเนื้อที่ปฏิบัติงาน อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 19
  • 21. • การลดระยะทางในการขนถ่ายวัสดุ จากการวิเคราะห์โดยแผนภูมิการเคลื่อนย้าย (Flow Process Chart) เช่น ระยะทางการขนย้ายยาวเกินไป วัสดุที่ขนถ่ายหนักเกินไป มี อุบัติเหตุเนื่องจากการขนย้าย มีความเสียหายเกิดขึ้นกับผลิตภัณฑ์จากการขนย้าย • แนวทางในการแก้ไขสามารถอาศัยแผนภูมิกระบวนการผลิต และแผนภาพการ เคลื่อนย้ายช่วยในการวิเคราะห์เพื่อปรับปรุง ร่วมกับเทคนิคการตั้งคาถามต่าง ๆ ดัง แสดงขั้นตอนการวิเคราะห์ในบทที่ 7 การขจัดและการลดระยะทางในการขนถ่ายมัก เกิดขึ้นควบคู่ไปกับการพัฒนาการวางผังโรงงาน อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 21
  • 22. การปรับปรุงประสิทธิภาพของการขนถ่ายวัสดุอาจพิจารณาโดยอาศัย Check list ต่อนี้คือ 1. บรรจุให้เต็มภาชนะขนย้ายทุกครั้ง 2. อุปกรณ์ขนถ่ายเคลื่อนย้ายได้สะดวกและรวดเร็ว 3. ขนถ่ายโดยอาศัยแรงโน้มถ่วงของโลก 4. เครื่องมือขนถ่ายควรใช้งานได้หลากหลายหน้าที่ และขนถ่ายได้หลายประเภท 5. เคลื่อนย้ายในระยะทางตรงเสมอ 6. จัดให้มีอุปกรณ์เก็บของขนาดใหญ่ เช่น คอนเทนเนอร์ หรือหีบขนาดใหญ่เพื่อความ สะดวกในการขนย้าย อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 22
  • 23. ก. สายพานลาเลียง (Conveyors) ข. รถบรรทุก (Trucks) ค. รอกรางและรอกชัก (Rail and Hoist) ง. อุปกรณ์บรรจุ (Containers) อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 23
  • 27. 1. คุณสมบัติของวัสดุ เช่น เป็นของแข็ง ของเหลว ชิ้นส่วนประกอบ รูปร่าง ขนาดและน้าหนัก 2. ผังโรงงานและลักษณะของอาคาร ควรคานึงว่ามีเนื้อที่ในการขนถ่าย วัสดุ เพียงใด ซึ่งจะไม่ไปกีดขวางการทางานของพนักงานในบริเวณนั้น 3. ลักษณะของสายการผลิตเป็นแบบต่อเนื่องหรือเป็นกลุ่ม 4. การพิจารณาด้านต้นทุนค่าใช้จ่ายและความคุ้มค่า อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 27
  • 28. สินค้าที่ผลิตคือ สินค้า A จานวนสินค้าที่ต้องผลิต (จากการพยากรณ์) 48,000 หน่วย/ปี เวลาทาการ ( 8 ชั่วโมง/วัน ปีละ 300 วัน) 2,400 ชั่วโมง/ปี สินค้าที่ต้องการ เผื่อความเสียหาย 10% ขั้นตอนการผลิต 3 ขั้นตอน คือ ขั้นที่ 1,2 และ 3 ชนิดของเครื่องจักรที่ใช้ในการผลิต ขั้นที่ 1 ใช้เครื่องจักร ก ขั้นที่ 2 ใช้เครื่องจักร ข ขั้นที่ 3 ใช้เครื่องจักร ค เวลาในการผลิตโดยใช้ เครื่องจักร ก. 5 นาที/หน่วย เครื่องจักร ข. 2.5 นาที/หน่วย เครื่องจักร ค. 15 นาที/หน่วย อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 28
  • 31. เครื่องจักร ก. = 60 นาที/นาที/หน่วย 5 = 12 หน่วย/ชั่วโมง เครื่องจักร ข. = 60 นาที/นาที/หน่วย 2.5 = 24 หน่วย/ชั่วโมง เครื่องจักร ค. = 60 นาที/นาที/หน่วย 15 = 4 หน่วย/ชั่วโมง อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 31
  • 32. เครื่องจักร ก. = 22 หน่วย/ชั่วโมง/หน่วย/ชั่วโมง 12 ต้องการเครื่องจักร ก. = 1.83 เครื่อง เครื่องจักร ข. = 22 หน่วย/ชั่วโมง/หน่วย/ชั่วโมง 24 ต้องการเครื่องจักร ข. = 0.92 เครื่อง เครื่องจักร ค. = 22 หน่วย/ชั่วโมง/หน่วย/ชั่วโมง 4 ต้องการเครื่องจักร ค. = 5.5 เครื่อง อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 32
  • 33. รายละเอียดของการผลิตสินค้า 1 2 3 เวลาในการตั้งเครื่อง 30 50 10 เวลามาตรฐาน (หน่วย/นาที) 1 0.60 0.20 ความต้องการ (หน่วย/สัปดาห์) 1,000 5,000 2,500 จานวนครั้งของการตั้งเครื่อง (ครั้ง/สัปดาห์) 1 4 6 อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 33 เวลาทางาน/สัปดาห์ 48 ชั่วโมงทางาน เผื่อสินค้าเสียหาย 10% จานวนเครื่องจักรที่ต้องการ = เวลาตั้งเครื่องจักร + เวลาที่ใช้ในการผลิตสินค้า 1,2,3 เวลาทางาน/สัปดาห์
  • 34. สินค้า 1 อัตราการผลิต = 110 x 1,000 = 1,100 หน่วย/สัปดาห์ 100 สินค้า 2 อัตราการผลิต = 110 x 5,000 = 5,500 หน่วย/สัปดาห์ 100 สินค้า 3 อัตราการผลิต = 110 x 2,500 = 2,750 หน่วย/สัปดาห์ 100 อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 34
  • 35. = จานวนเวลาตั้งเครื่อง x จานวนครั้งตั้งเครื่อง/สัปดาห์ 60 นาที สินค้า 1 = 30 x 1 = 0.50 ชั่วโมง/สัปดาห์ 60 สินค้า 2 = 50 x 4 = 3.33 ชั่วโมง/สัปดาห์ 60 สินค้า 3 = 10 x 6 = 1 ชั่วโมง/สัปดาห์ 60 ดังนั้น เวลาตั้งเครื่อง = 0.50 + 3.33 + 1 = 4.83 ชั่วโมง อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 35
  • 36. เวลาที่ใช้ในการผลิต = เวลามาตรฐานต่อหน่วย x อัตราการผลิต 60 นาที เวลาที่ใช้ในการผลิตสินค้า 1 = 1x1100 = 18.33 ชั่วโมง/สัปดาห์ 60 เวลาที่ใช้ในการผลิตสินค้า 2 = 0.60x5500 = 55 ชั่วโมง/สัปดาห์ 60 เวลาที่ใช้ในการผลิตสินค้า 3 = 0.20x2750 = 9.16 ชั่วโมง/สัปดาห์ 60 ดังนั้นเวลาที่ใช้ในการผลิตสินค้า 1,2,3 เท่ากับ 18.33 + 55 + 9.16 = 82.49 อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 36
  • 37. จานวนเครื่องจักร ที่ต้องการ = เวลาตั้งเครื่องจักร + เวลาที่ใช้ในการผลิต 48 ชั่วโมง/สัปดาห์ = 4.83+82.49 = 87.32 = 1.81 48 48 เครื่องจักรที่ต้องการ = 2 เครื่อง อ.ธีทัต ตรีศิริโชติ 37