SlideShare a Scribd company logo
ตราสารทางการเงิน Financial Instruments
ตราสารทางการเงิน Financial Instruments
ตราสารทางการเงิน คือ หลักฐานแสดงการถือครองและสิทธิ
เรียกรองตางๆ ที่บริษัทผูออกหลักทรัพยนําออกมาจําหนายเพื่อระดมเงิน
จากผูลงทุน และนํามาจดทะเบียนเพื่อใหมีการซื้อขายในตลาดรอง ซึ่ง
ปจจุบันมีตราสารทางการเงินที่ซื้อขายกันในตลาดรองมากกวา 1,000 ชนิด
ทําใหผูลงทุนมีทางเลือกการลงทุนที่หลากหลาย ตลอดจนสามารถกระจาย
การลงทุนไดอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
ตราสารทางการเงิน Financial Instruments
• ตราสารทางการเงินที่มีการซื้อขายในปจจุบัน แบงเปน
1. ตราสารทุน (Equity) เปนตราสารที่ใหสิทธิการเปน “เจาของ
กิจการ” แกผูลงทุน ดังนั้น ในฐานะเจาของกิจการ ผูลงทุนจึงมีโอกาสที่จะ
ไดรับผลตอบแทนที่ดีถากิจการมีผลการดําเนินงานดี และมีความเสี่ยงที่จะ
ขาดทุนหรือไมไดผลตอบแทนถาผลการ
ดําเนินงานของกิจการไมเปนไปตามที่คาดหมาย
» หุนสามัญ (Common Stock)
» หุนบุริมสิทธิ์ (Preferred Stock)
» ตราสารสิทธิในการซื้อหุนสามัญ เชน ใบสําคัญแสดงสิทธิ
(Warrant), ใบสําคัญแสดงสิทธิอนุพันธ (Derivative
Warrant), ใบแสดงสิทธิในผลประโยชนที่เกิดจากหลักทรัพยอางอิง
(Depository Receipt) ฯลฯ
ตราสารทางการเงิน Financial Instruments
• สิทธิของผูถือหุน
– สิทธิขั้นพื้นฐาน
- สิทธิในการรับทราบขอมูลขาวสารตางๆ
- สิทธิในการไดรับเงินปนผล เชน เมื่อบริษัทไดประกาศไววา
เมื่อไดกําไร บริษัทจะจายเงินปนผลรอยละ15เชนนี้แลว เมื่อบริษัทมี
กําไร เราก็มีสิทธิที่จะไดรับเงินปนผลรอยละ 15
- สิทธิในการจองซื้อหุนออกใหม เพื่อเปนการปกปองผูถือ
หุนรายเดิม ไมใหเสียอํานาจควบคุมไป
ตราสารทางการเงิน Financial Instruments
– สิทธิในการบริหารบริษัท
• การเขารวมประชุมผูถือหุน
• การออกเสียงตัดสินใจในเรื่องสําคัญๆ ของบริษัท
• การเพิ่มวาระการประชุม
• การเพิกถอนมติที่ประชุม
• การฟองรองคดี
• การไดรับความคุมครองตางๆ จากกฎหมายหลักทรัพย
การรักษาและใชสิทธิของผูถือหุนอยางเหมาะสม นอกจากจะเปนการ
รักษาผลประโยชนของตนเองแลว ยังชวยใหบริษัทมีความระมัดระวังใน
การบริหารกิจการ และบริหารกิจการดวย
ตราสารทางการเงิน Financial Instruments
• ความเสี่ยงจากการลงทุนในหุน
ผลตอบแทนจากการลงทุนในหุนในรูปของ “เงินปนผล” และ “กําไร
จากการขายหุน” จะอยูในระดับสูงหรือต่ํานั้นยอมขึ้นอยูกับผลประกอบการ
ของบริษัท ภาวะอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ และภาวะเศรษฐกิจ รวมทั้ง
สถานการณการซื้อขายในตลาดหลักทรัพยฯ หากภาวะเศรษฐกิจขยายตัวดี และ
บริษัทมีผลประกอบการที่ดี ผูลงทุนยอมมีโอกาสที่จะไดรับผลตอบแทนที่สูงขึ้น
ในทางตรงขาม หากภาวะเศรษฐกิจซบเซาและบริษัทมีผลกําไรลดลง
ผลตอบแทนที่ผูลงทุนจะไดรับก็มีแนวโนมที่จะลดลงเชนกัน ดังนั้น ผูลงทุนจึงมี
ความเสี่ยงในเรื่องความไมแนนอนของอัตราผลตอบแทนที่จะไดรับ
ตราสารทางการเงิน Financial Instruments
• ความไมแนนอนของผลตอบแทนที่ไดรับ เกิดจากความไมแนนอนของ
กระแสเงินสดรับสุทธิของกิจการ ซึ่งเปนผลมาจาก
• ความเสี่ยงทางธุรกิจ (Business Risk)
• ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risk)
• ความเสี่ยงจากอัตราเงินเฟอ (Inflation Risk)
ตราสารทางการเงิน Financial Instruments
2. ตราสารหนี้ (Debt) เปนตราสารที่ใหสิทธิการเปน “เจาหนี้ของ
กิจการ” แกผูลงทุน ซึ่งในฐานะเจาหนี้ ผูลงทุนจะไดรับผลตอบแทนหรือ
ผลประโยชนอื่นๆ ตามที่ไดมีการกําหนดไว โดยผูออกตราสารหนี้จะระบุ
อัตราผลตอบแทน กําหนดวันจายดอกเบี้ย และวันครบอายุหรือกําหนดไถ
ถอนตราสารไวอยางชัดเจน
• ตราสารหนี้ที่ออกโดยรัฐบาล เชน ตั๋วเงินคลัง พันบัตรรัฐบาล
• ตราสารหนี้ที่ออกโดยองคกรภาครัฐวิสาหกิจ
• ตราสารหนี้ภาคเอกชน
ตราสารทางการเงิน Financial Instruments
ตราสารทางการเงิน Financial Instruments
3. หนวยลงทุน (Unit Trust)
เปนตราสารที่ออกจําหนายและบริหารการลงทุนโดยบริษัท
หลักทรัพยจัดการลงทุน (บลจ.) เพื่อระดมเงินเขา “กองทุนรวม” ที่จัดตั้ง
ขึ้นเพื่อลงทุนตามวัตถุประสงคและนโยบายการลงทุนที่ระบุไวในหนังสือชี้
ชวน ผูลงทุนมีฐานะเปน “เจาของรวมในทรัพยสินของกองทุนรวม” จึง
มีสวนไดสวนเสียและไดรับผลตอบแทนตามผลการดําเนินงานของกองทุน
ซึ่งจุดเดนของการลงทุนในกองทุนรวมก็คือ การมีบริษัทหลักทรัพยจัดการ
ลงทุนดูแลการลงทุนให จึงเหมาะสําหรับผูลงทุนที่ไมมีเวลาดูแลการลงทุน
ดวยตัวเองหรือไมมีความรู
ตราสารทางการเงิน Financial Instruments
• ผลตอบแทนจากการลงทุนในหนวยลงทุนหรือกองทุนรวม
• สวนแบงกําไรในรูปของเงินปนผล Dividend
• กําไรสวนเกินมูลคาหนวยลงทุน Capital Gain
*ทั้งนี้ ผลตอบแทนที่ผูถือหนวยลงทุนแตละรายไดรับก็คือ ผลตอบแทนที่กองทุนรวม
ไดรับจากการลงทุนในหลักทรัพยหรือทรัพยสินประเภทตางๆ และนํามาเฉลี่ยคืนใหแกผู
ถือหนวยลงทุนอีกทีหนึ่งตามสัดสวนที่ไดลงทุนไวแตแรกในกองทุนรวมนั่นเอง
ตราสารทางการเงิน Financial Instruments
• ตัวอยางกองทุนรวม
– LTF (Long Term Equity Fund) หรือ “กองทุนรวมหุนระยะ
ยาว” เปนกองทุนรวมที่เนนลงทุนในหุน โดยทางการสนับสนุนใหจัดตั้งขึ้นเพื่อ
เพิ่มสัดสวนผูลงทุนสถาบัน (ซึ่งก็คือกองทุนรวม) ที่จะลงทุนระยะยาวในตลาด
หลักทรัพยฯ ซึ่งการเพิ่มผูลงทุนสถาบันดังกลาวจะชวยใหตลาดทุนไทยมี
เสถียรภาพมากขึ้น
สําหรับผูลงทุนใน LTF ที่เปนบุคคลธรรมดาจะไดรับสิทธิประโยชนทางภาษี
เพื่อเปนแรงจูงใจในการลงทุน
ตราสารทางการเงิน Financial Instruments
– RMF (Retirement Mutual Fund) หรือ “กองทุนรวมเพื่อ
การเลี้ยงชีพ” เปนกองทุนรวมประเภทที่สงเสริมใหเกิดการออมเงินระยะ
ยาวไวสําหรับใชจายยามเกษียณอายุ ซึ่งจะคลายๆ กับกองทุนสํารอง
เลี้ยงชีพ (Provident Fund) ของภาคเอกชน และกองทุนบําเหน็จ
บํานาญขาราชการ (กบข.) (Government Pension Fund) ของ
ขาราชการ
สิ่งที่ถือวาเปนที่นาสนใจสําหรับกองทุนรวม RMF ก็คือ ไดรับการ
สนับสนุนจากทางการเรื่องสิทธิประโยชนทางภาษี เพื่อจูงใจใหผูสนใจลงทุน
มีการเก็บออมในระยะยาวสําหรับชีวิตหลังเกษียณ แตผูลงทุนก็ตองปฏิบัติตาม
เงื่อนไขการลงทุนตางๆ จึงจะไดสิทธิประโยชนทางภาษีนั้น
ตราสารทางการเงิน Financial Instruments
– ETF (Exchange Traded Fund) คือ กองทุนเปดที่จดทะเบียน
และสามารถซื้อขายในตลาดหลักทรัพยฯ ไดเสมือนการซื้อขายหุนตัว
หนึ่ง โดย ETF จะมีลักษณะคลายกับกองทุนรวมทั่วไป ไมวาจะเปนการที่มี
ผูบริหารกองทุนมืออาชีพคอยดูแลบริหารกองทุนใหอยางเปนระบบ ใชเงิน
ลงทุนนอย แตสามารถกระจายความเสี่ยงไดมาก รวมถึงการมีกลไกในการ
ปกปองผูถือหนวยลงทุน ขอดีหลัก ๆ ไดแก
• ซื้อขายราคา real time ไมตองรอลุนราคากองทุนทุกสิ้นวัน
• ซื้องายขายคลอง
• เปนตัวชวยกระจายความเสี่ยง
• ไดผลตอบแทนตามตลาด แตคาบริหารจัดการต่ํา
ตราสารทางการเงิน Financial Instruments
4. ตราสารอนุพันธ (Derivatives)
เปนสัญญาทางการเงินที่ทําขึ้นในปจจุบัน เพื่อตกลงซื้อขายหรือใหสิทธิ
ในการซื้อขายสินทรัพยอางอิง (Underlying Asset) เชน หุนสามัญ ดัชนี
หลักทรัพย อัตราแลกเปลี่ยน ทองคํา น้ํามัน ฯลฯ ในอนาคต กลาวคือ ทําสัญญา
ตกลงกันวันนี้วาจะซื้อหรือขายสินทรัพยอางอิงจํานวนกี่หนวย ที่ราคาเทาใด
แลวจะสงมอบและชําระราคากันเมื่อใด ลักษณะเฉพาะของตราสารอนุพันธ คือ
“มีอายุสัญญาจํากัด” เมื่อครบอายุสัญญา มูลคาของตราสารก็จะหมดลง
นอกจากนี้ ราคาตราสารอนุพันธก็จะผันผวนไปตามราคาสินทรัพยอางอิง ผู
ลงทุนจึงมักใชตราสารอนุพันธเปนเครื่องมือเพื่อปองกันความเสี่ยง
ตราสารทางการเงิน Financial Instruments
• เวลาเปดทําการของตลาดอนุพันธในประเทศไทย
ตราสารทางการเงิน Financial Instruments
• ตัวอยางตราสารอนุพันธ
– Futures เปนสัญญา หรือขอตกลงระหวางบุคคล 2 ฝายคือ “ผูซื้อ” กับ
“ผูขาย” ในการตกลงที่จะซื้อหรือขายสินคา หรือสินทรัพยอางอิงใดๆ โดยการ
ตกลงซื้อขายดังกลาวเปนการตกลง ณ วันนี้ แตใชราคาในอนาคต และการสง
มอบสินคาก็จะเกิดขึ้นในอนาคต
ตราสารทางการเงิน Financial Instruments
– Options คือสัญญาระหวางบุคคล 2 ฝาย ที่ผูขายใหสิทธิแกผูซื้อในการซื้อ
หรือขายสินทรัพยอางอิงภายใตสัญญา ในราคาใชสิทธิที่ไดระบุไวและภายใน
ระยะเวลาที่ระบุไวในสัญญา
Thank You

More Related Content

What's hot

มูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลามูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลา
tumetr1
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัยความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
DuangdenSandee
 
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณMacro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Ornkapat Bualom
 
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
Pa'rig Prig
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
surapha97
 
งานพักกาด
งานพักกาดงานพักกาด
งานพักกาดRujeewan
 
การตัดสินใจลงทุน ฉบับสี
การตัดสินใจลงทุน ฉบับสีการตัดสินใจลงทุน ฉบับสี
การตัดสินใจลงทุน ฉบับสีMissAey Chantarungsri
 
สิทธิเด็ก
สิทธิเด็กสิทธิเด็ก
สิทธิเด็ก
ssuserd18196
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงkrupornpana55
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
Ornkapat Bualom
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนKrupol Phato
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
Ornkapat Bualom
 
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
Pa'rig Prig
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4Janova Kknd
 
พลังงานชีวมวล
พลังงานชีวมวลพลังงานชีวมวล
พลังงานชีวมวล
Ponpirun Homsuwan
 
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรีเฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
Aor's Sometime
 
11การทดแทนทรัพย์สิน
11การทดแทนทรัพย์สิน11การทดแทนทรัพย์สิน
11การทดแทนทรัพย์สินต้น ชุมพล
 
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai versionEconomic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
warawut ruankham
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3teerachon
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
Proud N. Boonrak
 

What's hot (20)

มูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลามูลค่าเงินตามเวลา
มูลค่าเงินตามเวลา
 
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัยความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวิจัย
 
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณMacro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
Macro Economics c4 การกำหนดรายได้ประชาชาติดุลยภาพและตัวทวีคูณ
 
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003บทที่ 4 ชั้นกลาง 2  2003
บทที่ 4 ชั้นกลาง 2 2003
 
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ เรื่องการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมและความหลากหลายทางชีว...
 
งานพักกาด
งานพักกาดงานพักกาด
งานพักกาด
 
การตัดสินใจลงทุน ฉบับสี
การตัดสินใจลงทุน ฉบับสีการตัดสินใจลงทุน ฉบับสี
การตัดสินใจลงทุน ฉบับสี
 
สิทธิเด็ก
สิทธิเด็กสิทธิเด็ก
สิทธิเด็ก
 
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียงถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
ถอดบทเรียนเศรษฐกิจพอเพียง
 
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาดบทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
บทที่ 8 การกำหนดราคา และผลผลิตในตลาด
 
ตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอนตัวอย่างโครงการสอน
ตัวอย่างโครงการสอน
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
บทที่ 2การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของห้างหุ้นส่วน (2)
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
พลังงานชีวมวล
พลังงานชีวมวลพลังงานชีวมวล
พลังงานชีวมวล
 
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรีเฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
เฉลยบัญชีกลาง2 หุ้นส่วนสมบัติ สมพงษ์และสมศรี
 
11การทดแทนทรัพย์สิน
11การทดแทนทรัพย์สิน11การทดแทนทรัพย์สิน
11การทดแทนทรัพย์สิน
 
Economic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai versionEconomic analysis for entrepreneur. thai version
Economic analysis for entrepreneur. thai version
 
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
แบบทดสอบ พระพุทธ ม.3
 
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
21 วิธีการสอน และเอกสารฝ่ายวิชาการ
 

Similar to ตราสารทางการเงิน Financial instruments

ใบหลักทรัพย์Km
ใบหลักทรัพย์Kmใบหลักทรัพย์Km
ใบหลักทรัพย์Kmseteru
 
Act411 3งบดุล
Act411 3งบดุลAct411 3งบดุล
Act411 3งบดุล
Aingaru Matarnai
 
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับCh2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับple2516
 
ก้าวแรกตลท. Setjfc2011
ก้าวแรกตลท. Setjfc2011ก้าวแรกตลท. Setjfc2011
ก้าวแรกตลท. Setjfc2011jiggee
 
ประหยัดภาษีอย่างฉลาดไม่พลาดลงุทุน Ltf&rmf
ประหยัดภาษีอย่างฉลาดไม่พลาดลงุทุน Ltf&rmfประหยัดภาษีอย่างฉลาดไม่พลาดลงุทุน Ltf&rmf
ประหยัดภาษีอย่างฉลาดไม่พลาดลงุทุน Ltf&rmfThanyawan Chaisiri
 
TAS 105
TAS 105TAS 105
TAS 105
evarinN
 
บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8praphol
 
บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัทบทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
Pa'rig Prig
 

Similar to ตราสารทางการเงิน Financial instruments (12)

ใบหลักทรัพย์Km
ใบหลักทรัพย์Kmใบหลักทรัพย์Km
ใบหลักทรัพย์Km
 
Act411 3งบดุล
Act411 3งบดุลAct411 3งบดุล
Act411 3งบดุล
 
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับCh2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
 
08 businessfinance v1
08 businessfinance v108 businessfinance v1
08 businessfinance v1
 
ก้าวแรกตลท. Setjfc2011
ก้าวแรกตลท. Setjfc2011ก้าวแรกตลท. Setjfc2011
ก้าวแรกตลท. Setjfc2011
 
ประหยัดภาษีอย่างฉลาดไม่พลาดลงุทุน Ltf&rmf
ประหยัดภาษีอย่างฉลาดไม่พลาดลงุทุน Ltf&rmfประหยัดภาษีอย่างฉลาดไม่พลาดลงุทุน Ltf&rmf
ประหยัดภาษีอย่างฉลาดไม่พลาดลงุทุน Ltf&rmf
 
TAS 105
TAS 105TAS 105
TAS 105
 
บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8
 
Chapter 6 2
Chapter 6 2Chapter 6 2
Chapter 6 2
 
Chapter 6
Chapter 6Chapter 6
Chapter 6
 
บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัทบทที่ 5  การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
บทที่ 5 การเปลี่ยนแปลงเงินทุนของบริษัท
 
ฉลาดใช้ฉลาดออม
ฉลาดใช้ฉลาดออมฉลาดใช้ฉลาดออม
ฉลาดใช้ฉลาดออม
 

More from Peerapat Teerawattanasuk

การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานและเทคนิค
การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานและเทคนิคการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานและเทคนิค
การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานและเทคนิค
Peerapat Teerawattanasuk
 
การเข้าใช้งานโปรแกรม Streaming pro
การเข้าใช้งานโปรแกรม Streaming proการเข้าใช้งานโปรแกรม Streaming pro
การเข้าใช้งานโปรแกรม Streaming pro
Peerapat Teerawattanasuk
 
Streaming pro
Streaming proStreaming pro
ลงทุนออนไลน์ (Internet trading)
ลงทุนออนไลน์ (Internet trading)ลงทุนออนไลน์ (Internet trading)
ลงทุนออนไลน์ (Internet trading)
Peerapat Teerawattanasuk
 
รู้จักการลงทุน
รู้จักการลงทุนรู้จักการลงทุน
รู้จักการลงทุน
Peerapat Teerawattanasuk
 
บริษัทหลักทรัพย์ หรือโบรกเกอร์ (Broker)
บริษัทหลักทรัพย์ หรือโบรกเกอร์ (Broker)บริษัทหลักทรัพย์ หรือโบรกเกอร์ (Broker)
บริษัทหลักทรัพย์ หรือโบรกเกอร์ (Broker)
Peerapat Teerawattanasuk
 
วิธีการซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านระบบ Online Trading
วิธีการซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านระบบ Online Tradingวิธีการซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านระบบ Online Trading
วิธีการซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านระบบ Online Trading
Peerapat Teerawattanasuk
 

More from Peerapat Teerawattanasuk (7)

การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานและเทคนิค
การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานและเทคนิคการวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานและเทคนิค
การวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานและเทคนิค
 
การเข้าใช้งานโปรแกรม Streaming pro
การเข้าใช้งานโปรแกรม Streaming proการเข้าใช้งานโปรแกรม Streaming pro
การเข้าใช้งานโปรแกรม Streaming pro
 
Streaming pro
Streaming proStreaming pro
Streaming pro
 
ลงทุนออนไลน์ (Internet trading)
ลงทุนออนไลน์ (Internet trading)ลงทุนออนไลน์ (Internet trading)
ลงทุนออนไลน์ (Internet trading)
 
รู้จักการลงทุน
รู้จักการลงทุนรู้จักการลงทุน
รู้จักการลงทุน
 
บริษัทหลักทรัพย์ หรือโบรกเกอร์ (Broker)
บริษัทหลักทรัพย์ หรือโบรกเกอร์ (Broker)บริษัทหลักทรัพย์ หรือโบรกเกอร์ (Broker)
บริษัทหลักทรัพย์ หรือโบรกเกอร์ (Broker)
 
วิธีการซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านระบบ Online Trading
วิธีการซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านระบบ Online Tradingวิธีการซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านระบบ Online Trading
วิธีการซื้อขายหลักทรัพย์ผ่านระบบ Online Trading
 

Recently uploaded

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 

Recently uploaded (10)

4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 

ตราสารทางการเงิน Financial instruments

  • 2. ตราสารทางการเงิน Financial Instruments ตราสารทางการเงิน คือ หลักฐานแสดงการถือครองและสิทธิ เรียกรองตางๆ ที่บริษัทผูออกหลักทรัพยนําออกมาจําหนายเพื่อระดมเงิน จากผูลงทุน และนํามาจดทะเบียนเพื่อใหมีการซื้อขายในตลาดรอง ซึ่ง ปจจุบันมีตราสารทางการเงินที่ซื้อขายกันในตลาดรองมากกวา 1,000 ชนิด ทําใหผูลงทุนมีทางเลือกการลงทุนที่หลากหลาย ตลอดจนสามารถกระจาย การลงทุนไดอยางเหมาะสมและมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
  • 3. ตราสารทางการเงิน Financial Instruments • ตราสารทางการเงินที่มีการซื้อขายในปจจุบัน แบงเปน 1. ตราสารทุน (Equity) เปนตราสารที่ใหสิทธิการเปน “เจาของ กิจการ” แกผูลงทุน ดังนั้น ในฐานะเจาของกิจการ ผูลงทุนจึงมีโอกาสที่จะ ไดรับผลตอบแทนที่ดีถากิจการมีผลการดําเนินงานดี และมีความเสี่ยงที่จะ ขาดทุนหรือไมไดผลตอบแทนถาผลการ ดําเนินงานของกิจการไมเปนไปตามที่คาดหมาย » หุนสามัญ (Common Stock) » หุนบุริมสิทธิ์ (Preferred Stock) » ตราสารสิทธิในการซื้อหุนสามัญ เชน ใบสําคัญแสดงสิทธิ (Warrant), ใบสําคัญแสดงสิทธิอนุพันธ (Derivative Warrant), ใบแสดงสิทธิในผลประโยชนที่เกิดจากหลักทรัพยอางอิง (Depository Receipt) ฯลฯ
  • 4. ตราสารทางการเงิน Financial Instruments • สิทธิของผูถือหุน – สิทธิขั้นพื้นฐาน - สิทธิในการรับทราบขอมูลขาวสารตางๆ - สิทธิในการไดรับเงินปนผล เชน เมื่อบริษัทไดประกาศไววา เมื่อไดกําไร บริษัทจะจายเงินปนผลรอยละ15เชนนี้แลว เมื่อบริษัทมี กําไร เราก็มีสิทธิที่จะไดรับเงินปนผลรอยละ 15 - สิทธิในการจองซื้อหุนออกใหม เพื่อเปนการปกปองผูถือ หุนรายเดิม ไมใหเสียอํานาจควบคุมไป
  • 5. ตราสารทางการเงิน Financial Instruments – สิทธิในการบริหารบริษัท • การเขารวมประชุมผูถือหุน • การออกเสียงตัดสินใจในเรื่องสําคัญๆ ของบริษัท • การเพิ่มวาระการประชุม • การเพิกถอนมติที่ประชุม • การฟองรองคดี • การไดรับความคุมครองตางๆ จากกฎหมายหลักทรัพย การรักษาและใชสิทธิของผูถือหุนอยางเหมาะสม นอกจากจะเปนการ รักษาผลประโยชนของตนเองแลว ยังชวยใหบริษัทมีความระมัดระวังใน การบริหารกิจการ และบริหารกิจการดวย
  • 6. ตราสารทางการเงิน Financial Instruments • ความเสี่ยงจากการลงทุนในหุน ผลตอบแทนจากการลงทุนในหุนในรูปของ “เงินปนผล” และ “กําไร จากการขายหุน” จะอยูในระดับสูงหรือต่ํานั้นยอมขึ้นอยูกับผลประกอบการ ของบริษัท ภาวะอุตสาหกรรมที่เกี่ยวของ และภาวะเศรษฐกิจ รวมทั้ง สถานการณการซื้อขายในตลาดหลักทรัพยฯ หากภาวะเศรษฐกิจขยายตัวดี และ บริษัทมีผลประกอบการที่ดี ผูลงทุนยอมมีโอกาสที่จะไดรับผลตอบแทนที่สูงขึ้น ในทางตรงขาม หากภาวะเศรษฐกิจซบเซาและบริษัทมีผลกําไรลดลง ผลตอบแทนที่ผูลงทุนจะไดรับก็มีแนวโนมที่จะลดลงเชนกัน ดังนั้น ผูลงทุนจึงมี ความเสี่ยงในเรื่องความไมแนนอนของอัตราผลตอบแทนที่จะไดรับ
  • 7. ตราสารทางการเงิน Financial Instruments • ความไมแนนอนของผลตอบแทนที่ไดรับ เกิดจากความไมแนนอนของ กระแสเงินสดรับสุทธิของกิจการ ซึ่งเปนผลมาจาก • ความเสี่ยงทางธุรกิจ (Business Risk) • ความเสี่ยงทางการเงิน (Financial Risk) • ความเสี่ยงจากอัตราเงินเฟอ (Inflation Risk)
  • 8. ตราสารทางการเงิน Financial Instruments 2. ตราสารหนี้ (Debt) เปนตราสารที่ใหสิทธิการเปน “เจาหนี้ของ กิจการ” แกผูลงทุน ซึ่งในฐานะเจาหนี้ ผูลงทุนจะไดรับผลตอบแทนหรือ ผลประโยชนอื่นๆ ตามที่ไดมีการกําหนดไว โดยผูออกตราสารหนี้จะระบุ อัตราผลตอบแทน กําหนดวันจายดอกเบี้ย และวันครบอายุหรือกําหนดไถ ถอนตราสารไวอยางชัดเจน • ตราสารหนี้ที่ออกโดยรัฐบาล เชน ตั๋วเงินคลัง พันบัตรรัฐบาล • ตราสารหนี้ที่ออกโดยองคกรภาครัฐวิสาหกิจ • ตราสารหนี้ภาคเอกชน
  • 10. ตราสารทางการเงิน Financial Instruments 3. หนวยลงทุน (Unit Trust) เปนตราสารที่ออกจําหนายและบริหารการลงทุนโดยบริษัท หลักทรัพยจัดการลงทุน (บลจ.) เพื่อระดมเงินเขา “กองทุนรวม” ที่จัดตั้ง ขึ้นเพื่อลงทุนตามวัตถุประสงคและนโยบายการลงทุนที่ระบุไวในหนังสือชี้ ชวน ผูลงทุนมีฐานะเปน “เจาของรวมในทรัพยสินของกองทุนรวม” จึง มีสวนไดสวนเสียและไดรับผลตอบแทนตามผลการดําเนินงานของกองทุน ซึ่งจุดเดนของการลงทุนในกองทุนรวมก็คือ การมีบริษัทหลักทรัพยจัดการ ลงทุนดูแลการลงทุนให จึงเหมาะสําหรับผูลงทุนที่ไมมีเวลาดูแลการลงทุน ดวยตัวเองหรือไมมีความรู
  • 11. ตราสารทางการเงิน Financial Instruments • ผลตอบแทนจากการลงทุนในหนวยลงทุนหรือกองทุนรวม • สวนแบงกําไรในรูปของเงินปนผล Dividend • กําไรสวนเกินมูลคาหนวยลงทุน Capital Gain *ทั้งนี้ ผลตอบแทนที่ผูถือหนวยลงทุนแตละรายไดรับก็คือ ผลตอบแทนที่กองทุนรวม ไดรับจากการลงทุนในหลักทรัพยหรือทรัพยสินประเภทตางๆ และนํามาเฉลี่ยคืนใหแกผู ถือหนวยลงทุนอีกทีหนึ่งตามสัดสวนที่ไดลงทุนไวแตแรกในกองทุนรวมนั่นเอง
  • 12. ตราสารทางการเงิน Financial Instruments • ตัวอยางกองทุนรวม – LTF (Long Term Equity Fund) หรือ “กองทุนรวมหุนระยะ ยาว” เปนกองทุนรวมที่เนนลงทุนในหุน โดยทางการสนับสนุนใหจัดตั้งขึ้นเพื่อ เพิ่มสัดสวนผูลงทุนสถาบัน (ซึ่งก็คือกองทุนรวม) ที่จะลงทุนระยะยาวในตลาด หลักทรัพยฯ ซึ่งการเพิ่มผูลงทุนสถาบันดังกลาวจะชวยใหตลาดทุนไทยมี เสถียรภาพมากขึ้น สําหรับผูลงทุนใน LTF ที่เปนบุคคลธรรมดาจะไดรับสิทธิประโยชนทางภาษี เพื่อเปนแรงจูงใจในการลงทุน
  • 13. ตราสารทางการเงิน Financial Instruments – RMF (Retirement Mutual Fund) หรือ “กองทุนรวมเพื่อ การเลี้ยงชีพ” เปนกองทุนรวมประเภทที่สงเสริมใหเกิดการออมเงินระยะ ยาวไวสําหรับใชจายยามเกษียณอายุ ซึ่งจะคลายๆ กับกองทุนสํารอง เลี้ยงชีพ (Provident Fund) ของภาคเอกชน และกองทุนบําเหน็จ บํานาญขาราชการ (กบข.) (Government Pension Fund) ของ ขาราชการ สิ่งที่ถือวาเปนที่นาสนใจสําหรับกองทุนรวม RMF ก็คือ ไดรับการ สนับสนุนจากทางการเรื่องสิทธิประโยชนทางภาษี เพื่อจูงใจใหผูสนใจลงทุน มีการเก็บออมในระยะยาวสําหรับชีวิตหลังเกษียณ แตผูลงทุนก็ตองปฏิบัติตาม เงื่อนไขการลงทุนตางๆ จึงจะไดสิทธิประโยชนทางภาษีนั้น
  • 14. ตราสารทางการเงิน Financial Instruments – ETF (Exchange Traded Fund) คือ กองทุนเปดที่จดทะเบียน และสามารถซื้อขายในตลาดหลักทรัพยฯ ไดเสมือนการซื้อขายหุนตัว หนึ่ง โดย ETF จะมีลักษณะคลายกับกองทุนรวมทั่วไป ไมวาจะเปนการที่มี ผูบริหารกองทุนมืออาชีพคอยดูแลบริหารกองทุนใหอยางเปนระบบ ใชเงิน ลงทุนนอย แตสามารถกระจายความเสี่ยงไดมาก รวมถึงการมีกลไกในการ ปกปองผูถือหนวยลงทุน ขอดีหลัก ๆ ไดแก • ซื้อขายราคา real time ไมตองรอลุนราคากองทุนทุกสิ้นวัน • ซื้องายขายคลอง • เปนตัวชวยกระจายความเสี่ยง • ไดผลตอบแทนตามตลาด แตคาบริหารจัดการต่ํา
  • 15. ตราสารทางการเงิน Financial Instruments 4. ตราสารอนุพันธ (Derivatives) เปนสัญญาทางการเงินที่ทําขึ้นในปจจุบัน เพื่อตกลงซื้อขายหรือใหสิทธิ ในการซื้อขายสินทรัพยอางอิง (Underlying Asset) เชน หุนสามัญ ดัชนี หลักทรัพย อัตราแลกเปลี่ยน ทองคํา น้ํามัน ฯลฯ ในอนาคต กลาวคือ ทําสัญญา ตกลงกันวันนี้วาจะซื้อหรือขายสินทรัพยอางอิงจํานวนกี่หนวย ที่ราคาเทาใด แลวจะสงมอบและชําระราคากันเมื่อใด ลักษณะเฉพาะของตราสารอนุพันธ คือ “มีอายุสัญญาจํากัด” เมื่อครบอายุสัญญา มูลคาของตราสารก็จะหมดลง นอกจากนี้ ราคาตราสารอนุพันธก็จะผันผวนไปตามราคาสินทรัพยอางอิง ผู ลงทุนจึงมักใชตราสารอนุพันธเปนเครื่องมือเพื่อปองกันความเสี่ยง
  • 16. ตราสารทางการเงิน Financial Instruments • เวลาเปดทําการของตลาดอนุพันธในประเทศไทย
  • 17. ตราสารทางการเงิน Financial Instruments • ตัวอยางตราสารอนุพันธ – Futures เปนสัญญา หรือขอตกลงระหวางบุคคล 2 ฝายคือ “ผูซื้อ” กับ “ผูขาย” ในการตกลงที่จะซื้อหรือขายสินคา หรือสินทรัพยอางอิงใดๆ โดยการ ตกลงซื้อขายดังกลาวเปนการตกลง ณ วันนี้ แตใชราคาในอนาคต และการสง มอบสินคาก็จะเกิดขึ้นในอนาคต
  • 18. ตราสารทางการเงิน Financial Instruments – Options คือสัญญาระหวางบุคคล 2 ฝาย ที่ผูขายใหสิทธิแกผูซื้อในการซื้อ หรือขายสินทรัพยอางอิงภายใตสัญญา ในราคาใชสิทธิที่ไดระบุไวและภายใน ระยะเวลาที่ระบุไวในสัญญา