SlideShare a Scribd company logo
การบรรยายครั้งที่ 3
          การวิเคราะห์งบดุล
วัตถุประสงค์
       1. สามารถอ่านและเข้าใจงบดุล
       2. เข้าใจความหมาย ความสำาคัญ
ของงบดุลและรายการ
            ในงบดุล
       3. เข้าใจหลักการบัญชีเกี่ยวกับการ
รับรู้ การวัดมูลค่า
             การจัดเรียศวรสิริกุล
                เสาวลักษณ์ เลิ งรายการ และการ
                                            1
งบดุล(Balance
    Sheet)
  งบดุล เป็นงบการเงินที่แสดง
ฐานะ การเงินของกิจการ ณ วัน
ใดวันหนึ่ง องค์ประกอบของ
งบดุลประกอบด้วยรายการ
สินทรัพย์ (Assets) หนี้
สิน(Liabilities) และส่วนของ
         เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   2
งบดุล (Balance
         Sheet)งินทุนของ
งบดุลจะแสดงถึงการใช้เ
กิจการเพื่อจัดหาทรัพยากรทีจำาเป็นต่อ   ่
การประกอบธุรกิจ และแสดงถึงแหล่งทีมา      ่
ของเงินทุนของกิจการเพือจัดหา       ่
ทรัพยากรทีจำาเป็นต่อการประกอบธุรกิจ
            ่
ซึงสามารถเขียนเป็นสมการได้ดังนี้
  ่
สินทรัพย์            = หนี้สน + ส่วน ิ
ของเจ้าของ (ทุน)
              เสาวลักษณ์ เลิหรืิกุล
                            ศวรสิร อ       3
สินทรัพย์
  หมายถึง ทรัพยากรที่อยู่ใน
ความควบคุมของกิจการ
ทรัพยากรดังกล่าวเป็นผลของ
เหตุการณ์ในอดีต ซึ่งกิจการคาด
ว่าจะได้รับประโยชน์เชิง
เศรษฐกิจจากทรัพยากรนั้นใน
อนาคต    เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   4
หนี้สน
              ิ
  หมายถึง ภาระผูกพันในปัจจุบัน
ของกิจการ ภาระผูกพันดังกล่าว
เป็นผลของเหตุการณ์ในอดีต ซึง ่
การชำาระภาระผูกพันนั้นคาดว่าจะ
ส่งผลให้กจการสูญเสีย
         ิ
ทรัพยากรที่มีประโยชน์เชิง
เศรษฐกิจ  เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   5
ส่วนของเจ้าของ
 หมายถึง ส่วนได้เสียคงเหลือ
ในสินทรัพย์ของกิจการหลังจาก
หักหนี้สินทั้งสิ้นออกแล้ว



         เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   6
การแสดงรายการใน
       งบดุล
• มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 35 ระบุวา
                                 ่
  กิจการต้องแยกแสดงรายการ
  สินทรัพย์และหนี้สนแต่ละบรรทัด
                     ิ
  เป็นรายการหมุนเวียนและไม่
  หมุนเวียนโดยใช้สภาพคล่องเป็น
  เกณฑ์ตามลำาดับรายการทีมีสภาพ
                         ่
  คล่องสูงสุดถึงตำ่าสุด
            เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   7
สินทรัพย์หมุนเวียน
ต้องเข้าเงื่อนไขข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
• เป็นเงินสดหรือรายการเทียบเท่าเงินสดซึง   ่
  ไม่มีขอจำากัดในการใช้
          ้
• กิจการมีวตถุประสงค์หลักที่จะถือสินทรัพย์
             ั
  ไว้เพือการค้าหรือถือไว้ในระยะสันและคาด
        ่                                ้
  ว่าจะได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์นั้น
  ภายใน 12 เดือนนับจากวันที่ในงบดุล
• กิจการคาดว่าจะได้รับประโยชน์จาก
  สินทรัพย์นั้นภายในรอบระยะเวลาดำาเนิน 8
                เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล
หนี้สินหมุนเวียน
ต้องเข้าเงื่อนไขข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้
• หนี้สินนั้นถึงกำาหนดชำาระภายใน 12
  เดือนนับจากวันที่ในงบดุล
• กิจการคาดว่าจะชำาระหนี้สนนั้นคืน
                            ิ
  ภายในรอบระยะเวลาดำาเนินงาน
  ตามปกติ
            เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   9
งบดุล (Balance
        Sheet)
  ประเภทรายการที่แสดงใน
 งบดุล
1.สินทรัพย์ (Assets)
 1.1 สินทรัพย์หมุนเวียน
 (Current Assets)
   การแสดงรายการสินทรัพย์
 หมุนเวียนจะเรียงลำาดับตามสภาพ
           เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   10
งบดุล (Balance
       Sheet)
 ประเภทรายการที่แสดงใน
งบดุล
1.1 สินทรัพย์หมุนเวียน
(Current Assets)
  (1) เงินสดและเงินฝากธนาคาร
(Cash in Hand and at Banks)
  (2) หลักทรัพย์ในความต้องการ
          เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   11
งบดุล (Balance
        Sheet)
 ประเภทรายการที่แสดงใน
งบดุล
1.1 สินทรัพย์หมุนเวียน
(Current Assets)
   (3) ลูกหนี้ (Accounts
Receivable)
   (4) สินค้าคงเหลือ
(Inventories)
           เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   12
งบดุล (Balance
          Sheet)
(1) เงินสดและเงินฝากธนาคาร
     หมายถึง เงินสดในมือซึงรวมถึง        ่
 เหรียญ ธนบัตร เช็คเงินสด เช็คเดิน
 ทาง ดราฟท์ของธนาคาร ธนานัติ และ
 ตั๋วแลกเงินไปรษณีย์และเงินฝาก
 ธนาคารทุกประเภทแต่ไม่รวมเงินฝาก
 ประเภททีต้องจ่ายคืนเมื่อสิ้นระยะเวลา
           ่
 อันกำาหนดไว้หรือเงินฝากประจำา
     สินทรัพย์หมวดนี้จะได้รบการจัด 13
              เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล
                                       ั
 อันดับเป็นสินทรัพย์ประเภทแรกเพราะ
งบดุล (Balance
           Sheet)
(2) หลักทรัพย์ในความต้องการของ
 ตลาด
     หมายถึง เงินลงทุนในหลักทรัพย์ทมี   ี่
 สภาพคล่องสูง เนื่องจากมีการซื้อขายใน
 ตลาดหลักทรัพย์ฯหรือตลาดรองอื่นทีมี   ่
 หน่วยงานของรัฐกำากับดูแล สินทรัพย์นี้จะ
 มีความคล่องตัวตำ่ากว่าเงินสดและเงินฝาก
 ธนาคาร แต่ยังมีสภาพคล่องสูงเมื่อเทียบ
 กับสินทรัพย์อื่นๆเพราะเป็นการลงทุนระยะ
 สันและสามารถขายและเปลี่ยนเป็นเงินสด
   ้
 ได้ง่ายกว่า เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล      14
งบดุล (Balance
           Sheet)
(3) ลูกหนี้
       หมายถึง จำานวนเงินทีลูกค้าเป็นหนี้
                                        ่
 จากการซื้อสินค้าหรือบริการ รวมทังหนี้         ้
 ทีลูกค้าทำาสัญญาใช้เงินเป็นลาย
   ่
 ลักษณ์อักษร เช่น ตั๋วเงินรับ
       ลูกหนี้ควรแสดงในงบดุลด้วยจำานวน
 ทีคาดว่าจะเก็บเงินได้ กล่าวคือ
     ่
 กิจการต้องประมาณจำานวนหนีทคาดว่า         ้ ี่
 จะเก็บเงินไม่ได้ กษณ์ ยกว่ราุล ค่าเผื่อหนี้ 15
                 เสาวลั เรี เลิศวรสิ ิก
งบดุล (Balance
            Sheet)
(4) สินค้าคงเหลือ
     หมายถึง สินทรัพย์ที่กจการมีไว้เพือ
                                  ิ        ่
 ขาย หรือเป็นสินค้าทีอยูระหว่างการผลิต
                          ่ ่
 หรือมีไว้เพือใช้ในการผลิตสินค้า
             ่
     การแสดงมูลค่าในงบดุลจะแสดงด้วย
 ราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิทคาดว่าจะได้รบ
                                    ี่       ั
 แล้วแต่ราคาใดจะตำ่ากว่า โดยมูลค่าสุทธิ
 ทีคาดว่าจะได้รับ หมายถึง ราคาทีคาดว่า
   ่                                     ่
 จะขายสินค้าได้หกษณ์ เลิศยค่ิรกาใช้จายทางตรง
               เสาวลั
                      กด้ว วรสิ ุล
                      ั                ่       16
งบดุล (Balance
             Sheet)
(4) สินค้าคงเหลือ
    หมายถึง สินทรัพย์ที่กจการมีไว้เพือ ิ        ่
 ขาย หรือเป็นสินค้าทีอยูระหว่างการผลิต
                            ่ ่
 หรือมีไว้เพือใช้ในการผลิตสินค้า
             ่
    การแสดงมูลค่าในงบดุลจะแสดงด้วย
 ราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิทคาดว่าจะได้รบ    ี่       ั
 แล้วแต่ราคาใดจะตำ่ากว่า โดยมูลค่าสุทธิที่
 คาดว่าจะได้รับ หมายถึง ราคาทีคาดว่าจะ        ่
 ขายสินค้าได้หกด้วยค่าใช้จายทางตรงที่
                ั
               เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล
                                            ่       17
งบดุล (Balance
         Sheet)
(4) สินค้าคงเหลือ
    สิงทีควรสังเกตในรายการสินค้าคง
      ่ ่
 เหลือ คือ นโยบายบัญชีที่ใช้ในการตี
 ราคาสินค้าคงเหลือ เนืองจากการใช้วธี
                                   ่   ิ
 ในการคำานวณราคาทุนของสินค้าคง
 เหลือทีแตกต่างกันอาจทำาให้มูลค่า
        ่
 สินค้าคงเหลือ ณ วันสินงวด และ   ้
 ต้นทุนขายในระหว่างงวดไม่เท่ากันได้ 18
              เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล
งบดุล (Balance
          Sheet)
(4) สินค้าคงเหลือ
    วิธการคำานวณราคาทุนของสินค้าคง
            ี
 เหลือ
  –วิธเข้าก่อน-ออกก่อน(First in first
      ี
   out : FIFO)
  –วิธเข้าหลัง-ออกก่อน(Last in first
        ี
   out : LIFO)
  –วิธต้นทุนถัวเฉลี่ยเลิศวรสิงนำ้า
          ี   เสาวลักษณ์
                         ถ่ว ริกุล    19
งบดุล (Balance
             Sheet)
(4) สินค้าคงเหลือ
    วิธการคำานวณราคาทุนของสินค้าคง
        ี
 เหลือ
  –FIFO จะสมมติว่าต้นทุนของสินค้าที่ซอ       ื้
   มาก่อนจะถูกขายออกไปก่อน
  –LIFO จะสมมติว่าต้นทุนสินค้าทีซอมา    ่ ื้
   ทีหลังจะถูกนำามาคิดเป็นต้นทุนขายก่อน
      ่
  –Weighted Average Cost จะสมมติ
   ว่าสินค้าคงเหลือแต่ศะหน่วยราคาทุนต่อ20
               เสาวลักษณ์ เลิ วรสิริกุล
งบดุล (Balance Sheet)
(4) สินค้าคงเหลือ
 ตัวอย่าง บริษัท แสนสุข จำากัด เป็นธุรกิจ
 ซือมาขายไป ข้อมูลเกี่ยวกับการซื้อขาย
   ้
 สินค้าของกิจการมีดังนี้
 5 มกราคม 2550 ซือเครื่องจักรราคาเครื่อง
                        ้
 ละ 1,000,000 บาท จำานวน 10 เครือง      ่
 28 มกราคม 2550 ซือเครื่องจักรราคา
                           ้
 เครื่องละ 1,200,000 บาท จำานวน 10
 เครื่อง       เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   21
งบดุล (Balance
          Sheet)
(4) สินค้าคงเหลือ
 ตัวอย่าง
 ต้นทุนขาย-FIFO = (10 x 1,000,000)
 + (4 x 1,200,000)
               = 14,800,000 บาท
 สินค้าคงเหลือ-FIFO = 6 x 1,200,000
                = 7,200,000 บาท
            เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   22
งบดุล (Balance
              Sheet)
(4) สินค้าคงเหลือ
 ตัวอย่าง
 ต้นทุนขาย-LIFO = (10 x 1,200,000)
 + (4 x 1,000,000)
               = 16,000,000 บาท
 สินค้าคงเหลือ-LIFO = 6 x 1,000,000
                = 4,000,000 บาท
             เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   23
งบดุล (Balance
             Sheet)
(4) สินค้าคงเหลือ
 ตัวอย่าง
 ต้นทุนถัวเฉลี่ย/เครือง = (10 x
                        ่
 1,000,000) +(10 x 1,200,000)
                                          20
                     = 1,100,000
 บาท/เครื่อง
 ต้นทุนขาย-ถัวเฉลี่ย             = 1,100,00 x 14
                 เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล      24
 = 15,400,000 บาท
งบดุล (Balance
       Sheet)
 ประเภทรายการที่แสดงใน
งบดุล
1.2 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน (Non
Current Assets)
   (1) เงินลงทุนระยะยาว (Long-
term Investments)
   (2) เงินลงทุนในบริษัทร่วม
(Investment in
          เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   25
งบดุล (Balance
       Sheet)
 ประเภทรายการที่แสดงใน
งบดุล
1.2 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน (Non
Current Assets)
  (3) ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์
(Property, Plant and
         Equipment)
          เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   26
งบดุล (Balance
         Sheet)
(1) เงินลงทุนระยะยาว
     หมายถึง เงินลงทุนทีกิจการมี       ่
 วัตถุประสงค์เพือต้องการผลตอบแทน
                   ่
 จากการลงทุนและกิจการตั้งใจทีจะถือ       ่
 ไว้นานเกินกว่า 12 เดือน
     สิงทีควรสังเกต คือ หลักทรัพย์ที่
       ่ ่
 บริษัทไปลงทุนมีความคล่องตัวในการ
 ซือขายตำ่าหรือสูกงและสามารถใช้เป็น 27
   ้           เสาวลั ษณ์ เลิศวรสิริกุล
งบดุล (Balance
           Sheet)
(2) เงินลงทุนในบริษัทร่วม
     หมายถึง เงินลงทุนทีกิจการถือไว้      ่
 เพื่อการมีสวนร่วมในการบริหารหรือ
            ่
 เพื่อสร้างความสัมพันธ์กบบริษัทอื่น     ั
     เงินลงทุนในบริษัทร่วม กิจการของ
 ผู้ลงทุนจะมีอทธิพลอย่างมีสาระสำาคัญ
               ิ
 เหนือบริษัทที่ถูกลงทุน
     เงินลงทุนในบริษัทย่อย กิจการของ
 ผู้ลงทุน (บริษัทใหญ่ศ)จะสามารถ
                 เสาวลักษณ์ เลิ วรสิริกุล   28
 ควบคุมกิจการทีถูกลงทุน (บริษัทย่อย)
                      ่
งบดุล (Balance
           Sheet)
(3) ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์
     หมายถึง สินทรัพย์ที่มีตวตน มีอายุการ
                                   ั
 ใช้งานนานกว่า 1 ปี และมีไว้ใช้ในการ
 ดำาเนินงานไม่ได้มีไว้เพื่อขาย
 ที่ดิน เป็นสินทรัพย์ทมีอายุการใช้งานไม่
                          ี่
 จำากัด
 อาคาร และอุปกรณ์ เป็นสินทรัพย์ที่
 มีอายุการใช้งานจำากัด จึงต้องมีการคิดค่า
 เสื่อมราคาตลอดอายุการใช้งาน
 ค่าเสื่อมราคาเสาวลักษณ์การกระจายต้นทุนของ
                เป็น เลิศวรสิริกุล      29
งบดุล (Balance
          Sheet)
(4) สินทรัพย์ไม่มีตัวตน
    หมายถึง สินทรัพย์ไม่มีตัวตนทีมีไว้ใช้
                                  ่
 ในการดำาเนินงานและมีอายุการใช้งาน
 นานกว่า 1 ปี เช่น สิทธิบัตร ค่าความนิยม
 สิทธิการเช่าระยะยาว เป็นต้น


               เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   30
งบดุล (Balance
         Sheet)
   ประเภทรายการที่แสดงใน
 งบดุล
2. หนี้สิน (Liabilities)
 2.1 หนี้สินหมุนเวียน (Current
 Liabilities)       หมายถึง หนี้สิน
 ที่บริษัทจะต้องชำาระภายในเวลา
 12 เดือนนับจากวันที่ในงบดุล หรือ
            เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   31
งบดุล (Balance
       Sheet)
 ประเภทรายการที่แสดงใน
งบดุล
 2.1 หนี้สนหมุนเวียน (Current
          ิ
Liabilities)       การแสดง
รายการหนี้สินหมุนเวียนจะเรียง
ลำาดับตามระยะเวลาในการครบ
กำาหนดชำาระ ดังนี้
         เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   32
งบดุล (Balance
        Sheet)
 ประเภทรายการที่แสดงใน
งบดุล
 2.1 หนี้สนหมุนเวียน (Current
           ิ
Liabilities)         (1) เงินเบิก
เกินบัญชี (Bank Overdraft :
O/D)
   (2) เจ้าหนี้การค้าและตั๋วเงินจ่าย
            เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   33
งบดุล (Balance
       Sheet)
 ประเภทรายการที่แสดงใน
งบดุล
 2.1 หนี้สนหมุนเวียน (Current
          ิ
Liabilities)       (3) ส่วนของ
หนีระยะยาวที่ครบกำาหนดชำาระใน
   ้
หนึงปี (Current Portion of Long-
     ่
Term Obligation)
          เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   34
งบดุล (Balance
        Sheet)
 ประเภทรายการที่แสดงใน
งบดุล
 2.1 หนี้สนหมุนเวียน (Current
           ิ
Liabilities)         (5) ค่าใช้จ่าย
ค้างจ่าย (Accrued Expenses)
   (6) หนี้สินหมุนเวียนอื่น (Other
Current Liabilities)
           เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   35
งบดุล (Balance
         Sheet)
(1) เงินเบิกเกินบัญชี
     หมายถึง เงินทีสามารถเบิกจากยอด
                         ่
 บัญชีเงินฝากกระแสรายวันตามเงื่อนไข
 ทีตกลงกับธนาคารทีมีบัญชีอยู่
   ่                           ่
     เงินเบิกเกินบัญชีและเงินฝาก
 ธนาคารไม่ควรจะแสดงด้วยยอดหัก
 กลบกัน ยกเว้นกรณีทเป็นเงินเบิกเกิน
                                 ี่
 บัญชีและเงินฝากธนาคารของธนาคาร 36
                เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล
งบดุล (Balance
          Sheet)
(2) เจ้าหนี้การค้าและตั๋วเงินจ่าย
 เจ้าหนี้การค้า หมายถึง เจ้าหนี้ทเกิด    ี่
 จากการซื้อวัตถุดิบหรือซื้อสินค้าหรือ
 บริการเป็นเงินเชื่อ
 ตั๋วเงินจ่าย หมายถึง ตั๋วแลกเงินที่
 บริษัทสัญญาว่าจะจ่ายในอนาคต หรือ
 ตั๋วสัญญาใช้เงินทีบริษัทออก ตัวเงิน
                       ่               ๋
 จ่ายหากมีอายุเกิษณ์กว่วรสิริกุล ปีจะเป็นหนี้ 37
              เสาวลัก น เลิศ า 1
งบดุล (Balance
          Sheet)
(3) ส่วนของหนีระยะยาวที่ครบ
              ้
 กำาหนดชำาระในหนึ่งปี
    หมายถึง หนี้สนระยะยาว เช่น เงินกู้
                        ิ
 ระยะยาว เฉพาะส่วนทีครบกำาหนดชำาระ
                                ่
 ภายใน 1 ปี หรือหนึ่งรอบบัญชี ภาระที่
 ต้องชำาระตามสิทธิเรียกร้องของเจ้าหนี้
 ในส่วนนี้จะเกิดขึ้นในระยะเวลา 1 ปี
 เท่านั้นจึงจัดเป็นษณ์ เลิ้สนิรกุล นเวียน
                เสาวลัก
                        หนี ศวรสิ หมุ
                              ิ           38
งบดุล (Balance
         Sheet)
(4) เงินปันผลค้างจ่าย
      หมายถึง เงินปันผลทีบริษัทได้
                         ่
 ประกาศจ่ายแล้วแต่ยังไม่ได้จายให้แก่
                              ่
 ผู้ถือหุ้น ระยะเวลานับจากวันทีบริษัท
                                ่
 ได้ประกาศจ่ายเงินปันผลจนถึงวันที่
 จ่ายเงินปันผลมักจะไม่เกิน 3 เดือน

             เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   39
งบดุล (Balance
           Sheet)
(5) ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
    หมายถึง ค่าใช้จายทีเกิดขึ้นแล้วแต่
                         ่         ่
 กิจการยังไม่ได้จ่ายเงิน เช่น เงินเดือนค้าง
 จ่าย โบนัสค้างจ่าย ดอกเบียค้างจ่าย  ้
 เป็นต้น ถ้ารายการค้างจ่ายทังหมดมี     ้
 จำานวนน้อยกว่า 5%ของยอดรวมหนี้สน          ิ
 หมุนเวียน รายการดังกล่าวสามารถนำาไป
 รวมในหนี้สนหมุนเวียนอื่นได้
             ิ
(6) หนี้สนหมุนเวีกยนอื่นิรกุล เช่น ค่าใช้จาย
         ิ     เสาวลั ษณ์ เลิศวรสิ
                                          ่ 40
งบดุล (Balance
        Sheet)
 ประเภทรายการที่แสดงใน
งบดุล
2.2 หนี้สินไม่หมุนเวียน (Non
Current Liabilities) หมายถึง
หนีสินที่มีระยะเวลาครบกำาหนดชำาระ
   ้
หนีเกินกว่า 12 เดือนนับจากวันที่ใน
     ้
งบดุล หรือ 1 รอบระยะเวลาดำาเนิน
            เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   41
งบดุล (Balance
         Sheet)
 ประเภทรายการที่แสดงใน
งบดุล
2.2 หนี้สินไม่หมุนเวียน (Non
Current Liabilities) หนี้สินระยะ
ยาวควรนำาไปลงทุนระยะยาวเพื่อนำา
ผลตอบแทนจากการลงทุนไปชำาระ
คืนเงินกู้มากกว่าที่จะนำาไปใช้จ่ายเป็น
             เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   42
เงินทุนหมุนเวียน และไม่ควรชำาระคืน
งบดุล (Balance
        Sheet)
 ประเภทรายการที่แสดงใน
งบดุล
2.2 หนี้สินไม่หมุนเวียน (Non
Current Liabilities) ตัวอย่าง
ของหนี้สินไม่หมุนเวียน ได้แก่ เงินกู้
ยืมระยะยาว หรือตั๋วเงินจ่ายระยะยาว
หุ้นกู้ พันธบัตร หนี้สินจากสัญญาเช่า
             เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   43
ระยะยาว
งบดุล (Balance
        Sheet)
 ประเภทรายการที่แสดงใน
งบดุล
3. ส่วนของผู้ถือหุ้น
(Shareholder’s Equity)
    หมายถึง เงินทุนที่เป็นส่วนของ
เจ้าของ โดยในกรณีที่มีการเลิก
กิจการและมีการชำาระบัญชีผู้ถอหุ้น
                              ื
           เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   44
งบดุล (Balance
        Sheet)
 ประเภทรายการที่แสดงใน
งบดุล
3. ส่วนของผู้ถือหุ้น
(Shareholder’s Equity)
   ส่วนของผู้ถือหุนประกอบด้วย
                  ้
รายการหลัก 2 ประเภท
  3.1 ทุนที่นำามาลง (Paid-in
            เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   45
งบดุล (Balance
         Sheet)
    3.1 ทุนทีนำามาลง แยกแสดง
                ่
รายการเป็น
หุ้นทุน จะแสดงตามราคามูลค่าของหุน              ้
ทีออกจำาหน่าย
  ่
ส่วนเกินมูลค่าหุ้น แสดงจำานวนเงินใน
ส่วนทีผู้ถือหุ้นจ่ายซือหุนด้วยราคาทีสง
      ่                      ้ ้           ่ ู
กว่าราคาตามมูลค่า
ส่วนตำ่ากว่ามูลค่าหุ้น แสดงจำานวนใน
ส่วนทีผู้ถือหุ้นจ่ายซือศหุนุลด้วยราคาทีตำ่า 46
        ่         เสาวลักษณ์ เลิ วรสิ้ ริก
                              ้             ่
งบดุล (Balance
    3.2
             Sheet)
       กำาไรสะสม
       หมายถึง ผลรวมสะสะมของกำาไรสุทธิ
หรือขาดทุนสุทธิของบริษทนับจากวันทีก่อ
                               ั      ่
ตั้งบริษัทจนถึงปัจจุบนหลังจากหักเงินปันผล
                          ั
ทีจายให้ผู้ถือหุ้นแล้ว กำาไรสะสมแบ่งได้ 2
   ่ ่
ประเภทคือ
กำาไรสะสมที่จัดสรรแล้ว เป็นการจัดสรรไว้
เพื่อวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่งไม่
สามารถนำาไปจ่ายเป็นเงินปันผลได้ เช่น
จัดสรรเป็นสำารองตามกฎหมาย จัดสรรเพือ    ่
ขยายกิจการ เป็นต้กษณ์ เลิศวรสิริกุล
                  เสาวลัน                 47
งบดุล (Balance
          Sheet)
ประโยชน์และแนวทางในการ
 ประยุกต์ใช้งบดุล
 งบดุลแสดงให้ทราบถึงฐานะทางการ
 เงินของบริษัทนันๆ การที่งบดุลมี
                   ้
 สินทรัพย์เพิ่มขึ้นไม่ได้หมายความว่า
 บริษัทมีฐานะการเงินดีขึ้นเสมอไป ถ้า
 การเพิ่มของสินทรัพย์เกิดจากการ
 เพิ่มของหนี้สินแสดงว่าบริษัทมีความ
 เสี่ยงทางการเงินมากขึ้น ในทางตรง
             เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   48
 ข้ามถ้าการเพิ่มของสินทรัพย์เกิดจาก
งบดุล (Balance
              Sheet)ง
สินทรัพย์ จะบอกให้ทราบถึ
• ขนาดของธุรกิจ
  ธุรกิจที่มีจำานวนสินทรัพย์รวมจำานวนมากแสดง
  ว่ามีขนาดใหญ่
• สามารถประเมินสภาพคล่องได้
  หากมีสดส่วนสินทรัพย์หมุนเวียนสูงกว่า
           ั
  สัดส่วนหนีสนหมุนเวียนแสดงว่ามีสภาพคล่อง
                ้ ิ
  ดี
• ลักษณะการใช้เงินลงทุน
  การจัดหาเงินทุนควรสอดคล้องกับการใช้เงิน
  ทุน เช่น เงินกู้ระยะสันควรใช้สำาหรับสินทรัพย์
                            ้
                    เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 49
งบดุล (Balance
           Sheet)
หนี้สนและทุน จะบอกให้ทราบถึง
       ิ
• โครงสร้างของหนี้สน         ิ
  บอกถึงจำานวนหนี้สนหมุนเวียนและหนี้สนไม่
                         ิ                ิ
  หมุนเวียน หนี้สนบอกถึงภาระเรียกร้องที่บคล
                  ิ                         ุ
  ภายนอกมีต่อบริษัท ยิ่งมีสดส่วนมากความ ั
  เสียงของบริษัทก็มากไปด้วย
     ่
• โครงสร้างส่วนของทุน
  พิจารณาจากส่วนของผู้ถือหุ้น บริษัทที่มีกำาไร
  สุทธิเหลือหลังจ่ายเงินปันผล หรือได้เงินมา
  จากการจำาหน่ายหุ้นเพิ่มทุนจะเป็นผลดีกับ
  บริษัทที่มีนโยบายจะขยายกิจการเพราะเป็น
                 เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล     50
งบดุล
                สินทรัพย์
      หน่วย : บาท


                            25 X 1   25 X 0
1. สินทรัพย์หมุนเวียน
    1.1 เงินสดและเงินฝากสถาบันการเงิน
    1.2 เงินลงทุนชั่วคราว
    1.3 ลูกหนี้การค้า - สุทธิ
    1.4 เงินให้กู้ยืมระยะสันแก่บุคคลหรือ
                                    ้
  กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
    1.5 เงินให้กู้ยืมระยะสันอื่น      ้
    1.6 สินค้เสาวลักษณ์ เลิศอ ริกุล
               าคงเหลื วรสิ              51
2. สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
  2.1 เงินลงทุนซึ่งบันทึกโดยวิธส่วนได้เสีย ี
  2.2 เงินลงทุนระยะยาวอื่น
      2.3 เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่บคคลหรือ    ุ
   กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
      2.4 เงินให้กู้ยืมระยะยาวอื่น
  2.5 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ – สุทธิ
  2.6 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน
  2.7 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น
      รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน
                  เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล     52
รวมสินทรัพย์
หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น



3. หนีสินหมุนเวียน
         ้
   3.1 เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้น
  จากสถาบันการเงิน
   3.2 เจ้าหนี้การค้า
   3.3 เงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงกำาหนดชำาระ
  ภายในหนึงปี ่
   3.4 เงินกู้ยืมระยะสั้นจากบุคคลหรือกิจการ
  ที่เกี่ยวข้องกันเสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 53
4. หนี้สินไม่หมุนเวียน
    4.1 เงินกู้ยืมระยะยาวจากบุคคลหรือ
  กิจการที่เกี่ยวข้องกัน
    4.2 เงินกู้ยืมระยะยาวอื่น
    4.3 ประมาณการหนี้สน  ิ
    4.4 หนีสินไม่หมุนเวียนอื่น
             ้
    รวมหนีสินไม่หมุนเวียน
           ้
รวมหนี้สิน

            เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล    54
5. ส่วนของผู้ถือหุ้น
  5.1 ทุนเรือนหุ้น
     5.1.1 ทุนจดทะเบียน
                    5.1.1.1 หุ้นบุริมสิทธิ
                     5.1.1.2 หุ้นสามัญ
       5.1.2 ทุนที่ออกและชำาระแล้ว
                     5.1.2.1 หุ้นบุริมสิทธิ
                     5.1.2.2 หุ้นสามัญ


                เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล      55
5.2 ส่วนเกิน (ตำ่ากว่า) ทุน
     5.2.1 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ
     5.2.2 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ
            5.2.3 ส่วนเกินทุนอื่น
            5.2.4 ส่วนตำ่ากว่าทุนอื่น
5.3 กำาไร (ขาดทุน) สะสม
        5.3.1 จัดสรรแล้ว
                  5.3.1.1 สำารองตาม
กฎหมาย
                  5.3.1.2 อื่น ๆ
         5.3.2 ยังไม่ได้จัดสรร
  รวมส่วนของผู้ถือหุ้น
รวมหนีสินและส่วนของผู้ริกุล หุ้น
      ้       เสาวลักษณ์ เลิศวรสิ
                                  ถือ     56
ข้อควรระมัดระวังในการ
          วิเคราะห์
เงินสดและเงินฝากสถาบันการเงิน
• ความหมายและการแบ่งประเภท
• ภาระผูกพัน
เงินลงทุนชัวคราว
            ่
• บันทึกด้วยราคาทุนหรือราคาที่จัดหามา
• ดอกเบี้ยและเงินปันผลต้องแยกแสดง
  ต่างหาก     เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 57
ข้อควรระมัดระวังในการ
        วิเคราะห์ (ต่อ)
ลูกหนี้การค้าสุทธิ
• คุณภาพ
• ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ
• ภาระผูกพัน



               เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   58
ข้อควรระมัดระวังในการ
        วิเคราะห์ (ต่อ)
เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บุคคลหรือ
  กิจการทีเกี่ยวข้องกัน
             ่
• คุณภาพผู้กู้
สินค้าคงเหลือ
• การตีราคา
• การแสดงมูลค่า
              เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   59
ข้อควรระมัดระวังในการ
        วิเคราะห์ (ต่อ)
ที่ดน อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ
    ิ
• การแสดงมูลค่า
• การคิดค่าเสื่อมราคา
• การแยกแยะรายจ่ายทุน(Capital expe
   nditure)และรายจ่ายหักราย
   ได้(Revenue expenditure)

            เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   60
ข้อควรระมัดระวังในการ
        วิเคราะห์ (ต่อ)
สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น
• ความหมาย
• รายจ่ายรอตัดบัญชี ต้องพิจารณาถึง
  ความแน่นอนของประโยชน์ที่จะได้รับใน
  อนาคต


             เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล   61

More Related Content

What's hot

Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือCh3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือple2516
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
tumetr1
 
บัญชีเบื้องต้น
บัญชีเบื้องต้นบัญชีเบื้องต้น
บัญชีเบื้องต้น
saowanee
 
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจการเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจsmile-girl
 
การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1Siriya Lekkang
 
Ebooksint accsimple
Ebooksint accsimpleEbooksint accsimple
Ebooksint accsimpleRose Banioki
 
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงินบทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
tumetr1
 

What's hot (7)

Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือCh3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
Ch3 ลูกหนี้และสินค้าคงเหลือ
 
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้าการบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
การบริหารลูกหนี้ การบริหารสินค้า
 
บัญชีเบื้องต้น
บัญชีเบื้องต้นบัญชีเบื้องต้น
บัญชีเบื้องต้น
 
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจการเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
 
การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1การบัญชีขั้นต้น 1
การบัญชีขั้นต้น 1
 
Ebooksint accsimple
Ebooksint accsimpleEbooksint accsimple
Ebooksint accsimple
 
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงินบทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
บทบาทและหน้าที่ของการบริหารการเงิน
 

Viewers also liked

Intro kan57
Intro kan57Intro kan57
Social Networking in Healthcare
Social Networking in HealthcareSocial Networking in Healthcare
Social Networking in Healthcare
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
ACTEP2014: ASCC challenges in EM
ACTEP2014: ASCC challenges in EMACTEP2014: ASCC challenges in EM
ACTEP2014: ASCC challenges in EM
taem
 
Research Trends in Health IT
Research Trends in Health ITResearch Trends in Health IT
Research Trends in Health IT
Nawanan Theera-Ampornpunt
 
Interhospital transfer
Interhospital transfer Interhospital transfer
Interhospital transfer taem
 
Ch103 part periodic table
Ch103 part periodic tableCh103 part periodic table
Ch103 part periodic table
Thongchai Kokaew
 
การพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
การพัฒนาสารสนเทศ Thai referการพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
การพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
Lampang Hospital
 
การเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรงการเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรง
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
ACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED design
taem
 
1ธรรมชาติของฟิสิกส์
1ธรรมชาติของฟิสิกส์1ธรรมชาติของฟิสิกส์
1ธรรมชาติของฟิสิกส์
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
ACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulation
taem
 
(เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 3)
(เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 3)(เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 3)
(เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 3)Sambushi Kritsada
 
Wound management
Wound  managementWound  management
Wound management
Witsanu Rungsichatchawal
 
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
taem
 
วิจัย
วิจัย วิจัย
สื่อเพื่อการศึกษาเรื่อง รู้ทัน Tense ภาษาอังกฤษ
สื่อเพื่อการศึกษาเรื่อง รู้ทัน Tense ภาษาอังกฤษสื่อเพื่อการศึกษาเรื่อง รู้ทัน Tense ภาษาอังกฤษ
สื่อเพื่อการศึกษาเรื่อง รู้ทัน Tense ภาษาอังกฤษJane Suttida
 

Viewers also liked (20)

Accounting software
Accounting softwareAccounting software
Accounting software
 
Intro kan57
Intro kan57Intro kan57
Intro kan57
 
Social Networking in Healthcare
Social Networking in HealthcareSocial Networking in Healthcare
Social Networking in Healthcare
 
Research Format
Research FormatResearch Format
Research Format
 
ACTEP2014: ASCC challenges in EM
ACTEP2014: ASCC challenges in EMACTEP2014: ASCC challenges in EM
ACTEP2014: ASCC challenges in EM
 
Research Trends in Health IT
Research Trends in Health ITResearch Trends in Health IT
Research Trends in Health IT
 
Interhospital transfer
Interhospital transfer Interhospital transfer
Interhospital transfer
 
Ch103 part periodic table
Ch103 part periodic tableCh103 part periodic table
Ch103 part periodic table
 
บทนำและเวกเตอร์
บทนำและเวกเตอร์บทนำและเวกเตอร์
บทนำและเวกเตอร์
 
การพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
การพัฒนาสารสนเทศ Thai referการพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
การพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
 
การเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรงการเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรง
 
ACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED design
 
1ธรรมชาติของฟิสิกส์
1ธรรมชาติของฟิสิกส์1ธรรมชาติของฟิสิกส์
1ธรรมชาติของฟิสิกส์
 
ACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulation
 
(เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 3)
(เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 3)(เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 3)
(เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 3)
 
Present ward muk1
Present ward muk1Present ward muk1
Present ward muk1
 
Wound management
Wound  managementWound  management
Wound management
 
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
 
วิจัย
วิจัย วิจัย
วิจัย
 
สื่อเพื่อการศึกษาเรื่อง รู้ทัน Tense ภาษาอังกฤษ
สื่อเพื่อการศึกษาเรื่อง รู้ทัน Tense ภาษาอังกฤษสื่อเพื่อการศึกษาเรื่อง รู้ทัน Tense ภาษาอังกฤษ
สื่อเพื่อการศึกษาเรื่อง รู้ทัน Tense ภาษาอังกฤษ
 

Similar to Act411 3งบดุล

บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8praphol
 
Ch2
Ch2Ch2
Ch3
Ch3Ch3
financial analysis.pptx
financial analysis.pptxfinancial analysis.pptx
financial analysis.pptx
Khonkaen University
 
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐมาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
Sureeraya Limpaibul
 
101ch6
101ch6101ch6
101ch6
sumrit22
 
Read financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hoursRead financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hours
ASpyda Ch
 
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้WeIvy View
 
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับCh2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับple2516
 
ก้าวแรกตลท. Setjfc2011
ก้าวแรกตลท. Setjfc2011ก้าวแรกตลท. Setjfc2011
ก้าวแรกตลท. Setjfc2011jiggee
 
กระบวนการบัญชี
กระบวนการบัญชีกระบวนการบัญชี
กระบวนการบัญชีlogbaz
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
drchanidap
 

Similar to Act411 3งบดุล (20)

บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8
 
Ch2
Ch2Ch2
Ch2
 
08 businessfinance v1
08 businessfinance v108 businessfinance v1
08 businessfinance v1
 
Ch3
Ch3Ch3
Ch3
 
financial analysis.pptx
financial analysis.pptxfinancial analysis.pptx
financial analysis.pptx
 
FM-short.pptx
FM-short.pptxFM-short.pptx
FM-short.pptx
 
02 businessfinance v1
02 businessfinance v102 businessfinance v1
02 businessfinance v1
 
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐมาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
 
101ch6
101ch6101ch6
101ch6
 
101ch6
101ch6101ch6
101ch6
 
Read financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hoursRead financial-statement-in-3-hours
Read financial-statement-in-3-hours
 
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
คู่มือการบริหารสินทรัพย์และสิ่งของเครื่องใช้
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับCh2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
 
ระบบการซื้อ
ระบบการซื้อระบบการซื้อ
ระบบการซื้อ
 
บทที่ 11 เนื้อหา
บทที่ 11 เนื้อหาบทที่ 11 เนื้อหา
บทที่ 11 เนื้อหา
 
ก้าวแรกตลท. Setjfc2011
ก้าวแรกตลท. Setjfc2011ก้าวแรกตลท. Setjfc2011
ก้าวแรกตลท. Setjfc2011
 
04 01-2013 16-09-13
04 01-2013 16-09-1304 01-2013 16-09-13
04 01-2013 16-09-13
 
กระบวนการบัญชี
กระบวนการบัญชีกระบวนการบัญชี
กระบวนการบัญชี
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
 

Recently uploaded

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

Act411 3งบดุล

  • 1. การบรรยายครั้งที่ 3 การวิเคราะห์งบดุล วัตถุประสงค์ 1. สามารถอ่านและเข้าใจงบดุล 2. เข้าใจความหมาย ความสำาคัญ ของงบดุลและรายการ ในงบดุล 3. เข้าใจหลักการบัญชีเกี่ยวกับการ รับรู้ การวัดมูลค่า การจัดเรียศวรสิริกุล เสาวลักษณ์ เลิ งรายการ และการ 1
  • 2. งบดุล(Balance Sheet) งบดุล เป็นงบการเงินที่แสดง ฐานะ การเงินของกิจการ ณ วัน ใดวันหนึ่ง องค์ประกอบของ งบดุลประกอบด้วยรายการ สินทรัพย์ (Assets) หนี้ สิน(Liabilities) และส่วนของ เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 2
  • 3. งบดุล (Balance Sheet)งินทุนของ งบดุลจะแสดงถึงการใช้เ กิจการเพื่อจัดหาทรัพยากรทีจำาเป็นต่อ ่ การประกอบธุรกิจ และแสดงถึงแหล่งทีมา ่ ของเงินทุนของกิจการเพือจัดหา ่ ทรัพยากรทีจำาเป็นต่อการประกอบธุรกิจ ่ ซึงสามารถเขียนเป็นสมการได้ดังนี้ ่ สินทรัพย์ = หนี้สน + ส่วน ิ ของเจ้าของ (ทุน) เสาวลักษณ์ เลิหรืิกุล ศวรสิร อ 3
  • 4. สินทรัพย์ หมายถึง ทรัพยากรที่อยู่ใน ความควบคุมของกิจการ ทรัพยากรดังกล่าวเป็นผลของ เหตุการณ์ในอดีต ซึ่งกิจการคาด ว่าจะได้รับประโยชน์เชิง เศรษฐกิจจากทรัพยากรนั้นใน อนาคต เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 4
  • 5. หนี้สน ิ หมายถึง ภาระผูกพันในปัจจุบัน ของกิจการ ภาระผูกพันดังกล่าว เป็นผลของเหตุการณ์ในอดีต ซึง ่ การชำาระภาระผูกพันนั้นคาดว่าจะ ส่งผลให้กจการสูญเสีย ิ ทรัพยากรที่มีประโยชน์เชิง เศรษฐกิจ เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 5
  • 7. การแสดงรายการใน งบดุล • มาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 35 ระบุวา ่ กิจการต้องแยกแสดงรายการ สินทรัพย์และหนี้สนแต่ละบรรทัด ิ เป็นรายการหมุนเวียนและไม่ หมุนเวียนโดยใช้สภาพคล่องเป็น เกณฑ์ตามลำาดับรายการทีมีสภาพ ่ คล่องสูงสุดถึงตำ่าสุด เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 7
  • 8. สินทรัพย์หมุนเวียน ต้องเข้าเงื่อนไขข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้ • เป็นเงินสดหรือรายการเทียบเท่าเงินสดซึง ่ ไม่มีขอจำากัดในการใช้ ้ • กิจการมีวตถุประสงค์หลักที่จะถือสินทรัพย์ ั ไว้เพือการค้าหรือถือไว้ในระยะสันและคาด ่ ้ ว่าจะได้รับประโยชน์จากสินทรัพย์นั้น ภายใน 12 เดือนนับจากวันที่ในงบดุล • กิจการคาดว่าจะได้รับประโยชน์จาก สินทรัพย์นั้นภายในรอบระยะเวลาดำาเนิน 8 เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล
  • 9. หนี้สินหมุนเวียน ต้องเข้าเงื่อนไขข้อใดข้อหนึ่งต่อไปนี้ • หนี้สินนั้นถึงกำาหนดชำาระภายใน 12 เดือนนับจากวันที่ในงบดุล • กิจการคาดว่าจะชำาระหนี้สนนั้นคืน ิ ภายในรอบระยะเวลาดำาเนินงาน ตามปกติ เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 9
  • 10. งบดุล (Balance Sheet) ประเภทรายการที่แสดงใน งบดุล 1.สินทรัพย์ (Assets) 1.1 สินทรัพย์หมุนเวียน (Current Assets) การแสดงรายการสินทรัพย์ หมุนเวียนจะเรียงลำาดับตามสภาพ เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 10
  • 11. งบดุล (Balance Sheet) ประเภทรายการที่แสดงใน งบดุล 1.1 สินทรัพย์หมุนเวียน (Current Assets) (1) เงินสดและเงินฝากธนาคาร (Cash in Hand and at Banks) (2) หลักทรัพย์ในความต้องการ เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 11
  • 12. งบดุล (Balance Sheet) ประเภทรายการที่แสดงใน งบดุล 1.1 สินทรัพย์หมุนเวียน (Current Assets) (3) ลูกหนี้ (Accounts Receivable) (4) สินค้าคงเหลือ (Inventories) เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 12
  • 13. งบดุล (Balance Sheet) (1) เงินสดและเงินฝากธนาคาร หมายถึง เงินสดในมือซึงรวมถึง ่ เหรียญ ธนบัตร เช็คเงินสด เช็คเดิน ทาง ดราฟท์ของธนาคาร ธนานัติ และ ตั๋วแลกเงินไปรษณีย์และเงินฝาก ธนาคารทุกประเภทแต่ไม่รวมเงินฝาก ประเภททีต้องจ่ายคืนเมื่อสิ้นระยะเวลา ่ อันกำาหนดไว้หรือเงินฝากประจำา สินทรัพย์หมวดนี้จะได้รบการจัด 13 เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล ั อันดับเป็นสินทรัพย์ประเภทแรกเพราะ
  • 14. งบดุล (Balance Sheet) (2) หลักทรัพย์ในความต้องการของ ตลาด หมายถึง เงินลงทุนในหลักทรัพย์ทมี ี่ สภาพคล่องสูง เนื่องจากมีการซื้อขายใน ตลาดหลักทรัพย์ฯหรือตลาดรองอื่นทีมี ่ หน่วยงานของรัฐกำากับดูแล สินทรัพย์นี้จะ มีความคล่องตัวตำ่ากว่าเงินสดและเงินฝาก ธนาคาร แต่ยังมีสภาพคล่องสูงเมื่อเทียบ กับสินทรัพย์อื่นๆเพราะเป็นการลงทุนระยะ สันและสามารถขายและเปลี่ยนเป็นเงินสด ้ ได้ง่ายกว่า เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 14
  • 15. งบดุล (Balance Sheet) (3) ลูกหนี้ หมายถึง จำานวนเงินทีลูกค้าเป็นหนี้ ่ จากการซื้อสินค้าหรือบริการ รวมทังหนี้ ้ ทีลูกค้าทำาสัญญาใช้เงินเป็นลาย ่ ลักษณ์อักษร เช่น ตั๋วเงินรับ ลูกหนี้ควรแสดงในงบดุลด้วยจำานวน ทีคาดว่าจะเก็บเงินได้ กล่าวคือ ่ กิจการต้องประมาณจำานวนหนีทคาดว่า ้ ี่ จะเก็บเงินไม่ได้ กษณ์ ยกว่ราุล ค่าเผื่อหนี้ 15 เสาวลั เรี เลิศวรสิ ิก
  • 16. งบดุล (Balance Sheet) (4) สินค้าคงเหลือ หมายถึง สินทรัพย์ที่กจการมีไว้เพือ ิ ่ ขาย หรือเป็นสินค้าทีอยูระหว่างการผลิต ่ ่ หรือมีไว้เพือใช้ในการผลิตสินค้า ่ การแสดงมูลค่าในงบดุลจะแสดงด้วย ราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิทคาดว่าจะได้รบ ี่ ั แล้วแต่ราคาใดจะตำ่ากว่า โดยมูลค่าสุทธิ ทีคาดว่าจะได้รับ หมายถึง ราคาทีคาดว่า ่ ่ จะขายสินค้าได้หกษณ์ เลิศยค่ิรกาใช้จายทางตรง เสาวลั กด้ว วรสิ ุล ั ่ 16
  • 17. งบดุล (Balance Sheet) (4) สินค้าคงเหลือ หมายถึง สินทรัพย์ที่กจการมีไว้เพือ ิ ่ ขาย หรือเป็นสินค้าทีอยูระหว่างการผลิต ่ ่ หรือมีไว้เพือใช้ในการผลิตสินค้า ่ การแสดงมูลค่าในงบดุลจะแสดงด้วย ราคาทุนหรือมูลค่าสุทธิทคาดว่าจะได้รบ ี่ ั แล้วแต่ราคาใดจะตำ่ากว่า โดยมูลค่าสุทธิที่ คาดว่าจะได้รับ หมายถึง ราคาทีคาดว่าจะ ่ ขายสินค้าได้หกด้วยค่าใช้จายทางตรงที่ ั เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล ่ 17
  • 18. งบดุล (Balance Sheet) (4) สินค้าคงเหลือ สิงทีควรสังเกตในรายการสินค้าคง ่ ่ เหลือ คือ นโยบายบัญชีที่ใช้ในการตี ราคาสินค้าคงเหลือ เนืองจากการใช้วธี ่ ิ ในการคำานวณราคาทุนของสินค้าคง เหลือทีแตกต่างกันอาจทำาให้มูลค่า ่ สินค้าคงเหลือ ณ วันสินงวด และ ้ ต้นทุนขายในระหว่างงวดไม่เท่ากันได้ 18 เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล
  • 19. งบดุล (Balance Sheet) (4) สินค้าคงเหลือ วิธการคำานวณราคาทุนของสินค้าคง ี เหลือ –วิธเข้าก่อน-ออกก่อน(First in first ี out : FIFO) –วิธเข้าหลัง-ออกก่อน(Last in first ี out : LIFO) –วิธต้นทุนถัวเฉลี่ยเลิศวรสิงนำ้า ี เสาวลักษณ์ ถ่ว ริกุล 19
  • 20. งบดุล (Balance Sheet) (4) สินค้าคงเหลือ วิธการคำานวณราคาทุนของสินค้าคง ี เหลือ –FIFO จะสมมติว่าต้นทุนของสินค้าที่ซอ ื้ มาก่อนจะถูกขายออกไปก่อน –LIFO จะสมมติว่าต้นทุนสินค้าทีซอมา ่ ื้ ทีหลังจะถูกนำามาคิดเป็นต้นทุนขายก่อน ่ –Weighted Average Cost จะสมมติ ว่าสินค้าคงเหลือแต่ศะหน่วยราคาทุนต่อ20 เสาวลักษณ์ เลิ วรสิริกุล
  • 21. งบดุล (Balance Sheet) (4) สินค้าคงเหลือ ตัวอย่าง บริษัท แสนสุข จำากัด เป็นธุรกิจ ซือมาขายไป ข้อมูลเกี่ยวกับการซื้อขาย ้ สินค้าของกิจการมีดังนี้ 5 มกราคม 2550 ซือเครื่องจักรราคาเครื่อง ้ ละ 1,000,000 บาท จำานวน 10 เครือง ่ 28 มกราคม 2550 ซือเครื่องจักรราคา ้ เครื่องละ 1,200,000 บาท จำานวน 10 เครื่อง เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 21
  • 22. งบดุล (Balance Sheet) (4) สินค้าคงเหลือ ตัวอย่าง ต้นทุนขาย-FIFO = (10 x 1,000,000) + (4 x 1,200,000) = 14,800,000 บาท สินค้าคงเหลือ-FIFO = 6 x 1,200,000 = 7,200,000 บาท เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 22
  • 23. งบดุล (Balance Sheet) (4) สินค้าคงเหลือ ตัวอย่าง ต้นทุนขาย-LIFO = (10 x 1,200,000) + (4 x 1,000,000) = 16,000,000 บาท สินค้าคงเหลือ-LIFO = 6 x 1,000,000 = 4,000,000 บาท เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 23
  • 24. งบดุล (Balance Sheet) (4) สินค้าคงเหลือ ตัวอย่าง ต้นทุนถัวเฉลี่ย/เครือง = (10 x ่ 1,000,000) +(10 x 1,200,000) 20 = 1,100,000 บาท/เครื่อง ต้นทุนขาย-ถัวเฉลี่ย = 1,100,00 x 14 เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 24 = 15,400,000 บาท
  • 25. งบดุล (Balance Sheet) ประเภทรายการที่แสดงใน งบดุล 1.2 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน (Non Current Assets) (1) เงินลงทุนระยะยาว (Long- term Investments) (2) เงินลงทุนในบริษัทร่วม (Investment in เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 25
  • 26. งบดุล (Balance Sheet) ประเภทรายการที่แสดงใน งบดุล 1.2 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน (Non Current Assets) (3) ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ (Property, Plant and Equipment) เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 26
  • 27. งบดุล (Balance Sheet) (1) เงินลงทุนระยะยาว หมายถึง เงินลงทุนทีกิจการมี ่ วัตถุประสงค์เพือต้องการผลตอบแทน ่ จากการลงทุนและกิจการตั้งใจทีจะถือ ่ ไว้นานเกินกว่า 12 เดือน สิงทีควรสังเกต คือ หลักทรัพย์ที่ ่ ่ บริษัทไปลงทุนมีความคล่องตัวในการ ซือขายตำ่าหรือสูกงและสามารถใช้เป็น 27 ้ เสาวลั ษณ์ เลิศวรสิริกุล
  • 28. งบดุล (Balance Sheet) (2) เงินลงทุนในบริษัทร่วม หมายถึง เงินลงทุนทีกิจการถือไว้ ่ เพื่อการมีสวนร่วมในการบริหารหรือ ่ เพื่อสร้างความสัมพันธ์กบบริษัทอื่น ั เงินลงทุนในบริษัทร่วม กิจการของ ผู้ลงทุนจะมีอทธิพลอย่างมีสาระสำาคัญ ิ เหนือบริษัทที่ถูกลงทุน เงินลงทุนในบริษัทย่อย กิจการของ ผู้ลงทุน (บริษัทใหญ่ศ)จะสามารถ เสาวลักษณ์ เลิ วรสิริกุล 28 ควบคุมกิจการทีถูกลงทุน (บริษัทย่อย) ่
  • 29. งบดุล (Balance Sheet) (3) ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์ หมายถึง สินทรัพย์ที่มีตวตน มีอายุการ ั ใช้งานนานกว่า 1 ปี และมีไว้ใช้ในการ ดำาเนินงานไม่ได้มีไว้เพื่อขาย ที่ดิน เป็นสินทรัพย์ทมีอายุการใช้งานไม่ ี่ จำากัด อาคาร และอุปกรณ์ เป็นสินทรัพย์ที่ มีอายุการใช้งานจำากัด จึงต้องมีการคิดค่า เสื่อมราคาตลอดอายุการใช้งาน ค่าเสื่อมราคาเสาวลักษณ์การกระจายต้นทุนของ เป็น เลิศวรสิริกุล 29
  • 30. งบดุล (Balance Sheet) (4) สินทรัพย์ไม่มีตัวตน หมายถึง สินทรัพย์ไม่มีตัวตนทีมีไว้ใช้ ่ ในการดำาเนินงานและมีอายุการใช้งาน นานกว่า 1 ปี เช่น สิทธิบัตร ค่าความนิยม สิทธิการเช่าระยะยาว เป็นต้น เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 30
  • 31. งบดุล (Balance Sheet) ประเภทรายการที่แสดงใน งบดุล 2. หนี้สิน (Liabilities) 2.1 หนี้สินหมุนเวียน (Current Liabilities) หมายถึง หนี้สิน ที่บริษัทจะต้องชำาระภายในเวลา 12 เดือนนับจากวันที่ในงบดุล หรือ เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 31
  • 32. งบดุล (Balance Sheet) ประเภทรายการที่แสดงใน งบดุล 2.1 หนี้สนหมุนเวียน (Current ิ Liabilities) การแสดง รายการหนี้สินหมุนเวียนจะเรียง ลำาดับตามระยะเวลาในการครบ กำาหนดชำาระ ดังนี้ เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 32
  • 33. งบดุล (Balance Sheet) ประเภทรายการที่แสดงใน งบดุล 2.1 หนี้สนหมุนเวียน (Current ิ Liabilities) (1) เงินเบิก เกินบัญชี (Bank Overdraft : O/D) (2) เจ้าหนี้การค้าและตั๋วเงินจ่าย เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 33
  • 34. งบดุล (Balance Sheet) ประเภทรายการที่แสดงใน งบดุล 2.1 หนี้สนหมุนเวียน (Current ิ Liabilities) (3) ส่วนของ หนีระยะยาวที่ครบกำาหนดชำาระใน ้ หนึงปี (Current Portion of Long- ่ Term Obligation) เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 34
  • 35. งบดุล (Balance Sheet) ประเภทรายการที่แสดงใน งบดุล 2.1 หนี้สนหมุนเวียน (Current ิ Liabilities) (5) ค่าใช้จ่าย ค้างจ่าย (Accrued Expenses) (6) หนี้สินหมุนเวียนอื่น (Other Current Liabilities) เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 35
  • 36. งบดุล (Balance Sheet) (1) เงินเบิกเกินบัญชี หมายถึง เงินทีสามารถเบิกจากยอด ่ บัญชีเงินฝากกระแสรายวันตามเงื่อนไข ทีตกลงกับธนาคารทีมีบัญชีอยู่ ่ ่ เงินเบิกเกินบัญชีและเงินฝาก ธนาคารไม่ควรจะแสดงด้วยยอดหัก กลบกัน ยกเว้นกรณีทเป็นเงินเบิกเกิน ี่ บัญชีและเงินฝากธนาคารของธนาคาร 36 เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล
  • 37. งบดุล (Balance Sheet) (2) เจ้าหนี้การค้าและตั๋วเงินจ่าย เจ้าหนี้การค้า หมายถึง เจ้าหนี้ทเกิด ี่ จากการซื้อวัตถุดิบหรือซื้อสินค้าหรือ บริการเป็นเงินเชื่อ ตั๋วเงินจ่าย หมายถึง ตั๋วแลกเงินที่ บริษัทสัญญาว่าจะจ่ายในอนาคต หรือ ตั๋วสัญญาใช้เงินทีบริษัทออก ตัวเงิน ่ ๋ จ่ายหากมีอายุเกิษณ์กว่วรสิริกุล ปีจะเป็นหนี้ 37 เสาวลัก น เลิศ า 1
  • 38. งบดุล (Balance Sheet) (3) ส่วนของหนีระยะยาวที่ครบ ้ กำาหนดชำาระในหนึ่งปี หมายถึง หนี้สนระยะยาว เช่น เงินกู้ ิ ระยะยาว เฉพาะส่วนทีครบกำาหนดชำาระ ่ ภายใน 1 ปี หรือหนึ่งรอบบัญชี ภาระที่ ต้องชำาระตามสิทธิเรียกร้องของเจ้าหนี้ ในส่วนนี้จะเกิดขึ้นในระยะเวลา 1 ปี เท่านั้นจึงจัดเป็นษณ์ เลิ้สนิรกุล นเวียน เสาวลัก หนี ศวรสิ หมุ ิ 38
  • 39. งบดุล (Balance Sheet) (4) เงินปันผลค้างจ่าย หมายถึง เงินปันผลทีบริษัทได้ ่ ประกาศจ่ายแล้วแต่ยังไม่ได้จายให้แก่ ่ ผู้ถือหุ้น ระยะเวลานับจากวันทีบริษัท ่ ได้ประกาศจ่ายเงินปันผลจนถึงวันที่ จ่ายเงินปันผลมักจะไม่เกิน 3 เดือน เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 39
  • 40. งบดุล (Balance Sheet) (5) ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย หมายถึง ค่าใช้จายทีเกิดขึ้นแล้วแต่ ่ ่ กิจการยังไม่ได้จ่ายเงิน เช่น เงินเดือนค้าง จ่าย โบนัสค้างจ่าย ดอกเบียค้างจ่าย ้ เป็นต้น ถ้ารายการค้างจ่ายทังหมดมี ้ จำานวนน้อยกว่า 5%ของยอดรวมหนี้สน ิ หมุนเวียน รายการดังกล่าวสามารถนำาไป รวมในหนี้สนหมุนเวียนอื่นได้ ิ (6) หนี้สนหมุนเวีกยนอื่นิรกุล เช่น ค่าใช้จาย ิ เสาวลั ษณ์ เลิศวรสิ ่ 40
  • 41. งบดุล (Balance Sheet) ประเภทรายการที่แสดงใน งบดุล 2.2 หนี้สินไม่หมุนเวียน (Non Current Liabilities) หมายถึง หนีสินที่มีระยะเวลาครบกำาหนดชำาระ ้ หนีเกินกว่า 12 เดือนนับจากวันที่ใน ้ งบดุล หรือ 1 รอบระยะเวลาดำาเนิน เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 41
  • 42. งบดุล (Balance Sheet) ประเภทรายการที่แสดงใน งบดุล 2.2 หนี้สินไม่หมุนเวียน (Non Current Liabilities) หนี้สินระยะ ยาวควรนำาไปลงทุนระยะยาวเพื่อนำา ผลตอบแทนจากการลงทุนไปชำาระ คืนเงินกู้มากกว่าที่จะนำาไปใช้จ่ายเป็น เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 42 เงินทุนหมุนเวียน และไม่ควรชำาระคืน
  • 43. งบดุล (Balance Sheet) ประเภทรายการที่แสดงใน งบดุล 2.2 หนี้สินไม่หมุนเวียน (Non Current Liabilities) ตัวอย่าง ของหนี้สินไม่หมุนเวียน ได้แก่ เงินกู้ ยืมระยะยาว หรือตั๋วเงินจ่ายระยะยาว หุ้นกู้ พันธบัตร หนี้สินจากสัญญาเช่า เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 43 ระยะยาว
  • 44. งบดุล (Balance Sheet) ประเภทรายการที่แสดงใน งบดุล 3. ส่วนของผู้ถือหุ้น (Shareholder’s Equity) หมายถึง เงินทุนที่เป็นส่วนของ เจ้าของ โดยในกรณีที่มีการเลิก กิจการและมีการชำาระบัญชีผู้ถอหุ้น ื เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 44
  • 45. งบดุล (Balance Sheet) ประเภทรายการที่แสดงใน งบดุล 3. ส่วนของผู้ถือหุ้น (Shareholder’s Equity) ส่วนของผู้ถือหุนประกอบด้วย ้ รายการหลัก 2 ประเภท 3.1 ทุนที่นำามาลง (Paid-in เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 45
  • 46. งบดุล (Balance Sheet) 3.1 ทุนทีนำามาลง แยกแสดง ่ รายการเป็น หุ้นทุน จะแสดงตามราคามูลค่าของหุน ้ ทีออกจำาหน่าย ่ ส่วนเกินมูลค่าหุ้น แสดงจำานวนเงินใน ส่วนทีผู้ถือหุ้นจ่ายซือหุนด้วยราคาทีสง ่ ้ ้ ่ ู กว่าราคาตามมูลค่า ส่วนตำ่ากว่ามูลค่าหุ้น แสดงจำานวนใน ส่วนทีผู้ถือหุ้นจ่ายซือศหุนุลด้วยราคาทีตำ่า 46 ่ เสาวลักษณ์ เลิ วรสิ้ ริก ้ ่
  • 47. งบดุล (Balance 3.2 Sheet) กำาไรสะสม หมายถึง ผลรวมสะสะมของกำาไรสุทธิ หรือขาดทุนสุทธิของบริษทนับจากวันทีก่อ ั ่ ตั้งบริษัทจนถึงปัจจุบนหลังจากหักเงินปันผล ั ทีจายให้ผู้ถือหุ้นแล้ว กำาไรสะสมแบ่งได้ 2 ่ ่ ประเภทคือ กำาไรสะสมที่จัดสรรแล้ว เป็นการจัดสรรไว้ เพื่อวัตถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่งไม่ สามารถนำาไปจ่ายเป็นเงินปันผลได้ เช่น จัดสรรเป็นสำารองตามกฎหมาย จัดสรรเพือ ่ ขยายกิจการ เป็นต้กษณ์ เลิศวรสิริกุล เสาวลัน 47
  • 48. งบดุล (Balance Sheet) ประโยชน์และแนวทางในการ ประยุกต์ใช้งบดุล งบดุลแสดงให้ทราบถึงฐานะทางการ เงินของบริษัทนันๆ การที่งบดุลมี ้ สินทรัพย์เพิ่มขึ้นไม่ได้หมายความว่า บริษัทมีฐานะการเงินดีขึ้นเสมอไป ถ้า การเพิ่มของสินทรัพย์เกิดจากการ เพิ่มของหนี้สินแสดงว่าบริษัทมีความ เสี่ยงทางการเงินมากขึ้น ในทางตรง เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 48 ข้ามถ้าการเพิ่มของสินทรัพย์เกิดจาก
  • 49. งบดุล (Balance Sheet)ง สินทรัพย์ จะบอกให้ทราบถึ • ขนาดของธุรกิจ ธุรกิจที่มีจำานวนสินทรัพย์รวมจำานวนมากแสดง ว่ามีขนาดใหญ่ • สามารถประเมินสภาพคล่องได้ หากมีสดส่วนสินทรัพย์หมุนเวียนสูงกว่า ั สัดส่วนหนีสนหมุนเวียนแสดงว่ามีสภาพคล่อง ้ ิ ดี • ลักษณะการใช้เงินลงทุน การจัดหาเงินทุนควรสอดคล้องกับการใช้เงิน ทุน เช่น เงินกู้ระยะสันควรใช้สำาหรับสินทรัพย์ ้ เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 49
  • 50. งบดุล (Balance Sheet) หนี้สนและทุน จะบอกให้ทราบถึง ิ • โครงสร้างของหนี้สน ิ บอกถึงจำานวนหนี้สนหมุนเวียนและหนี้สนไม่ ิ ิ หมุนเวียน หนี้สนบอกถึงภาระเรียกร้องที่บคล ิ ุ ภายนอกมีต่อบริษัท ยิ่งมีสดส่วนมากความ ั เสียงของบริษัทก็มากไปด้วย ่ • โครงสร้างส่วนของทุน พิจารณาจากส่วนของผู้ถือหุ้น บริษัทที่มีกำาไร สุทธิเหลือหลังจ่ายเงินปันผล หรือได้เงินมา จากการจำาหน่ายหุ้นเพิ่มทุนจะเป็นผลดีกับ บริษัทที่มีนโยบายจะขยายกิจการเพราะเป็น เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 50
  • 51. งบดุล สินทรัพย์ หน่วย : บาท 25 X 1 25 X 0 1. สินทรัพย์หมุนเวียน 1.1 เงินสดและเงินฝากสถาบันการเงิน 1.2 เงินลงทุนชั่วคราว 1.3 ลูกหนี้การค้า - สุทธิ 1.4 เงินให้กู้ยืมระยะสันแก่บุคคลหรือ ้ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 1.5 เงินให้กู้ยืมระยะสันอื่น ้ 1.6 สินค้เสาวลักษณ์ เลิศอ ริกุล าคงเหลื วรสิ 51
  • 52. 2. สินทรัพย์ไม่หมุนเวียน 2.1 เงินลงทุนซึ่งบันทึกโดยวิธส่วนได้เสีย ี 2.2 เงินลงทุนระยะยาวอื่น 2.3 เงินให้กู้ยืมระยะยาวแก่บคคลหรือ ุ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 2.4 เงินให้กู้ยืมระยะยาวอื่น 2.5 ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ – สุทธิ 2.6 สินทรัพย์ไม่มีตัวตน 2.7 สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น รวมสินทรัพย์ไม่หมุนเวียน เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 52 รวมสินทรัพย์
  • 53. หนี้สินและส่วนของผู้ถือหุ้น 3. หนีสินหมุนเวียน ้ 3.1 เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมระยะสั้น จากสถาบันการเงิน 3.2 เจ้าหนี้การค้า 3.3 เงินกู้ยืมระยะยาวที่ถึงกำาหนดชำาระ ภายในหนึงปี ่ 3.4 เงินกู้ยืมระยะสั้นจากบุคคลหรือกิจการ ที่เกี่ยวข้องกันเสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 53
  • 54. 4. หนี้สินไม่หมุนเวียน 4.1 เงินกู้ยืมระยะยาวจากบุคคลหรือ กิจการที่เกี่ยวข้องกัน 4.2 เงินกู้ยืมระยะยาวอื่น 4.3 ประมาณการหนี้สน ิ 4.4 หนีสินไม่หมุนเวียนอื่น ้ รวมหนีสินไม่หมุนเวียน ้ รวมหนี้สิน เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 54
  • 55. 5. ส่วนของผู้ถือหุ้น 5.1 ทุนเรือนหุ้น 5.1.1 ทุนจดทะเบียน 5.1.1.1 หุ้นบุริมสิทธิ 5.1.1.2 หุ้นสามัญ 5.1.2 ทุนที่ออกและชำาระแล้ว 5.1.2.1 หุ้นบุริมสิทธิ 5.1.2.2 หุ้นสามัญ เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 55
  • 56. 5.2 ส่วนเกิน (ตำ่ากว่า) ทุน 5.2.1 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นบุริมสิทธิ 5.2.2 ส่วนเกินมูลค่าหุ้นสามัญ 5.2.3 ส่วนเกินทุนอื่น 5.2.4 ส่วนตำ่ากว่าทุนอื่น 5.3 กำาไร (ขาดทุน) สะสม 5.3.1 จัดสรรแล้ว 5.3.1.1 สำารองตาม กฎหมาย 5.3.1.2 อื่น ๆ 5.3.2 ยังไม่ได้จัดสรร รวมส่วนของผู้ถือหุ้น รวมหนีสินและส่วนของผู้ริกุล หุ้น ้ เสาวลักษณ์ เลิศวรสิ ถือ 56
  • 57. ข้อควรระมัดระวังในการ วิเคราะห์ เงินสดและเงินฝากสถาบันการเงิน • ความหมายและการแบ่งประเภท • ภาระผูกพัน เงินลงทุนชัวคราว ่ • บันทึกด้วยราคาทุนหรือราคาที่จัดหามา • ดอกเบี้ยและเงินปันผลต้องแยกแสดง ต่างหาก เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 57
  • 58. ข้อควรระมัดระวังในการ วิเคราะห์ (ต่อ) ลูกหนี้การค้าสุทธิ • คุณภาพ • ค่าเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ • ภาระผูกพัน เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 58
  • 59. ข้อควรระมัดระวังในการ วิเคราะห์ (ต่อ) เงินให้กู้ยืมระยะสั้นแก่บุคคลหรือ กิจการทีเกี่ยวข้องกัน ่ • คุณภาพผู้กู้ สินค้าคงเหลือ • การตีราคา • การแสดงมูลค่า เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 59
  • 60. ข้อควรระมัดระวังในการ วิเคราะห์ (ต่อ) ที่ดน อาคารและอุปกรณ์-สุทธิ ิ • การแสดงมูลค่า • การคิดค่าเสื่อมราคา • การแยกแยะรายจ่ายทุน(Capital expe nditure)และรายจ่ายหักราย ได้(Revenue expenditure) เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 60
  • 61. ข้อควรระมัดระวังในการ วิเคราะห์ (ต่อ) สินทรัพย์ไม่หมุนเวียนอื่น • ความหมาย • รายจ่ายรอตัดบัญชี ต้องพิจารณาถึง ความแน่นอนของประโยชน์ที่จะได้รับใน อนาคต เสาวลักษณ์ เลิศวรสิริกุล 61