SlideShare a Scribd company logo
1 of 255
Financial Statement
 บัญชี (Accounting) “เป็นศิลปะของการตีความ
การวัด และการสื่อสาร ถึงผลลัพธ์ที่เกิดจาก
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของหน่วยงานหนึ่งๆ”
 บางครั้งเรียนการบัญชีว่า ภาษาธุรกิจ
 วัตถุประสงค์ของการบัญชี คือ การให ้ข ้อมูลแก่
ผู้ใช ้ไม่ว่าจะเป็น นักลงทุน หรือผู้ให ้กู้ในการ
ตัดสินใจทางเศรษฐกิจ เช่น นักลงทุนก็ต ้องดู
ข ้อมูลทางบัญชีของบริษัทเพื่อทาการตัดสินใจว่า
Financial Statement
 ข ้อมูลทางบัญชีของหน่วยธุรกิจหนึ่ง คือ งบ
การเงิน ซึ่งเป็นข ้อมูลที่แสดงถึงฐานะทางการเงิน
ของหน่วยธุรกิจ และผลการดาเนินงานในชั่ว
ระยะเวลาหนึ่ง
 งบการเงิน ประกอบด ้วย
– งบดุล – แสดงถึงฐานะทางการเงินของบริษัท
ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง โดยแสดงถึงทรัพยากรที่
บริษัทมีอยู่ หนี้สินที่มีอยู่ และส่วนของเจ ้าของ
– งบกาไรขาดทุน – แสดงถึงผลการดาเนินงาน
ของบริษัทในรูปของกาไรหรือขาดทุนของ
บริษัทในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
Financial Statement
 นอกจากนี้ยังมีหมายเหตุประกอบงบ
การเงิน เป็นการให ้ข ้อมูลเพิ่มเติมที่เชื่อว่า
มีประโยชน์ต่อการตีความงบการเงิน
 งบการเงินของบริษัทจะน่าเชื่อถือหรือไม่
ขึ้นอยู่กับการตรวจสอบของบุคคลภายนอก
คือผู้สอบบัญชีรับอนุญาต หรือ certificated
public accountant (CPA) ผู้สอบการเงิน
เหล่านี้จะมีความเชี่ยวชาญในเรื่องของงบ
การเงินและเป็นอิสระจากบริษัทที่จัดทางบ
Financial Statement
Financial Statement
Financial Statement
 งบดุล
– สินทรัพย์ แบ่งออกเป็น
 สินทรัพย์หมุนเวียน (Current assets)
คือ สินทรัพย์ที่กิจการมีวัตถุประสงค์จะ
เปลี่ยนเป็นเงินสดหรือมีไว ้เพื่อขาย
หรือเพื่อนาไปใช ้ในการดาเนินงาน
ตามปกติภายใน 12 เดือน ใช ้ส่วนของ
การดาเนินงานรายวัน และจ่ายหนี้ระยะ
สั้น
 สินทรัพย์ถาวร (Fixed assets) – เป็น
ิ
Financial Statement
 สินทรัพย์หมุนเวียน –เรียงจากสินทรัพย์ที่มี
สภาพคล่องสูงไปยังสินทรัพย์ที่มีสภาพคล่อง
ต่า
– Cash and cash equivalents สิ่งที่เทียบเท่าเงิน
สด คือ หลักทรัพย์ในความต ้องการของตลาดที่
ถึงกาหนดภายใน 90 วัน หรือน้อยกว่า เช่น
บัญชีออมทรัพย์ ตั๋วเงินระยะสั้น หรือตราสาร
หนี้ที่ใกล ้ครบอายุ การถือเงินสดมากเกินไป จะ
เป็นการใช ้เงินอย่างไม่มีประสิทธิภาพ เพราะ
ควรจะนาไปลงทุนจะได ้ผลตอบแทนมากกว่า
– Account Receivables – ลูกค ้าที่ซื้อสินค ้าหรือ
บริการเป็นเงินเชื่อ
Financial Statement
 สินทรัพย์ถาวร
– เงินลงทุนระยะยาว คือ เงินที่กิจการนาไป
ลงทุนเกินกว่าระยะเวลา 1 ปี อาจลงทุนในหุ้น
ตราสารหนี้ หรือที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่มี
ไว ้เพื่อเก็งกาไร
– ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ที่มีไว ้เพื่อการ
ดาเนินงาน
– ค่าเสื่อมราคา เป็นการแบ่งสรรทุนที่ใช ้ซื้อ
สินทรัพย์ถาวร (ยกเว ้นที่ดิน) ตลอดระยะเวลา
ที่ได ้รับประโยชน์จากสินทรัพย์ถาวรนั้น
Financial Statement
 หนี้สิน
– หนี้สินหมุนเวียน (Current Liabilities) – หนี้สินที่
จะต ้องชาระคืนภายในระยะเวลา 12 เดือน ซึ่ง
เกี่ยวข ้องกับการดาเนินงาน
 เจ ้าหนี้การค ้า (Account Payables) เกิดจากการ
ซื้อสินค ้าหรือบริการเป็นเงินเชื่อ อันเป็นปกติ
ธุระของกิจการ
 ตั๋วเงินจ่าย (Note Payables) ที่ต ้องชาระภายใน
1 ปี
 ค่าใช ้จ่ายค ้างจ่าย (Accrued Expenses) เมื่อ
สิ้นสุดระยะเวลาบัญชี ค่าใช ้จ่ายต่างๆ ได ้
เกิดขึ้นแล ้ว แต่ยังไม่จ่ายเงิน เช่น ค่าเช่าค ้าง
จ่าย ค่าแรงค ้างจ่าย ภาษีเงินได ้ค ้างจ่าย
Financial Statement
 หนี้สิน
– หนี้สินระยะยาว (Long-term liability) เป็น
หนี้สินที่ต ้องชาระเกินกว่า 1 ปี
 เงินกู้ระยะยาว (Long term debts)
 ตราสารหนี้ระยะยาว (Long term bonds)
Financial Statement
 ส่วนของเจ ้าของ
– หุ้นทุน – หุ้นสามัญ (Common Stocks) และ
หุ้นบุริมสิทธิ (Preferred Stock)
– ส่วนเกินทุน (Additional paid-in capital)
 ส่วนเกินมูลค่าหุ้น – ขายหุ้นในราคาสูง
กว่าราคาที่ตราไว ้
 ส่วนเกินทุนอื่น – ส่วนเกินทุนที่เกิดจาก
การตีราคาสินทรัพย์
– กาไรสะสม (Retained Earnings) – คือกาไร
หลังจากการจ่ายปันผลแล ้ว
Financial Statement
 หมายเหตุประกอบงบ เป็นการเปิดเผยเพิ่มเติม
เพื่อความเข ้าใจต่อผู้ใช ้งบการเงิน ในสิ่งที่เป็น
สาระสาคัญ ซึ่งถ ้าไม่เปิดเผยให ้ทราบแล ้วจะทา
ให ้เกิดความเข ้าใจผิดขึ้นได ้ซึ่งประกอบด ้วย
– นโยบายการบัญชี เช่น รับรู้รายได ้ตามเกณฑ์สิทธิ
– ข ้อผูกพันต่างๆ เช่น ข ้อจากัดต่างๆ ในสิทธิที่เหนือ
ทรัพย์สิทธิ
– หนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น เช่น ค่าเสียหายหากแพ ้คดีค
ว่ามซึ่งอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาล
– การเปลี่ยนแปลงทางบัญชี เช่น การเปลี่ยนแปลง
วิธีการตีราคาสินค ้าคงเหลือตามวิธีการเข ้าก่อนออก
Financial Statement
 งบกาไรขาดทุน
Financial Statement
 งบกาไรขาดทุน
Financial Statement
 งบกาไรขาดทุน เป็นงบที่บอกถึงผลการเป็นรอ
ดาเนินงานของกิจการในรอบระยะเวลาใดเวลา
หนึ่งส่วนหนึ่ง (ส่วนใหญ่บระยะเวลาเป็นปี)
– รายได ้– สามารถแบ่งออกเป็น รายได ้จากการ
ขายสินค ้าและบริการ และรายได ้อื่นๆที่
นอกเหนือจากการดาเนินงานโดยตรง
– ค่าใช ้จ่าย
 ต ้นทุนสินค ้าขาย – เป็นค่าใช ้จ่ายที่มี
ความสัมพันธ์โดยตรงกับรายได ้
 ค่าใช ้จ่ายในการขาย – เป็นค่าใช ้จ่ายที่ใช ้ความ
พยายามก่อให ้เกิดรายได ้เช่น เงินเดือนพนักงาน
ขาย ค่าใช ้จ่ายทางการตลาด ค่าขนส่งสินค ้า ค่า
Financial Statement
 งบกาไรขาดทุน
– ในส่วนของค่าเสื่อมราคา (Depreciation) ไม่ใช ้
ค่าใช ้จ่ายที่มีการจ่ายเงินสดออกไปจริง แต่เป็น
การใช ้วิธีการบัญชีที่ตัดมูลค่าของสินทรัพย์
ถาวร (อาคาร และอุปกรณ์) ตามระยะเวลาการ
ใช ้
– หรือค่าใช ้สิทธิ (Amortization) เป็นค่าใช ้จ่ายที่
เกิดขึ้นจากการใช ้สิทธิซึ่งถือเป็นสินทรัพย์ที่ไม่
Financial Statement
 งบกาไรขาดทุน
– ผลแตกต่างระหว่าง ขายสุทธิ และต ้นทุนจาก
การดาเนินงาน และค่าเสื่อมราคา เรียบกว่า
กาไรก่อนหักดอกเบี้ยและภาษี (EBIT)
– ดอกเบี้ยจ่าย เป็นดอกเบี้ยอันเกิดจาการใช ้หนี้
ถือเป็นค่าใช ้จ่าย ซึ่งหากเรานา EBIT –
Interest = EBT หรือ กาไรก่อนหักภาษี
– จากนั้นหักด ้วยภาษีเงินได ้(Tax) คือ 40%
– บรรทัดท ้ายสุด คือ กาไรสุทธิ หรือ Net Income
Financial Statement
 Statement of Cash flow – เป็นรายงานทางบัญชีว่า
บริษัทสามารถสร ้างกระแสเงินสดได ้เท่าไรและมา
จากกิจกรรมใด ซึ่งจะแบ่งออกได ้เป็น 3 กิจกรรม
สาคัญ คือ
– Operating activities – กิจกรรมการดาเนินการจะ
เกี่ยวข ้องกับการเปลี่ยนแปลงของสินทรัพย์และ
หนี้สินหมุนเวียน (ยกเว ้น Note Payable)
– Long-Term investing activities – เป็นการลงทุน
ระยะยาว พิจารณาการเปลี่ยนแปลงของสินทรัพย์
ถาวร
Financial Statement
 งบกระแสเงินสด
Financial Statement
 งบกระแสเงินสด
Financial Statement
 กิจกรรมที่ทาให ้ฐานะของเงินสดเปลี่ยนแปลงไปดังนี้
– Operating Activity
Activities Increase or decrease cash flow
Net income +
Depreciation +
Increase in account receivable -
Increase in inventories -
Increase in account payable +
Increase in Accrual +
Financial Statement
 กิจกรรมที่ทาให ้ฐานะของเงินสดเปลี่ยนแปลงไปดังนี้
– Investing Activity – Increase in net plant and equipment จะทาให ้
cash flow ลดลง
– Financing Activity
Activities Increase or decrease cash flow
Increase in note payable +
Increase in long-term bond +
Payment of dividends -
Financial Statement
 Operating Cash flow
– EBIT (1-TAX rate) + Depreciation and Amortization
– 4,800 (1-0.4) + 2,400 = 5,280
– EBIT (1-TAX rate) คือ net operating profit after taxes (NOPAT)
Financial Statement
 Free Cash Flow คือ กระแสเงินสดที่นักลงทุนได ้รับหลังจาก
หักในส่วนของการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรและ working
capital
– FCF = [EBIT (1-TAX rate) + Depreciation and
Amortization] – [Capital expenditures + Δ Net operating
working capital]
– Capital expenditures = (Depreciation and amortization +
Increasing in fixed assets)
Financial Statement
 Free Cash Flow คือ กระแสเงินสดที่นักลงทุนได ้รับหลังจาก
หักในส่วนของการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรและ working
capital
– Capital expenditures = (Depreciation and amortization +
Increasing in fixed assets)
– Capital expenditure = 2,400 + (-320) = 2,080
Financial Statement
 Free Cash Flow คือ กระแสเงินสดที่นักลงทุนได ้รับหลังจาก
หักในส่วนของการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรและ working
capital
– Net Working Capital = (Cash and cash equivalent +
Account receivable + Inventories) – (Account payable +
Accruals)
– NWC ปี 2008 = 6,300 – 350 – 900 = 5,050
– NWC ปี 2009 = 6,570 – 250 – 1,200 = 5,120
– Change in NWC = 5,120 – 5,050 = 70
Financial Statement
 Free Cash Flow คือ กระแสเงินสดที่นักลงทุนได ้รับหลังจาก
หักในส่วนของการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรและ working
capital
– FCF = 5,280 – (2,080 + 70)
– FCF = 5,280 – 2,150 = 3,130
Financial Statement
 ผล
– จากผลที่ได ้FCF เป็น บวก คือ ข ้อดี
– กระแสเงินสดที่จ่ายออกไป ส่วนใหญ่คือการ
ลงทุนในสินทรัพย์ถาวร 2,080 ซึ่งจะทาให ้มี
ผลผลิตที่เพิ่มขึ้นต่อไปในอนาคตอีกนานปี จนถึง
ปี 2012 ดังนั้นเชื่อว่าในอนาคต FCF จะเพิ่มขึ้นอีก
หลายปี เพราะไม่ต ้องลงทุนส่วนนี้อีก
Analysis of financial statement
 Ratio analysis – รายงานทางการเงินจะถูกใช ้
ใน 2 ลักษณะ กล่าวคือ
– สาหรับนักลงทุนและผู้บริหาร จะใช ้ในการ
คาดการณ์อนาคตว่าจะเป็นอย่างไร
– เฉพาะกับผู้บริหาร จะใช ้เป็นจุดเริ่มต ้นในการ
วางแผนเพื่อเพิ่มผลประกอบการทางการเงิน
ในอนาคต
Analysis of financial statement
 Ratio Analysis
– Liquidity ratios – เป็นอัตราส่วนทางการเงินที่ใช ้ใน
การวัดสภาพคล่อง
– Asset management ratios – ดูประสิทธิภาพในการใช ้
สินทรัพย์
– Debt management ratios – ดูสัดส่วนของการใช ้หนี้
และความเสี่ยงทางการเงิน
– Profitability ratios – เป็นการแสดงผลลัพธ์ของ
นโยบายทางการเงินและการตัดสินใจในการ
ดาเนินการ
– Market value ratios – เป็นอัตราส่วนที่ชี้ให ้เห็นว่านัก
Analysis of financial statement
 Liquidity Ratios – เป็นตัวตอบคาถามที่ว่า
“Will the firm be able to pay off its debts as
they come due in the coming year?
– Current ratio – Current assets / Current liabilities
– 6,570/1,630 = 4.03 เท่า
– Industry average = 3.69 เท่า
– ถ ้าบริษัทมีปัญหาความยากลาบากทางการเงิน จะ
เริ่มเห็นว่าการจ่ายหนี้แก่เจ ้าหนี้การค ้าช ้าลง และกู้
เงินเพิ่มจากธนาคารเพื่อนามาหมุนเวียนในการ
Analysis of financial statement
 Liquidity Ratios
– Quick ratio – (current assets – inventories) / current
liabilities
– 5,770 / 1,630 = 3.54 เท่า
– Industry average = 3.23 เท่า
– สินค ้าคงเหลือเป็นสินทรัพย์ที่มีสภาพคล่องน้อยที่สุด
โอกาสที่จะสูญค่ามากกว่าสินทรัพย์อื่นๆ อย่างขายไม่
ออกหรือสินค ้าล ้าสมัย
– จะเห็นว่าทั้ง Current และ Quick ratio ต่างสูงกว่า
อุตสาหกรรม หมายถึงสภาพคล่องดี
Analysis of financial statement
 Asset Management Ratios – เป็นตัวตอบคาถาม
ที่ว่า “Does the amount of each type of asset
seem reasonable, too high, or too low in view
of current and projected sales?
 ถ ้าหากบริษัทถือสินทรัพย์มากเกินไป ต ้นทุนทาง
การเงินก็เพิ่มขึ้น (ไม่ว่าจะเป็นการกู้หรือแม ้แต่
เงินของตัวเอง) แน่นอนกาไรย่อมลดลง แต่หาก
มีสินทรัพย์น้อยเกินไป ยอดขายก็อาจจะลดลง
(โดยเฉพาะอย่างยิ่งการถือสินค ้าคงเหลือน้อย)
Analysis of financial statement
 Asset Management Ratios
– Inventory turnover ratio - Sales / Inventories
– 10,200 / 800 = 12.75 เท่า
– Industry average = 8.30 เท่า
– บริษัทไม่ได ้ถือสินค ้าคงเหลือมากเกินไป เมื่อเทียบ
กับอุตสาหกรรม สินค ้าคงเหลือมากเกินไป คือการ
ลงทุนที่ไม่มีประสิทธิผล จะมีอัตราผลตอบแทนต่า
หรือเป็นศูนย์ หาก lower turnover จะต ้องไป
พิจารณาประกอบกับ current ratio ว่าเรามีสินค ้าที่
ล ้าสมัยหรือไม่
Analysis of financial statement
 Asset Management Ratios
– Day sales outstanding (DSO) – Receivables / (Sales
/ 365)
– 690 / (10,200/365) = 25 วัน
– Industry average = 48 วัน
– เป็นระยะเวลาในการเรียกเก็บหนี้ จะเห็นว่าการเก็บหนี้
ของบริษัทมีประสิทธิภาพเมื่อเทียบกับอุตสาหกรรม
เพราะว่าระยะเวลาเก็บหนี้น้อย
– นอกจากนี้สามารถนา DSO ไปเปรียบเทียบกับ
เงื่อนไขการชาระหนี้ สมมติว่าตั้งนโยบายการชาระหนี้
Analysis of financial statement
 Asset Management Ratios
– Fixed asset turnover ratio – Sales / Net fixed assets
– 10,200/7,680 = 1.33 เท่า
– Industry average = 0.72 เท่า
– ข ้อสังเกต บริษัทที่ซื้อพวกเครื่องจักรมานานแล ้วจะ
ทาให ้Fixed asset turnover สูงกว่าบริษัทที่ตั้งใหม่
แสดงว่ามันไม่ได ้สะท ้อนประสิทธิภาพของการใช ้
สินทรัพย์ เพียงแต่ต่างกันที่ซื้อก่อนหรือซื้อหลัง
เท่านั้น
Analysis of financial statement
 Asset Management Ratios
– Total assets turnover ratio – Sales / Total assets
– 10,200 / 16,050 = 0.64 เท่า
– Industry average = 0.50 เท่า
– จะเห็นว่าอัตราส่วนมีค่าสูงกว่าอุตสาหกรรม แสดงว่า
บริษัทสร ้างยอดขายได ้ดีเมื่อเทียบกับสินทรัพย์รวม
ทั้งหมด
Analysis of financial statement
 Debt Management Ratios – อัตราส่วนนี้มี
นัยสาคัญอยู่ 3 ประการคือ
– เจ ้าหนี้เองก็ดูว่าบริษัทนี้มีหนี้มากน้อยแค่ไหน
หากมีหนี้มากย่อมหมายถึงความเสี่ยง โอกาส
ที่ปล่อยสินเชื่อให ้ก็น้อยลง
– การใช ้ส่วนของหนี้มาก หากบริษัทสามารถทา
กาไรได ้มากกว่าส่วนที่จ่ายเป็นดอกเบี้ยไป
ย่อมทาให ้ผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น
หรือ ROE นั้นสูงขึ้น
Analysis of financial statement
 Debt Management Ratios
– Total debt to total asset (Debt ratio) – Total debt /
Total assets
– (1,630 + 800) / 16,050 = 15.1%
– Industry average = 18.3%
– จะเห็นว่าบริษัทมีการใช ้หนี้ต่ากว่าอุตสาหกรรม ทา
ให ้TGE สามารถกู้เพิ่มได ้อีก โดยไม่จาเป็นต ้องเพิ่ม
ทุน
Analysis of financial statement
 Debt Management Ratios
– Times-interest-earned ratio
– TIE = EBIT / Interest charges
– 4,800 / 900 = 5.3 เท่า
– Industry average = 3.3 เท่า
– เป็นอัตราส่วนที่ดูความสามารถในการชาระหนี้ ว่า
กาไรก่อนหักภาษีและดอกเบี้ยนั้นมีเพียงพอสาหรับ
การจ่ายดอกเบี้ยมากน้อยแค่ไหน
– จะเห็นว่าอัตราส่วนสูงกว่าอุตสาหกรรม นั้นเป็น
Analysis of financial statement
 Profitability Ratios – เป็นเหมือนผลลัพธ์ของ
นโยบายการใช ้หนี้และนโยบายในการดาเนิน
กิจการ
– Operating Margin – EBIT/ Sales
– 4,800/ 10,200 = 47.1%
– Industry average = 34.5%
– จะเห็นว่า บริษัทมี Operating Margin สูงกว่า
อุตสาหกรรม ซึ่งเป็นผลจากการมี Operating Costs ที่
Analysis of financial statement
 Profitability Ratios – เป็นเหมือนผลลัพธ์ของ
นโยบายการใช ้หนี้และนโยบายในการดาเนิน
กิจการ
– Profit margin on sales – Net Income / Sales
– 2,340 / 10,200 = 22.9%
– Industry average = 20.2%
– มีเหตุผล 2 เหตุผลที่ทาให ้Profit margin on sale ของบริษัทสูง
กว่าอุตสาหกรรม คือ บริษัทมี Operating Costs ต่า หรือ profit
margin มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการใช ้ส่วนของหนี้ที่น้อย การ
ตั้งราคาสูงเพื่อหวังว่าจะเกิด Profit Margin อาจจะไม่เป็นจริง
Analysis of financial statement
 Profitability Ratios
– Return on total assets (ROA) – Net income / Total
assets
– 2,340 / 16,050 = 14.6%
– Industry average = 14.1%
– หากเกิดกรณีของ Low ROA อาจจะหมายความถึง
การมีต ้นทุนขายที่สูง หรือการมีดอกเบี้ยจานวนมาก
(หากมีการใช ้ส่วนของหนี้สูง)
Analysis of financial statement
 Profitability Ratios
– Return on common equity (ROE) – Net income /
Common equity
– 2,430 / 13,620 = 17.2%
– Industry average = 11.1%
– มาจากการทากาไรที่ดี ขณะที่ส่วนของเจ ้าของเรามี
สัดส่วนมากกว่าอุตสาหกรรมด ้วยซ้า
Analysis of financial statement
 Market Value Ratios – เป็นอัตราส่วนที่แสดง
ความสัมพันธ์ระหว่างราคาหุ้นกับกาไร กระแส
เงินสด และมูลค่าตามบัญชี
– Price / Earnings Ratio – Price per share / Earnings
per share
– 1.27 / 0.09 = 14.1
– Industry average = 15.0
Analysis of financial statement
 Market Value Ratios
– Market / Book ratio เป็นอัตราส่วนที่แสดงถึงมุมมอง
ของนักลงทุนต่อบริษัท บริษัทที่ปลอดภัยและมีอัตรา
การเติบโตของกาไรและกระแสเงินสดก็จะมีอัตราส่วน
นี้สูง
– ก่อนอื่นเราต ้องหา Book value per share = Common
equity / Share outstanding
– 13,620 / 26,000 = 0.52
Analysis of financial statement
 Market Value Ratios
– จากนั้นเราจะได ้Market / Book ratio คือ
– Market price per share / Book value per share
– 1.27 / 0.52 = 2.44
– Industry average = 1.79
– มันหมายความนักลงทุนยินดีที่จะจ่ายสาหรับมูลค่า
ของ $1 ของ Book value เพราะการที่บริษัทมีการ
ขยายตัวสูง
Analysis of financial statement
 Limitation of ratio analysis
– บริษัทที่ทาธุรกิจในหลายๆอุตสาหกรรม
– การทาได ้ตามค่าเฉลี่ยไม่ได ้แปลว่าดีเสมอไป
– วิธีการทางบัญชีของแต่ละทีก็แตกต่างกัน
– บางบริษัทมีการใช ้window dressing เพื่อทาให ้
บริษัทของตนเองดูดี
– บางทีก็พูดยากว่าอัตราส่วนทางการเงินที่ปรากฏนั้น
แปลว่าดีหรือไม่ดี
Time Value of Money
 Time Lines – แสดงถึงเวลาของกระแสเงินสด
– ระยะระหว่าง 0-1, 1-2, 2-3 คือช่วงระยะเวลาซึ่ง
อาจจะเป็นปีหรือเป็นเดือน
– 0 คือวันนี้ 1 คือ หนึ่งช่วงเวลาจากวันนี้และเป็น
จุดสิ้นสุดของช่วงเวลาที่ 1 และเป็นจุดเริ่มต ้นของ
ช่วงเวลาที่ 2 และช่วงอื่นๆก็เช่นกัน
Time Value of Money
 Time Lines – คนปกติต ้องการเงินหนึ่งบาทตอนนี้
มากกว่าเงินหนึ่งบาทในอนาคต โดยมีเหตุผลอยู่ 3
เหตุผล คือ
– หากให ้คนเราเลือกบริโภคได ้จะชอบบริโภควันนี้
มากกว่าจะบริโภคในอนาคต
– เงินเฟ้อจะทาให ้อานาจซื้อของเงินลดน้อยลง
เงินหนึ่งบาทในอนาคตจะซื้อสินค ้าได ้น้อยกว่า
เงินหนึ่งบาทวันนี้
– เงินหนึ่งบาทในอนาคตมีความไม่แน่นอน มีความ
Time Value of Money
 Future Value – เป็นการหามูลค่าอนาคต โดยเป็น
ลักษณะของดอกเบี้ยทบต ้น ณ ระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง
(compounded interest) ซึ่งอาจจะเป็น รายปี ครึ่งปี ไตร
มาส เดือน สัปดาห์ หรือ รายวัน
 ตัวอย่าง – นาย ก ฝากเงิน 100 บาท จ่ายดอกเบี้ย 8%
ทบต ้นทุกปี (compounded annually) ณ สิ้นปีที่ 1 จะมี
เงิน 108 บาทในบัญชี คือ เงินต ้น 100 บาท บวก 8%
เป็นดอกเบี้ย หรือ คานวณค่า future value สิ้นสุด ณ ปีที่
1 คือ
– 100 * (1+0.08) = 108 บาท
Time Value of Money
 สมการในการหา Future Value
– ให ้FVn = Future value ณ สิ้นสุดปีที่ n
– PV = เงินเริ่มต ้น หรือ Present Value
– i = อัตราดอกเบี้ย
– n = จานวนระยะเวลา (ปี)
– FVn = PV (1+i)n
Time Value of Money
 ตัวอย่าง Jane ฝากเงิน 800 บาท ดอกเบี้ย 6% ทบต ้น
ทุกปี ให ้หาเงินในบัญชี เมื่อสิ้นปีที่ 5 มีวิธีการหา 2 วิธี
คือ
– ใช ้สูตร คือ FV5 = 800 (1+0.06)5 = 1,070.58
– ใช ้ตาราง ซึ่งในการหา FVn จะได ้สูตรดังนี้ FVn =
PV * (FVIFi,n)
จากตารางหากเป็น 5 ปี ดอกเบี้ย 6% เงิน 1 บาท จะ
มีค่า 1.3382 แล ้วนาไปคูณกับ 800 จะได ้1,070.56
Time Value of Money
จากรูปสรุปได ้ว่า ยิ่งดอกเบี้ยสูงขึ้นเท่าไร มูลค่าของ
Future Value จะสูงขึ้นมากเท่านั้น และหากระยะเวลายิ่ง
นานเท่าไร ก็ยิ่งทาให ้Future Value สูงขึ้น
Time Value of Money
 การทบต ้นที่มากกว่าปีละครั้ง (Annually)
– FVn = PV (1+i/m)m*n
– กรณีของ Jane หากคิดอัตราดอกเบี้ยทบต ้น 2 ครั้งต่อ
ปี (Semiannual compounding) จะได ้ว่า
– FVn = 800 (1+(0.06/2))5*2 = 1,075.13
Time Value of Money
 หรือ หากเปิดตาราง เพื่อหา FVIF หาที่ดอกเบี้ยที่
3% ระยะเวลาคือ 10 จะได ้ค่าออกมาที่ 1.3439
 800 * 1.3439 = 1,075.12
Time Value of Money
 Annuity – กระแสเงินสดที่เท่าๆกันในแต่ละปี annuity
แบ่งออกได ้เป็น 2 ประเภทคือ
– Ordinary annuity – กระแสเงินสดที่เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุด
ในแต่ละระยะเวลา
– Annuity due – กระแสเงินสดที่เกิดขึ้นเมื่อต ้นงวดใน
แต่ละระยะเวลา
Time Value of Money
 Annuity – กระแสเงินสดที่เท่าๆกันในแต่ละปี annuity
แบ่งออกได ้เป็น 2 ประเภทคือ
Time Value of Money
 Future Value of an Ordinary annuity
– นายกรวิกต ้องการที่จะรู้ว่าเขาจะมีเงินจานวนเท่าไร
เมื่อสิ้นที่ 5 ถ ้าเขาฝากเงิน 1,000 บาทททุกปี ณ
สิ้นสุดของแต่ละปี โดยคิดอัตราดอกเบี้ย 7%
– สูตรคานวณ FVAn = PMT (FVIFAi,n)
 PMT – จานวนเงินฝากเมื่อสิ้นสุดแต่ละปีและมี
จานวนเท่ากัน
 FVIFAi,n – Future value interest factor for a one
dollar annuity ทบต ้นโดยคิดดอกเบี้ย i% เป็น
ระยะเวลา n ปี
Time Value of Money
 Future Value of an Annuity due
– นายกรวิกต ้องการที่จะรู้ว่าเมื่อสิ้นสุดปีที่ 5 จะมี
เงินจานวนเท่าใด ถ ้าฝากเงินจานวน 1,000 ณ
เริ่มต ้นแต่ละปี ดอกเบี้ย 7%
– FVAn (Annuity due) = PMT (FVIFAi,n)(1+i)
– = 1,000 (FVIFA7%,5) * (1+0.07)
– = 1,000 (5.751) (1+0.07) = 1,000 (6.154) =
Time Value of Money
 Present Value – มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดใน
อนาคต เป็นลักษณะของการคิดลดมูลค่าอนาคตกลับมา
สู่ปัจจุบัน เราจึงเรียกว่าเป็นการ Discounting cash flow
 ตัวอย่าง - นายสมชายมีโอกาสได ้รับเงิน 300 บาทในปี
หน้า ถ ้าเขาสามารถได ้รับดอกเบี้ย 6% จากการลงทุน
ให ้หาว่าเขาต ้องลงทุนเท่าไรถึงจะได ้เงิน 300 บาทในปี
หน้า
– เดิม จากสูตร FV จะได ้ว่า 300 = PV (1+0.06) PV
= 300/1.06 = 283.02 บาท
– ดังนั้นสูตรในการหา PV คือ
Time Value of Money
 ตัวอย่าง นายสมชายต ้องการหา present value ของเงิน
1,700 ที่จะได ้รับใน 8 ปีข ้างหน้า โดยนายสมชายมี
opportunity cost คือ 8%
– PV = FVn / (1+i)n
– 1,700 / (1+0.08)8 = 1,700 / 1.851 = 918.42
– คานวณโดยใช ้ตาราง
– PV = FVn * (PVIFi,n)
– PV = 1,700 (PVIF ) = 1,700 (0.540) = 918 บาท
Time Value of Money
 กราฟของ Present value
 จะเห็นว่ายิ่ง discount rate สูงเท่าไร ค่าของ present
value ก็จะยิ่งลดลง และยิ่งเวลานานเท่าไร present
value ก็จะลดลง
Time Value of Money
 Present Value of an annuity
 ตัวอย่าง บริษัท Braden เป็นผู้ผลิตตุ๊กตาพลาสติก
ต ้องการผลตอบแทนขั้นต่าคือ 8% และกระแสเงินสด
700 บาทต่อปี สาหรับ 5 ปี
 PVAn = PMT (PVIFAi,n)
= 700 (PVIFA8%,5)
= 700 * 3.993 = 2,795.10
Time Value of Money
 Present Value of a Perpetuity
 Perpetuity คือ annuity ที่ไม่มีที่สิ้นสุด คือ เป็นจานวน
เงินเท่าๆกัน แต่ไม่มีสิ้นสุดระยะเวลา
 ตัวอย่าง นงรามต ้องการ present value ของกระแสเงิน
สดที่ได ้รับ 1,000 บาททุกๆปีแบบไม่สิ้นสุด โดยมี
discount rate ที่ 10%
– สูตรคือ PMT / i = 1,000 / 0.10 = 10,000 บาท
Time Value of Money
 กระแสเงินสดที่ไม่เท่ากัน (Uneven Cash Flow)
 ตัวอย่าง Frey company ผู้ผลิตรองเท ้า ถูกเสนอโอกาส
ที่จะได ้รับ cash flow 5 ปีข ้างหน้า ดังนี้
Year Cash Flow
1 400
2 800
3 500
4 400
5 300
Time Value of Money
 ถ ้าบริษัทได ้รับอัตราผลตอบแทน 9% ของการลงทุน
จงหา Present value
Year Cash Flow PVIF9%,n Present
Value
1 400 0.917 366.80
2 800 0.842 673.60
3 500 0.772 386.00
4 400 0.708 283.20
5 300 0.650 195.00
PV 1,904.60
Time Value of Money
 ถ ้าบริษัทได ้รับอัตราผลตอบแทน 9% ของการลงทุน
จงหา Future Value เมื่อสิ้นปีที่ 5
Year Cash Flow FVIF9%,n Future
Value
1 400 1.412 564.8
2 800 1.295 1036
3 500 1.188 594
4 400 1.090 436
5 300 1 300
FV 2,930.8
Return and Risk
 Risk (ความเสี่ยง) – โอกาสของเหตุการณ์ที่ไม่
ต ้องการให ้เกิดแต่กลับเกิด เช่น นั่งเครื่องบิน ก็มี
โอกาสเครื่องบินตก เล่นพนันก็มีโอกาสเสีย
 Probability Distribution – มีหุ้นอยู่ 2 ตัว หุ้นบริษัท
ก และ หุ้นบริษัท ข บริษัท ก เป็นบริษัทที่มีการ
ขยายตัวสูง แต่มีการแข่งขันสูงเช่นกัน หากคู่แข่ง
สามารถผลิตสินค ้าได ้ดีกว่า ก มีโอกาสล ้มละลาย
ส่วนบริษัท ข เป็นบริษัทใหญ่ที่อยู่ในอุตสาหกรรมที่
อิ่มตัวแล ้ว
Return and Risk
 ความเสี่ยงจากการลงทุน – โอกาสหรือความเป็นไป
ได ้ที่จะไม่ได ้รับผลตอบแทนตามที่คาดหวัง อาจจะ
แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
– ความเสี่ยงที่เกิดจากปัจจัยมหภาค เป็นความเสี่ยงที่ไม่
สามารถหลีกเลี่ยงได ้และไม่สามารถคาดการณ์ได ้
ล่วงหน้า
 Purchasing Power Risk – ความเสี่ยงจากการมีอานาจซื้อ
ที่ลดลง เช่น การลงทุนในตราสารหนี้หรือพันธบัตร
ระยะยาวที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่ เมื่ออัตราเงินเฟ้อ
สูงขึ้น ดอกเบี้ยที่ผู้ลงทุนได ้รับอาจมีอานาจซื้อลดลง
จากการที่ราคาสินค ้าหรือบริการปรับตัวสูงขึ้น
Return and Risk
 ความเสี่ยงจากการลงทุน
– ความเสี่ยงที่เกิดจากปัจจัยมหภาค
 Political Risk – ความเสี่ยงที่มักเกิดจากการ
เปลี่ยนแปลงทางการเมือง ทาให ้ผู้ลงทุนชะลอการ
ลงทุนเพื่อรอดูท่าทีของรัฐบาลใหม่เสมอ
 Currency Risk – ความเสี่ยงจากการผันผวนของอัตรา
แลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ หากอัตรา
แลกเปลี่ยนเปลี่ยนแปลงไปในทางลบ ผลตอบแทน
รวมอาจลดลงหรือถึงกับขาดทุน ทั้งๆ ที่การลงทุนใน
หลักทรัพย์หรือทรัพย์สินนั้นมีกาไรก็ตาม
Return and Risk
 ความเสี่ยงจากการลงทุน
– ความเสี่ยงที่เกิดจากปัจจัยมหภาค
 Interest Rate Risk – ความเสี่ยงที่เกิดจากการผันแปร
ของอัตราดอกเบี้ย เมื่ออัตราดอกเบี้ยในตลาดปรับตัว
สูงขึ้น ผู้ขายจะต ้องเสนออัตราผลตอบแทนหรือ Yield
แก่ผู้สนใจซื้อเท่าเทียมกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด (ซึ่ง
ปรับตัวสูงขึ้นกว่าในอดีต) ซึ่งก็หมายความว่า ผู้ขาย
จะต ้องลดราคาของตราสารหรือพันธบัตรนั้นลง และ
เกิดผลขาดทุนในที่สุด
Return and Risk
 ความเสี่ยงจากการลงทุน
– ความเสี่ยงที่เกิดจากปัจจัยจุลภาค เป็นความเสี่ยงที่ลดลง
ได ้ โดยการกระจายการลงทุนออกไปให ้กว ้างขวาง
 Credit Risk – ความเสี่ยงที่บริษัทนั้นๆ จะจ่ายคืนหนี้
โดยพิจารณาจากปัจจัยพื้นฐานของบริษัท เช่น ฐานะ
ทางการเงินมั่นคงหรือไม่ เพียงใด มีความสามารถใน
การบริหารและการจัดการหรือไม่ มีความสามารถใน
การทากาไรมากน้อยเพียงไร มีส่วนแบ่งทางการตลาด
มากน้อยเพียงใด เป็นต ้น
 Sector Risk หรือ Industry Risk – ความเสี่ยงอันเกิด
จากลักษณะเฉพาะของกลุ่มธุรกิจหรืออุตสาหกรรม
Return and Risk
 Probability Distribution
สถานะของ
เศรษฐกิจ
โอกาสของ
เกิด
ผลตอบแทนที่เกิดหากสถานะ
เกิด
บริษัท ก บริษัท ข
Boom 0.3 100% 20%
Normal 0.4 15 15
Recession 0.3 (70) 10
Return and Risk
 Expected rate of return ( )
= P1r1 + P2r2 + …. + Pnrn
= ΣPiri
ก มีผลตอบแทนที่คาดหวัง = (0.3*100) + (0.4*15) +
(0.3*(-70)) = 15%
ข = (0.3*20) + (0.4*15) +(0.3*10) = 15%
Return and Risk
Return and Risk
 การวัดค่าความเสี่ยง – เราสามารถวัดการกระจาย
ของ probability distribution ด ้วย standard
deviation หากค่า SD น้อย จะมีการกระจายช่วง
แคบๆ หากใช ้กับหุ้น ถือว่าหุ้นนั้นมีความเสี่ยงต่า
Return and Risk
 เรามาหา SD ของบริษัท ก
Return and Risk
 Using historical data to measure risk
– คือก่อนหน้านี้เป็นการหาความเสี่ยงจากผลตอบแทน
ในอนาคต ในความน่าจะเป็นต่างๆ แต่หากเราใช ้
ข ้อมูลที่คานวณนั้นเป็นผลตอบแทนที่เกิดขึ้นในอดีต
เราจะใช ้สูตรดังต่อไปนี้
Return and Risk
 Using historical data to measure risk
Return and Risk
 การวัดความเสี่ยงด ้วยการใช ้Coefficient of
Variation (CV) ใช ้ในการตอบคาถาม “how do we
choose between two investments if one has the higher
expected return but the other the lower standard deviation?
Return and Risk
 Coefficient of variation (CV)
CV =  / r^
 โครงการ X มีอัตราผลตอบแทนที่คาดหวังที่ 60% และมี
ค่า SD = 15% ในส่วนของ Y มีอัตราผลตอบแทนที่
คาดหวังที่ 8% และมีค่า SD = 3% จะเปรียบเทียบความ
เสี่ยงได ้ดังนี้
– CV ของ X = 15 / 60 = 0.25 ส่วน CV ของ Y = 3 / 8
= 0.375 สรุปได ้ว่าโครงการ Y มีความเสี่ยงมากกว่า
Return and Risk
 Portfolio – ที่ผ่านมาเป็นการพิจารณาความเสี่ยง
ของหลักทรัพย์แต่ละตัว ซึ่งนักลงทุนไม่ชอบความ
เสี่ยง จึงมีวิธีการลดความเสี่ยงด ้วยการซื้อ
หลักทรัพย์หลายๆตัวเพื่อเป็นการกระจายความเสี่ยง
 ดังนั้นในการพิจารณาความเสี่ยงและผลตอบแทน
นั้นจะพิจารณาในแง่ที่ว่า หลักทรัพย์นั้นมีผลกระทบ
ต่อความเสี่ยงและผลตอบแทนของ Portfolio
อย่างไร
Return and Risk
 Portfolio Return คือ การหาผลตอบแทนที่คาดหวัง
ของ Portfolio หรือ rp^ สามารถคานวณได ้จาก
 W1r1^ + W2r2^ + W3r3^ + … + Wnrn^
 Σ Wiri^
Return and Risk
 ในปี 2015 นักวิเคราะห์คาดการณ์ผลตอบแทนของ
บริษัทใหญ่ 4 บริษัท ดังนี้
PTT 14%
BBL 13%
L&H 20%
CPALL 18%
Return and Risk
 เรามีเงิน 100,000 บาท ในการลงทุน แบ่งลงทุนใน
หุ้นแต่ละตัว โดยลงทุนในหุ้น PTT 25% BBL 40%
L&H 15% และ CPALL 20%
 (0.25*14) + (0.40*13) + (0.15*20) + (0.20*18) =
3.5% + 5.2% + 3% + 3.6% = 15.3%
Return and Risk
 Portfolio Risk
Return and Risk
 Portfolio Risk
– หากเราลงทุนในหุ้น 2 ตัว คือ W และ M หุ้นละ 50%
จะเห็นว่าหุ้นทั้งสองต่างก็มีความเสี่ยง หากถือหุ้นทั้ง
สองแยกออกจากกัน แต่หากถือทั้งสองตัว กลับไม่มี
ความสี่ยงเลยและได ้ผลตอบแทนที่แท ้จริงที่ 15%
– เหตุผลที่ portfolio WM ไม่มีความเสี่ยงเลย เพราะ
ผลตอบแทนขึ้นลงแบบตรงกันข ้าม
Return and Risk
 Portfolio Risk
– การดูความสัมพันธ์ระหว่างหุ้นสองตัว เราเรียก
correlation coefficient หรือ r กรณีหุ้น W และ M ที่มี
การเคลื่อนไหวในทางกันข ้าม เรียกว่า perfectly
negative coefficient หรือ r = -1
– กรณีที่หุ้นสองตัวมีความสัมพันธ์ไปในทางเดียวกัน
เป็น perfectly positive correlation หรือ r = 1 ถ ้าถือ
หุ้นสองตัวที่มีความสัมพันธ์แบบนี้ ไม่ทาให ้ความ
Return and Risk
 Company specific risk VS Market risk
Return and Risk
 Company specific risk VS Market risk
– จากกราฟ แสดงให ้เห็นว่า เมื่อนาหุ้นเข ้า portfolio ที
ละตัว จนถึง 2,000 หุ้น ปรากฏว่าความเสี่ยง (SD)
ของ portfolio มีแนวโน้มลดลง แต่ไปชะลอการ
ลดลงที่ระดับหนึ่งจากกราฟ คือ 20% ตั้งแต่มีจานวน
หุ้นใน portfolio 40 หุ้น
– จากกราฟจะเห็นความเสี่ยงแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ
 Company specific risk หรือ diversified risk หรือ
unsystematic risk
 Market risk หรือ non-diversified risk หรือ
Return and Risk
 Company specific risk VS Market risk
– Company specific risk - คือ ความเสี่ยงที่ถูกขจัด
โดยการเพิ่มจานวนหุ้นเข ้าไปในพอร์ตโฟลิโอ หรือ
ความเสี่ยงที่กระทบเฉพาะบริษัทใดบริษัทหนึ่ง เช่น
ความเสี่ยงจากการตลาด ความเสี่ยงจากการผลิต
สินค ้า ความเสี่ยงจากโครงสร ้างเงินทุน ความเสี่ยง
ทางการเงิน เหตุการณ์ที่เลวร ้ายของบริษัท สามารถ
ถูกแทนที่ด ้วยเหตุการณ์ที่ดีของอีกบริษัทหนึ่ง
Return and Risk
 Relevant risk – the risk of any asset then becomes
the risk added to this “market portfolio”, which is
measured with a beta.
 เช่น หมอคนหนึ่งมีหุ้นใน portfolio 40 ตัว เมื่อเอา
หุ้น TA เพิ่มเข ้าไปใน portfolio relevant risk ก็คือ ดู
ว่าเมื่อเอาหุ้น TA เข ้าไปใน portfolio แล ้วจะมี
ผลกระทบอย่างไรต่อ portfolio risk
Return and Risk
 How can the relevant risk of an individual stock
can be measured?
 ในการวัดเราจะพิจารณาความเสี่ยงของหุ้นตัวใดตัว
หนึ่งกับกับตลาดว่ามีลักษณะขึ้นลงตามตลาดมาก
น้อยแค่ไหน
Return and Risk
 The concept of beta – เป็นตัววัดความไว
(Sensitivity) ของบริษัทที่มีต่อความเสี่ยงที่
เป็นระบบ เมื่อเปรียบเทียบกับความเสี่ยงของ
ตลาดโดยรวม ซึ่งมีตัวแทน คือ ดัชนีตลาด
หลักทรัพย์ โดยค่าเบต ้าจะแสดงถึง สัดส่วน
ของการเปลี่ยนแปลงขงอัตราผลตอบแทน
ของหลักทรัพย์เมื่อเปรียบเทียบกับอัตรา
ผลตอบแทนของตลาด
Return and Risk
 The concept of beta ในการเปรียบเทียบการขึ้นลง
ของหุ้นตัวหนึ่งกับดัชนีตลาดจะอยู่ในรูปของ beta
coefficient หรือ b
– Average risk stock เป็นหุ้นที่มีการเคลื่อนไหวของ
ราคาไปตามดัชนีของตลาด เราเรียกหุ้นนี้ว่ามีค่า b =
1 นั้นคือ หากดัชนีตลาดขึ้น 10% หุ้นจะราคาสูงขึ้น
10% ด ้วย ถ ้าดัชนีตลาดลดลง 10% ราคาหุ้นจะลดลง
10% ด ้วย
– กรณีหุ้นที่มีค่า b = 0.5 ขึ้นลงเป็นครึ่งหนึ่งของดัชนี
ตลาด
Return and Risk
 The concept of beta
– หุ้นที่มีค่า beta มากกว่า 1 หมายความว่าจะทาให ้ค่า
beta ของ portfolio สูงขึ้น
– หุ้นที่มีค่า beta น้อยกว่า 1 จะทาให ้ค่า beta ของ
portfolio ลดต่าลง
Return and Risk
 The relationship between Return and Risk
– ให ้ = expected rate of return
ให ้ r = required rate of return
หาก < r เราย่อมไม่ซื้อหุ้นนี้
ถ ้า > r เราจะซื้อหุ้นนี้
Return and Risk
 การคานวณหาค่าเบต ้าจากสัดส่วนระหว่างค่าความ
แปรปรวนร่วมระหว่างหลักทรัพย์นั้นกับตลาด กับ
ความแปรปรวนของตลาด ดังนี้
β𝑖 =
𝐶𝑜𝑣(𝑅𝑖
,
𝑅𝑚
)
𝑉𝑎𝑟𝑖𝑎𝑛𝑐𝑒(𝑅𝑚)
หรือ
β𝑖 =
𝞂𝑖
,
𝑚
𝞂𝑚
2
Return and Risk
 ในการหา Required Return (r) เราใช ้Security
Market Line (SML) equation
– ri = rrf + (rm – rrf) bi
– rrf = risk free rate – long term US Treasury bonds
– rm = required rate of return on a portfolio consisting
of all stocks which is called the market portfolio
– b = ค่าเบต ้า
Return and Risk
 The relationship between Return and Risk
– กาหนดให ้มีหุ้น 3 ตัว มีค่า beta ดังนี้ หุ้น i มี beta คือ
0.5 หุ้น j มี beta คือ 2 และ หุ้น A มี beta คือ 1 คือ beta
ของตลาดนั้นเอง
– และให ้rm = 11% และ rrf = 6%
– จะได ้required rate of return ของหุ้นแต่ละตัวดังนี้
– ri = rrf + (rm – rrf) bi = 6% + (11% - 6%) (0.5) = 8.5%
– rj = rrf + (rm – rrf) bj = 6% + (11% - 6%) (2) = 16%
– rA = rrf + (rm – rrf) bA = 6% + (11% - 6%) (1) = 11% =
rm
Return and Risk
Bonds and their Valuation
 Bond เป็นตราสารการเงินระยะยาวที่ผู้กู้ตกลงจะจ่าย
ดอกเบี้ยและเงินต ้น ณ วันเวลาที่กาหนด แก่ผู้ถือตรา
สาร
 องค์ประกอบของตราสารหนี้
– มูลค่าที่ตราไว ้(Par Value) – มูลค่าที่ระบุไว ้ในตราสารหนี้
แต่ละหน่วยที่ผู้กู้จะต ้องชาระคืนให ้กับผู้ถือตราสารหนี้นั้น
เมื่อครบกาหนดชาระของตราสารหนี้ เช่น 1,000 บาท
หรือ 10,000 บาท
– อัตราดอกเบี้ย (Coupon Rate) คือ อัตราดอกเบี้ยที่ผู้ออก
ตราสารหนี้มีภาระที่จะต ้องจ่ายให ้กับผู้ถือตราสารหนี้นั้นๆ
ตามงวดการจ่ายดอกเบี้ยที่กาหนดตลอดอายุของตราสาร
Bonds and their Valuation
 องค์ประกอบของตราสารหนี้ - อัตราการจ่ายดอกเบี้ย
มี 3 แบบ คือ
 อัตราดอกเบี้ยแบบตายตัว – จะระบุเป็นอัตราร ้อยละ
เทียบกับมูลค่าที่ตราไว ้และจะจ่ายดอกเบี้ยตายตัว
ตามที่ระบุไว ้ตลอดอายุของตราสาร ทาให ้เมื่ออัตรา
ดอกเบี้ยในตลาดเปลี่ยนแปลงไป เช่น อัตราดอกเบี้ย
ในตลาดต่าลง จะทาให ้ราคาของตราสารหนี้นั้นมีราคา
สูงขึ้น หรืออัตราดอกเบี้ยในตลาดเพิ่มขึ้น ก็จะทาให ้
ราคาของตราสารหนี้นั้นมีราคาลดลง
 อัตราดอกเบี้ยแบบลอยตัว – เป็นตราสารหนี้ที่ระบุ
อัตราดอกเบี้ยที่อ ้างอิงกับอัตราดอกเบี้ยอ ้างอิงอัตรา
Bonds and their Valuation
 องค์ประกอบของตราสารหนี้
– งวด เป็นจานวนครั้งของการจ่ายดอกเบี้ยต่อปี ซึ่งขึ้นอยู่กับ
ข ้อกาหนดของตราสารหนี้ โดยส่วนใหญ่จะกาหนดให ้มีการ
จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี
– กาหนดระยะเวลาชาระดอกเบี้ย (Coupon Date) และ วันครบ
กาหนดไถ่ถอน (Maturity Date) ตราสารหนี้จะจ่ายดอกเบี้ย
เป็นรายงวด เช่น รายเดือน รายไตรสมาส รายปี แต่ส่วน
ใหญ่จะจ่ายทุกครึ่งปี ส่วนวันครบกาหนดไถ่ถอน คือ วัน
หมดอายุของตราสารหนี้นั้น ซึ่งผู้ออกจะจ่ายคืนเงินต ้นและ
ดอกเบี้ยงวดสุดท ้ายให ้กับผู้ถือ
– ชื่อผู้ออก คือ ผู้ออกตราสารหนี้ ซึ่งเป็นลูกหนี้หรือผู้กู้นั่นเอง
Bonds and their Valuation
 ประเภทของตราสารหนี้ – แบ่งตามผู้ออกตราสารหนี้
– ตราสารหนี้ภาครัฐ
 พันธบัตรรัฐบาล – เป็นตราสารหนี้ที่ออกโดย
กระทรวงการคลัง ซึ่งมีความสาคัญต่อระบบเศรษฐกิจ
อย่างยิ่ง เนื่องจากพันธบัตรรัฐบาลจัดเป็นตราสารที่
ปลอดความเสี่ยงจากการผิดนัดการจ่ายดอกเบี้ยและ
เงินต ้น พันธบัตรรัฐบาลจะมีอายุเกิน 1 ปี
 ตั๋วเงินคลัง – ตราสารหนี้ระยะสั้นอายุไม่เกิน 1 ปี ที่
รัฐบาลเป็นผู้ออกจาหน่าย เพื่อกู้ยืมเงินระยะสั้นจาก
ประชาชนประเภทไม่มีดอกเบี้ย ดังนั้น ราคาเสนอขาย
จึงต่ากว่าจานวนเงินตามหน้าตั๋ว ซึ่งทาให ้เกิดเป็น
Bonds and their Valuation
 ประเภทของตราสารหนี้ – แบ่งตามผู้ออกตราสารหนี้
– ตราสารหนี้ภาครัฐ
 พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ – เป็นตราสารหนี้ที่ออกโดย
รัฐวิสาหกิจ เช่น การประปานครหลวง การไฟฟ้าฝ่ าย
ผลิต วิทยุการบินเป็นต ้น อาจจะเป็นพันธบัตรที่มีการ
ค้าประกัน โดยกระทรวงการคลัง หรือเป็นพันธบัตรที่
ไม่มีกระทรวงการคลังค้าปะกัน
– ตราสารหนี้ที่ออกโดยภาคเอกชน – เป็นตราสารหนี้ที่ออก
โดยภาคธุรกิจ เพื่อระดมทุนไปใช ้ในการดาเนินกิจการ
โดยการออกหุ้นกู้อยู่ภายใต ้การกากับดูแลของ ก.ล.ต.
จะมีความเสี่ยงที่ผู้ออกจะผิดนัดในการจ่ายดอกเบี้ยและ
Bonds and their Valuation
 ประเภทของตราสารหนี้ – แบ่งตามสิทธิเรียกร ้อง
– หุ้นกู้ด ้อยสิทธิ – หุ้นกู้ที่มีเงื่อนไขกาหนดให ้ผู้ถือได ้รับ
สิทธิในการรับชาระหนี้เป็นอันดับรองจากผู้ถือหุ้นกู้ไม่
ด ้อยสิทธิ แต่ยังมีสิทธิสูงกว่าผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิและหุ้น
สามัญ ทาให ้ต ้นทุนทางการเงินของกิจการที่ออกหุ้นกู้
ด ้อยสิทธิจะเพิ่มขึ้น เพื่อชดเชยกับความเสี่ยงที่ผู้ลงทุน
แบกรับมากขึ้น
– หุ้นกู้ไม่ด ้อยสิทธิ – หุ้นกู้ที่มีเงื่อนไขกาหนดให ้ผู้ถือได ้รับ
สิทธิในการรับชาระหนี้เป็นอันดับแรกจากผู้ออก ในกรณีที่
ผู้ออกหุ้นกู้อยู่นภาวะล ้มละลาย และมีคาสั่งให ้ขาย
สินทรัพย์ทอดตลาด เพื่อชาระหนี้คืนให ้แก่เจ ้าหนี้และผู้
Bonds and their Valuation
 Bond valuation
– ตัวอย่าง Mill company ในวันที่ 1 มกราคม 2006
ออก bond กาหนด coupon interest rate ที่ 10% โดย
ที่ bond มีอายุ 10 ปี โดยมีราคา Par ที่ $1,000 มีการ
จ่ายดอกเบี้ยแบบ Semi-annually จงหามูลค่าของ
bond
– จาก bond นี้ นักลงทุนจะได ้cash flow ซึ่งสามารถ
แบ่งออกได ้เป็น 2 ส่วนคือ
 $100 ทุกๆปี (หรือ $50 ทุกๆครึ่งปี) เป็นจานวน 10
ปี หรือ 20 งวด
Bonds and their Valuation
 Bond valuation
– สูตรในการประเมินมูลค่า Bond คือ
– VB = INT (PVIFArd,n) + M (PVIFrd,n)
INT – ดอกเบี้ยจ่ายในแต่ละครั้ง
M – Par value ของ bond คือ 1,000 ส่วน rd =
Required return
กรณีที่ Required return = Coupon interest rate = 10%
– VB = $50 (PVIFA5%,20) + 1,000 (PVIF5%,20)
= 50 (12.4622) + 1,000 (0.3769)
= 623.11 + 376.9 = 1,000
Bonds and their Valuation
 Bond valuation – required return อาจจะไม่เท่ากับ
coupon rate ซึ่งอาจจะเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของ
อัตราดอกเบี้ยในตลาด หรือ ความเสี่ยงของบริษัทมี
การเปลี่ยนแปลง
 หาก required return สูงกว่า coupon rate มูลค่า
ของ bond จะมีค่าต่ากว่า par value ในทางกลับกัน
เมื่อ required return ต่ากว่า coupon rate bond จะมี
มูลค่าสูงกว่าราคา Par
Bonds and their Valuation
 ตัวอย่าง จากตัวอย่างที่แล ้ว required return คือ
10% แต่หาก required return เปลี่ยนแปลงไป 12%
ทบทุกครึ่งปี เพราะอัตราดอกเบี้ยในตลาดสูงขึ้น จะ
ได ้ว่า
– VB = $50 (PVIFA6%,20) + 1,000 (PVIF6%,20)
– 50 (11.4699) + 1,000 (0.3118)
– 573.495 + 311.8 = 885.3
Bonds and their Valuation
 หาก Required return ลดลงเหลือ 8% จะทาให ้
bond value
– VB = $50 (PVIFA4%,20) + 1,000 (PVIF4%,20)
– 50 (13.5903) + 1,000 (0.4564)
– 679.515 + 464.4 = 1,135.9
Bonds and their Valuation
 Current Yield - อัตราผลตอบแทนจากเดอกเบี้ยที่ได ้รับ
ในปีนั้น
Current Yield =
จานวนดอกเบี้ยที่ได ้รับในปัจจุบัน
ราคาปัจจุบันในตลาดของตราสารหนี้
 ตัวอย่าง - bond ของ Mill ปัจจุบันมีราคา $1,080 coupon
interest rate อยู่ที่ 10% มี Par ที่ 1,000 ระยะเวลา 10 ปี จนถึง
สิ้นสุดอายุของ bond
Bonds and their Valuation
 Yield to Maturity หมายถึง rate of return ของนัก
ลงทุนที่จะได ้รับ ถ ้าซื้อ bond ณ ราคาหนึ่งและถือ
จนสิ้นสุดอายุของ bond
 หากมูลค่าของ bond แตกต่างจากราคา Par จะทาให ้
YTM แตกต่างจาก Coupon interest rate
 จาก สมการ VB = INT (PVIFArd,n) + M (PVIFrd,n)
YTM ของ bond ก็คือการหา rd นั้นเอง
Bonds and their Valuation
 ตัวอย่าง bond ของ Mill ปัจจุบันมีราคา $1,080 coupon
interest rate อยู่ที่ 10% มี Par ที่ 1,000 ระยะเวลา 10 ปี
จนถึงสิ้นสุดอายุของ bond จงหาค่าของ YTM คือการ
หาค่า rd นั่นเอง
– 1,080 = 100 (PVIFArd,10) + 1,000 (PVIFrd,10)
– คานวณจาก Excel = 8.77%
Stocks and their Valuation
 Common stock valuation ลักษณะสาคัญของ หุ้น
สามัญมี 2 ประการคือ
– จะได ้รับผลตอบแทนในรูปของเงินปันผล แต่เป็น
กรณีที่บริษัทมีกาไรและเลือกที่จะจ่ายเงินปันผล
แทนที่จะเก็บไว ้เพื่อการลงทุนในรูปของกาไร
สะสม เงินปันผลจึงเป็นไปตามนโยบายของ
บริษัท ไม่ได ้มีสัญญาว่าจะต ้องจ่ายทุกปี
– หุ้นที่เราถือสามารถนาไปขายต่อได ้โดยหวังว่าจะ
ได ้ราคาสูงกว่าราคาที่ซื้อมา เรียกว่า capital gain
Stocks and their Valuation
 Expected dividend as the basis for stock values
– ราคาหุ้นเราคือการหามูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสด
ซึ่งก็คือ กระแสของเงินปันผลนั้นเอง ทั้งนี้มูลค่าของ
หุ้นปัจจุบันสามารถคานวณได ้จากมูลค่าปัจจุบันของ
เงินปันผลที่ไม่มีกาหนดระยะเวลา (คือคิดว่าซื้อหุ้นก็
เพื่อหวังได ้เงินปันผลไปเรื่อยๆไม่มีที่สิ้นสุด)
Stocks and their Valuation
 Constant growth stock โดยส่วนใหญ่เงินปันผลจะ
ถูกคาดว่าจะมีอัตราการเติบโต (Growth) คงที่
สมการข ้างล่างนี้ใช ้ในการหามูลค่าของหุ้นที่มีอัตรา
การเติบโตคงที่ (constant growth model)
Stocks and their Valuation
 ตัวอย่าง Allied food จ่ายเงินปันผลปีนี้ที่ 1.15 (D0)
มี required rate of return ที่ 13.4% และนักลงทุน
คาดว่าเงินปันผลจะในอัตราคงที่ 8% คานวณหา
มูลค่าของหุ้นได ้ดังนี้
– P = 1.15 (1.08) / (0.134-0.08) = 1.242 / 0.054 = 23.00
หมายเหตุ: ค่า rs จะต ้องมากกว่าค่า g เสมอ ถึงใช ้สูตรนี้ได ้
Stocks and their Valuation
 Dividend and Earnings Growth – โดยปกติการ
เติบโตของเงินปันผลนั้นเป็นผลมาจากการเติบโต
ของกาไรต่อหุ้น ซึ่งการเติบโตของกาไรนั้นเป็นผล
มาจาก
– กาไรที่สะสมและนาไปลงทุนเพิ่มเติม
– เงินเฟ้อ
– ปัญหาคือว่า หากเราต ้องการให ้ราคาหุ้นสูง ก็
Stocks and their Valuation
 Expected rate of return on a constant growth stock
Expected rate of return = Expected dividend yield +
Expected growth rate, or capital gain yield
r = (D1 / P0) + g
Stocks and their Valuation
 Expected rate of return on a constant growth stock
สมมติว่า ซื้อหุ้นราคา 23 บาท และคาดการณ์ว่าจะมีการ
จ่ายเงินปันผล D1 = $1.242 ปีหน้าและมีอัตราการ
เจริญเติบโตอยู่ที่ 8% ให ้หา expected rate of return
r = ($1.242 / $23) + 8% = 5.4% + 8% = 13.4%
Stocks and their Valuation
 Valuing stocks expected to grow at a nonconstant
rate
Stocks and their Valuation
 Nonconstant rate
 ในการหาราคาหุ้นของ Super Normal Growth ทา
ได ้ดังนี้
– หา PV ของเงินปันผลในช่วงที่ไม่ใช่ nonconstant growth
แล ้วเอามาบวกกัน
– หาราคาที่คาดหวังของหุ้น ณ จุดสิ้นสุดของ nonconstant
growth หรือจุดเริ่มต ้นของ normal growth นั่นเอง
จากนั้นจึงค่อย discount กลับมา ณ ปีปัจจุบัน
– จากนั้นก็รวม PV ของหนึ่งและสองก่อนหน้าจะได ้ราคา
Stocks and their Valuation
 สมมติว่า
– rs คือ 13%
– จานวนปีช่วง nonconstant growth คือ 3 ปี
– Rate of growth ช่วง nonconstant growth คือ 30%
– Rate of growth ช่วง normal growth คือ 8% จากปีที่ 3
ไปปีที่ 4
– D0 = 1.15
Stocks and their Valuation
PVIF13%,n PV
D0 1.15
D1 1.15(1.30) 1.495 0.885 1.323
D2 1.495(1.30) 1.9435 0.783 1.5217
D3 1.9435(1.30) 2.5266 0.693 1.7505
D4 2.5266(1.08) 2.728 4.5952
Stocks and their Valuation
 หา Terminal Value ปี 3
P3 = D4/(rs-g)
P3 = 2.728 / (0.13-0.08)
P3 = 54.56
PV = 54.56 X 0.693 = 37.80
มูลค่าหุ้น = 37.80 + 4.5952 = 42.395
Stocks and their Valuation
 Preferred stock ถือเป็น Hybrid instrument
– เหมือน Bond ตรงที่มีการจ่ายเงินปันผลที่แน่นอนก่อนที่
จะจ่ายเงินปันผลแก่หุ้นสามัญ
– แต่ผู้บริหารสามารถที่จะไม่จ่ายเงินปันผลนั้นได ้โดยไม่
ต ้องถูกฟ้องล ้มละลาย
Stocks and their Valuation
 Preferred stock ถือเป็น Hybrid instrument
– เงินปันผลของ Preferred stock นั้น เป็น Fixed payment
จานวนเท่าๆกันทุกๆปี ตลอดไป ก็เหมือนเป็น perpetuity
นั้นเอง
Vp = Dp / rp
สมมติว่า Preferred stock มีการจ่ายเงินปันผลที่ $10 / ปี
และมี required return อยู่ที่ 10.3% หามูลค่าของ
Preferred ได ้ดังนี้
Cost of capital
Cost of capital
 จากรูปดังกล่าวจะเห็นว่ามีแหล่งเงินมาจากหลายแหล่ง ซึ่งขึ้นอยู่
กับ โครงสร ้างของทุน หรือ Capital Structure ของแต่ละบริษัท
ว่าจะมีสัดส่วนของแหล่งเงินจากแหล่งใดเป็ นจานวนเท่าใด ทั้งนี้
บริษัทจะกาหนดโครงสร ้างของทุนเพื่อให้หุ้นมีราคาสูงสุด เรา
เรียกว่า Optimal capital structure
 สัดส่วนต้นทุนของหนี้ (wd) ของหุ้นบุริมสิทธิ์(wp) และของหุ้น
สามัญ (wc) ถูกนามาคานวณหา weighted average cost of
capital (WACC) ซึ่งสามารถคานวณได้ดังนี้
Cost of capital
 Cost of debt
– After-tax cost of debt = Interest rate – Tax saving
– = rd – rdT = rd (1-T)
บริษัท A กู้เงินได ้ในอัตราดอกเบี้ย 10% และภาษีเงิน
ได ้คือ 40% เราสามารถหาต ้นทุนส่วนหนี้ภายหลัง
ภาษีได ้คือ = 10% (1-0.4) = 6%
Cost of capital
 Cost of debt
– Cost of debt ต ้องเป็นอัตราดอกเบี้ยบนหนี้ใหม่
ไม่ใช่หนี้ที่มีอยู่แล ้ว เราสนใจในหนี้ใหม่
เนื่องจากเป็นการตัดสินใจในเรื่องของ Capital
budgeting decision เช่น การซื้อเครื่องจักรใหม่ ที่
มีผลตอบแทนสูงกว่าต ้นทุนทางการเงินที่นามา
ซื้อเครื่องจักร
Cost of capital
 Cost of preferred stock
– Cost of preferred stock (rp) = Dp / Pp
– บริษัท A มีหุ้นบุริมสิทธิ์ที่จ่ายเงินปันผล $10 / หุ้น
และขายหุ้นบุริมสิทธิ์ราคา $100 / หุ้น ถ ้าเราออกหุ้น
บุริมสิทธิ์ใหม่มีต ้นทุน Underwrite คือ 2.5% หรือ $
2.5 / หุ้น เงินที่ได ้เข ้ามาจริงคือ $97.50
rp = 10 / 97.50 = 10.3%
Cost of capital
 Cost of preferred stock
– แม ้ว่าเงินปันผลของหุ้นบุริมสิทธิ์จะมี
จานวนที่แน่นอนคล ้ายกับดอกเบี้ย แต่เงิน
ปันผลดังกล่าวไม่สามารถนามาหักภาษี
เหมือนดอกเบี้ยได ้ทั้งนี้เนื่องจากเงินปัน
ผลที่เกิดขึ้นเราไม่ได ้ถือเป็นค่าใช ้จ่าย
เหมือนดอกเบี้ย
Cost of capital
 Cost of retained earnings
– หุ้นสามัญใหม่นั้นสามารถระดมได ้ใน 2 วิธีคือ
1. จากส่วนของกาไรสะสม ต ้นทุนคือ rs
2. จากการออกหุ้นใหม่ ต ้นทุนคือ re
หมายเหตุ: โดยปกติ re มากกว่า rs ทั้งนี้เนื่องจาก
หุ้นใหม่นั้นจะมีต ้นทุนของการกระจายหุ้น
(Flotation cost)
Cost of capital
 Cost of retained earnings
(1) The CAPM Approach
Rs = rRF + (RPM) bi
สมมติว่าวันนี้ rRF = 6% และ Market risk premium
RPM = 5% และ Allied’s beta คือ 1.48 จงหา cost of
equity
Rs = 6% + (5%) (1.48)
= 13.4%
Cost of capital
 Cost of retained earnings
(1) The CAPM Approach
rrf คือ อัตราผลตอบแทนจากการลงทุในพันธบัตร
รัฐบาล (T-bill yield rate) ที่มีอายุค่อนข ้างยาว
มาเป็นค่าประมาณในการคานวณ สาหรับ
ประเทศไทย จะใช ้อัตราดอกเบี้ยของพันธบัตร
ซึ่งมีอายุยาวที่สุด คือ 16 ปี
rm คือ อัตราผลตอบแทนในตลาดหลักทรัพย์ของ
แต่ละปี จะได ้จาก
Cost of capital
 Cost of retained earnings
ปัญหา
1. จะใช ้long-term หรือ short-term treasury yield
2. ประมาณค่า b ของบริษัทได ้ยาก
3. หาค่า market risk premium ได ้ยาก
Cost of capital
 Cost of retained earnings
(2) Dividend yield plus growth rate Approach
ในการถือหุ้นสามัญ Cash flow ที่ได ้คือ เงินปันผล
และ terminal price ยามที่บริษัทถูกซื้อ หาก
คาดการณ์ว่า growth ของบริษัทมีอัตราคงที่ เราหา
ราคาหุ้นได ้ดังนี้
P = D / (r – g) หรือ r = (D / P ) + Expected g
Cost of capital
 Cost of retained earnings
(2) Dividend yield plus growth rate Approach
จากสูตรจะเห็นว่าผลตอบแทนของหุ้นสามัญขึ้นอยู่
กับ 2 ส่วนคือ Dividend yield บวกกับ Capital gain
(growth rate)
ปัญหา Growth rate หายาก หากบริษัทมีอัตราการ
เติบโตไม่แน่นอน ทาอย่างไร
Cost of capital
 Cost of retained earnings
(2) Dividend yield plus growth rate Approach
การคานวณหาค่า g จาก retention rate หาได ้ดังนี้
1. growth rate จากการประมาณของนักวิเคราะห์
หลักทรัพย์
2. คานวณหาค่า g จาก retention rate
3. การหาค่าเฉลี่ยแบบเลขคณิต
4. การหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิต
Cost of capital
 Cost of retained earnings
(2) Dividend yield plus growth rate Approach
-การคานวณหาค่า g จาก retention rate
g = (Retention rate) (ROE) = (1-Payout rate) (ROE)
สมมติว่าบริษัทคาดการณ์ว่าจะมี ROE คงที่อยู่ที่
13.4% และจ่ายเงินปันผล 40% ของกาไร เราสามารถ
หาค่า g ได ้คือ
g = (1-0.4) (13.4%) = 8.0%
Cost of capital
 Cost of retained earnings
(2) Dividend yield plus growth rate Approach
สมมติว่า หุ้นของ Allied ขายอยู่ที่ $23 และคาดการณ์
ว่าเงินปันผลในปีหน้าอยู่ที่ $1.24 และคาดการณ์อัตรา
การเติบโตอยู่ที่ 8% หา required rate of return
rs = (D1 / P0 ) + Expected g
= (1.24 / 23) + 8.0% = 13.4%
Cost of capital
 (2) Dividend yield plus growth rate Approach
-การคานวณหาค่า g จากค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ตัวอย่าง – จงคานวณหาอัตราการขยายตัวของ
กิจการจากการใช ้ข ้อมูลกาไรของกิจการ โดยใช ้วิธี
ค่าเฉลี่ยเลขคณิต
ปี กาไร (ล้านบาท)
25x1 100
25x2 105
25x3 111
25x4 123
25x5 134
Cost of capital
 (2) Dividend yield plus growth rate Approach
-การคานวณหาค่า g จากค่าเฉลี่ยเลขคณิต
หาค่าเฉลี่ยจะได ้= 7.62%
ปี กาไร (ล้าน
บาท)
g
25x1 100 -
25x2 105 5%
25x3 111 5.71%
25x4 123 10.81%
25x5 134 8.94%
Cost of capital
 (2) Dividend yield plus growth rate Approach
-การคานวณหาค่า g จากค่าเฉลี่ยเรขาคณิต
จะได ้สมการ 100 (1+g)4 = 134
(1+g)4 = 1.34
1+g = 1.0759
g = 7.59%
ปี กาไร (ล้าน
บาท)
25x1 100
25x2 105
25x3 111
25x4 123
25x5 134
Cost of capital
 Cost of retained earnings
(3) Bond-Yield-plus-Premium Approach
นักวิเคราะห์คาดการณ์ Cost of common equity โดยการ
บวก Risk premium เข ้าไปที่ 3-5% + long term debt
เช่น IBM bonds มี yield ที่ 9%
Cost of equity ประมาณว่าเท่ากับ = 9% + 4% = 13%
หมายเหตุ: ใช้ในกรณีหาโดยวิธีที่ 1 และ 2 ไม่ได้ และไม่
ค่อยนิยมใช้
Cost of capital
 Cost of new common stock
– เป็นกรณีของการออกหุ้นใหม่ที่ออกโดย Investment
Banker ซึ่งจะมีค่าใช ้จ่ายในการกระจายหุ้น ที่เรียกว่า
Floatation cost ซึ่งมี 2 วิธีสาหรับส่วนเพิ่ม คือ
(1) เพิ่ม Floatation cost ไปใน Project cost ในส่วนของ
Initial investment cost ซึ่งจะมีผลต่อ IRR และ NPV ซึ่ง
จะลดลง
เช่น หากลงทุน $100 ล ้านแล ้วมีกระแสเงินสดเข ้ามาในปีที่
1 = 115 จะมีผลตอบแทนคือ (115/100) -1 = 15% แต่
หากมีต ้นทุนในการกระจายหุ้นอยู่ที่ $2 ล ้าน จะมี
ผลตอบแทนเหลือเพียง (115/102) -1 = 12.75%
Cost of capital
 Cost of new common stock
(2) การเพิ่มขึ้นของต ้นทุน (Increase the cost of
capital) นา Flotation cost นั้นไปรวมอยู่ในส่วน
ของต ้นทุน
re = {D1 / [P0 (1-F)]} + g
สมมติว่า Allied มี Flotation cost อยู่ที่ 10% หาค่า
re ได ้ดังนี้
Cost of capital
 Weighted Average Cost of Capital (WACC)
Allied มี Target Capital Structure อยู่ที่ Debt 45%
Preferred Stock อยู่ที่ 2% และ Common Equity อยู่ที่
53% มี rd = 10% แต่หลังจากหักผลประโยชน์จากภาษี
แล ้วจะมีต ้นทุนจริงที่ 10% (0.6) = 6% มี rp = 10.3% และ
rc = 13.4% จงหา WACC
WACC = (0.45) (10%) (0.6) + (0.02) (10.3%) + (0.53)
(13.4%) = 10%
Capital Budgeting
 Capital Budgeting เป็นชุดของเครื่องมือที่
ใช ้พิจารณาว่าจะลงทุนในโครงการใด
โครงการหนึ่งนั้นหรือไม่
 ในการลงทุนโครงการใดโครงการหนึ่ง เรา
จะเน้นกระแสเงินสดของโครงการลงทุน
เป็นหลัก
Capital Budgeting
 The net present value (NPV) – how much a potential
project will contribute to shareholder wealth
Expected after tax net cash flow (CFt)
Year (t) Project S Project L
0 -1,000 -1,000
1 500 100
2 400 300
3 300 400
4 100 675
Capital Budgeting
 สมมติว่า cost of capital อยู่ที่ 10%
Year CFs PVIF10%,n PV
0 -1,000 -1,000
1 500 .909 454.5
2 400 .826 330.4
3 300 .751 225.3
4 100 .683 68.3
NPVs 78.5
Capital Budgeting
 สมมติว่า cost of capital อยู่ที่ 10%
Year CFL PVIF10%,n PV
0 -1,000 -1,000
1 100 .909 90.9
2 300 .826 247.8
3 400 .751 300.4
4 675 .683 461.025
NPVL 100.125
Capital Budgeting
 จากผลลัพธ์ที่ได ้หากเป็นกรณีเป็น Mutually
exclusive คือ ต ้องเลือกเอาโครงการใดโครงการหนึ่ง
เพียงโครงการเดียว ก็เลือกโครงการ L เพราะมี NPV
ที่มากกว่าโครงการ S
 แต่หากทั้งสองโครงการเป็นอิสระแก่กัน หรือ
Independent projects ก็ยอมรับทั้งสองโครงการเพราะ
มีค่า NPV เป็นบวก
Capital Budgeting
 Internal rate of return (IRR) – the discount rate that
forces the project’s NPV to equal to zero
หากเราไม่มีเครื่องคิดเลขคานวณทางการเงินหรือ
โปรแกรม ต ้องทาการ Trial and error ว่า discount
rate นั้นคือเท่าใด
แต่ในชั้นนี้ จะแสดงการคานวณผ่านโปรแกรม Excel
Capital Budgeting
 Internal rate of return (IRR)
Capital Budgeting
 Internal rate of return (IRR)
 จากการคานวณผ่าน excel IRRs = 14.49% และ IRRL = 13.55%
Expected after tax net cash flow (CFt)
Year (t) Project S Project L
0 -1,000 -1,000
1 500 100
2 400 300
3 300 400
4 100 675
Capital Budgeting
 Internal rate of return (IRR)
The IRR is the project’s expected rate of return. If this
return exceeds the cost of funds used to finance the project,
then the excess goes to the firm’s stockholders.
 ปกติ NPV อันเดียวก็ดูได ้แล ้ว แต่ที่นิยม IRR เพราะมันเหมือน
เป็นอัตราผลตอบแทนที่คาดการณ์ ซึ่งเราดูได ้ง่ายว่าโครงการ
นั้นมีอัตราผลตอบแทนเท่าไร (เข ้าใจง่ายกว่า NPV ในสายตา
คนทั่วๆไป)
Capital Budgeting
 Comparison of the NPV and IRR Methods
Capital Budgeting
 Comparison of the NPV and IRR Methods
Capital Budgeting
 Comparison of the NPV and IRR Methods
(1) Independent Projects – NPV and IRR criteria always lead
to the same accept/reject decision
(2) Mutually Exclusive Projects - กรณีที่ cost of capital
มากกว่า cross over rate ไม่มีความขัดแย ้งระหว่าง NPV กับ
IRR แต่หาก cost of capital น้อยกว่า cross over rate จะมี
ความขัดแย ้งเกิดขึ้น (ดูกราฟที่ 11-3)
“the NPV is generally superior”
Capital Budgeting
 Multiple IRRs
ดูลักษณะของ Cash flows สองประเภทนี้
Normal - + + + + + or - - - + + + + +
Nonnormal - + + + + - or - + + + - + + +
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx
FM-short.pptx

More Related Content

Similar to FM-short.pptx

การบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointการบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power point
Orawonya Wbac
 
Financial management for exceutive
Financial management for exceutiveFinancial management for exceutive
Financial management for exceutive
KASETSART UNIVERSITY
 
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจการเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
smile-girl
 
Ru Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 UpdatedRu Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 Updated
tltutortutor
 
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexเสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
Peerasak C.
 
Ru Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 UpdatedRu Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 Updated
tltutortutor
 
9789740330981
97897403309819789740330981
9789740330981
CUPress
 

Similar to FM-short.pptx (20)

การบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power pointการบัญชีเบื้องต้น Power point
การบัญชีเบื้องต้น Power point
 
บทที่ 11 เนื้อหา
บทที่ 11 เนื้อหาบทที่ 11 เนื้อหา
บทที่ 11 เนื้อหา
 
Financial management for exceutive
Financial management for exceutiveFinancial management for exceutive
Financial management for exceutive
 
SU_AP_Overview_Training_vF_Final.pdf
SU_AP_Overview_Training_vF_Final.pdfSU_AP_Overview_Training_vF_Final.pdf
SU_AP_Overview_Training_vF_Final.pdf
 
Finanacial Management on
Finanacial Management on Finanacial Management on
Finanacial Management on
 
Act411 3งบดุล
Act411 3งบดุลAct411 3งบดุล
Act411 3งบดุล
 
Final
FinalFinal
Final
 
Final
FinalFinal
Final
 
Ch3
Ch3Ch3
Ch3
 
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdfบทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
บทที่ 1 ความรู้พื้นฐานทางการบัญชี.pdf
 
08 businessfinance v1
08 businessfinance v108 businessfinance v1
08 businessfinance v1
 
2015 lesson 8 accounting and finance 1
2015 lesson 8 accounting and finance 12015 lesson 8 accounting and finance 1
2015 lesson 8 accounting and finance 1
 
Ppn home present
Ppn home presentPpn home present
Ppn home present
 
แผนธุรกิจ
แผนธุรกิจแผนธุรกิจ
แผนธุรกิจ
 
การเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจการเงินธุรกิจ
การเงินธุรกิจ
 
Ru Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 UpdatedRu Fm Chapter02 Updated
Ru Fm Chapter02 Updated
 
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVexเสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
เสวนาเจาะเกณฑ์ระดมทุนและการลงทุนกับ LiVex
 
Ru Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 UpdatedRu Fm Chapter01 Updated
Ru Fm Chapter01 Updated
 
9789740330981
97897403309819789740330981
9789740330981
 
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐมาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
มาตรฐานการจัดทำบัญชีภาครัฐ
 

More from Khonkaen University

More from Khonkaen University (20)

credit.pptx
credit.pptxcredit.pptx
credit.pptx
 
Digital marketing
Digital marketingDigital marketing
Digital marketing
 
Social media marketing
Social media marketingSocial media marketing
Social media marketing
 
Facebookmarketing
FacebookmarketingFacebookmarketing
Facebookmarketing
 
Mailchimp
MailchimpMailchimp
Mailchimp
 
Social media marketing
Social media marketingSocial media marketing
Social media marketing
 
Social media marketing
Social media marketingSocial media marketing
Social media marketing
 
Social Media สำหรับธุรกิจท่องเที่ยว
Social Media สำหรับธุรกิจท่องเที่ยว Social Media สำหรับธุรกิจท่องเที่ยว
Social Media สำหรับธุรกิจท่องเที่ยว
 
Online marketing - การตลา่ดผ่านออนไลน์แบบสมบูรณ์
Online marketing - การตลา่ดผ่านออนไลน์แบบสมบูรณ์ Online marketing - การตลา่ดผ่านออนไลน์แบบสมบูรณ์
Online marketing - การตลา่ดผ่านออนไลน์แบบสมบูรณ์
 
การเปิดร้าน ผ่าน Lnwshop
การเปิดร้าน ผ่าน Lnwshopการเปิดร้าน ผ่าน Lnwshop
การเปิดร้าน ผ่าน Lnwshop
 
การใช้ Mail chimp ในการทำ e-mail marketing
การใช้ Mail chimp ในการทำ e-mail marketing การใช้ Mail chimp ในการทำ e-mail marketing
การใช้ Mail chimp ในการทำ e-mail marketing
 
Mba ecommerce
Mba ecommerceMba ecommerce
Mba ecommerce
 
Mba ecommerce
Mba ecommerceMba ecommerce
Mba ecommerce
 
Online and-social media-marketing
Online and-social media-marketingOnline and-social media-marketing
Online and-social media-marketing
 
Google place
Google placeGoogle place
Google place
 
Export
ExportExport
Export
 
Tu resturant
Tu resturantTu resturant
Tu resturant
 
Methopoint
MethopointMethopoint
Methopoint
 
Tu resturant
Tu resturantTu resturant
Tu resturant
 
Social bangkok
Social bangkokSocial bangkok
Social bangkok
 

FM-short.pptx

  • 1. Financial Statement  บัญชี (Accounting) “เป็นศิลปะของการตีความ การวัด และการสื่อสาร ถึงผลลัพธ์ที่เกิดจาก กิจกรรมทางเศรษฐกิจของหน่วยงานหนึ่งๆ”  บางครั้งเรียนการบัญชีว่า ภาษาธุรกิจ  วัตถุประสงค์ของการบัญชี คือ การให ้ข ้อมูลแก่ ผู้ใช ้ไม่ว่าจะเป็น นักลงทุน หรือผู้ให ้กู้ในการ ตัดสินใจทางเศรษฐกิจ เช่น นักลงทุนก็ต ้องดู ข ้อมูลทางบัญชีของบริษัทเพื่อทาการตัดสินใจว่า
  • 2. Financial Statement  ข ้อมูลทางบัญชีของหน่วยธุรกิจหนึ่ง คือ งบ การเงิน ซึ่งเป็นข ้อมูลที่แสดงถึงฐานะทางการเงิน ของหน่วยธุรกิจ และผลการดาเนินงานในชั่ว ระยะเวลาหนึ่ง  งบการเงิน ประกอบด ้วย – งบดุล – แสดงถึงฐานะทางการเงินของบริษัท ณ เวลาใดเวลาหนึ่ง โดยแสดงถึงทรัพยากรที่ บริษัทมีอยู่ หนี้สินที่มีอยู่ และส่วนของเจ ้าของ – งบกาไรขาดทุน – แสดงถึงผลการดาเนินงาน ของบริษัทในรูปของกาไรหรือขาดทุนของ บริษัทในช่วงระยะเวลาหนึ่ง
  • 3. Financial Statement  นอกจากนี้ยังมีหมายเหตุประกอบงบ การเงิน เป็นการให ้ข ้อมูลเพิ่มเติมที่เชื่อว่า มีประโยชน์ต่อการตีความงบการเงิน  งบการเงินของบริษัทจะน่าเชื่อถือหรือไม่ ขึ้นอยู่กับการตรวจสอบของบุคคลภายนอก คือผู้สอบบัญชีรับอนุญาต หรือ certificated public accountant (CPA) ผู้สอบการเงิน เหล่านี้จะมีความเชี่ยวชาญในเรื่องของงบ การเงินและเป็นอิสระจากบริษัทที่จัดทางบ
  • 6. Financial Statement  งบดุล – สินทรัพย์ แบ่งออกเป็น  สินทรัพย์หมุนเวียน (Current assets) คือ สินทรัพย์ที่กิจการมีวัตถุประสงค์จะ เปลี่ยนเป็นเงินสดหรือมีไว ้เพื่อขาย หรือเพื่อนาไปใช ้ในการดาเนินงาน ตามปกติภายใน 12 เดือน ใช ้ส่วนของ การดาเนินงานรายวัน และจ่ายหนี้ระยะ สั้น  สินทรัพย์ถาวร (Fixed assets) – เป็น ิ
  • 7. Financial Statement  สินทรัพย์หมุนเวียน –เรียงจากสินทรัพย์ที่มี สภาพคล่องสูงไปยังสินทรัพย์ที่มีสภาพคล่อง ต่า – Cash and cash equivalents สิ่งที่เทียบเท่าเงิน สด คือ หลักทรัพย์ในความต ้องการของตลาดที่ ถึงกาหนดภายใน 90 วัน หรือน้อยกว่า เช่น บัญชีออมทรัพย์ ตั๋วเงินระยะสั้น หรือตราสาร หนี้ที่ใกล ้ครบอายุ การถือเงินสดมากเกินไป จะ เป็นการใช ้เงินอย่างไม่มีประสิทธิภาพ เพราะ ควรจะนาไปลงทุนจะได ้ผลตอบแทนมากกว่า – Account Receivables – ลูกค ้าที่ซื้อสินค ้าหรือ บริการเป็นเงินเชื่อ
  • 8. Financial Statement  สินทรัพย์ถาวร – เงินลงทุนระยะยาว คือ เงินที่กิจการนาไป ลงทุนเกินกว่าระยะเวลา 1 ปี อาจลงทุนในหุ้น ตราสารหนี้ หรือที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ที่มี ไว ้เพื่อเก็งกาไร – ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ที่มีไว ้เพื่อการ ดาเนินงาน – ค่าเสื่อมราคา เป็นการแบ่งสรรทุนที่ใช ้ซื้อ สินทรัพย์ถาวร (ยกเว ้นที่ดิน) ตลอดระยะเวลา ที่ได ้รับประโยชน์จากสินทรัพย์ถาวรนั้น
  • 9. Financial Statement  หนี้สิน – หนี้สินหมุนเวียน (Current Liabilities) – หนี้สินที่ จะต ้องชาระคืนภายในระยะเวลา 12 เดือน ซึ่ง เกี่ยวข ้องกับการดาเนินงาน  เจ ้าหนี้การค ้า (Account Payables) เกิดจากการ ซื้อสินค ้าหรือบริการเป็นเงินเชื่อ อันเป็นปกติ ธุระของกิจการ  ตั๋วเงินจ่าย (Note Payables) ที่ต ้องชาระภายใน 1 ปี  ค่าใช ้จ่ายค ้างจ่าย (Accrued Expenses) เมื่อ สิ้นสุดระยะเวลาบัญชี ค่าใช ้จ่ายต่างๆ ได ้ เกิดขึ้นแล ้ว แต่ยังไม่จ่ายเงิน เช่น ค่าเช่าค ้าง จ่าย ค่าแรงค ้างจ่าย ภาษีเงินได ้ค ้างจ่าย
  • 10. Financial Statement  หนี้สิน – หนี้สินระยะยาว (Long-term liability) เป็น หนี้สินที่ต ้องชาระเกินกว่า 1 ปี  เงินกู้ระยะยาว (Long term debts)  ตราสารหนี้ระยะยาว (Long term bonds)
  • 11. Financial Statement  ส่วนของเจ ้าของ – หุ้นทุน – หุ้นสามัญ (Common Stocks) และ หุ้นบุริมสิทธิ (Preferred Stock) – ส่วนเกินทุน (Additional paid-in capital)  ส่วนเกินมูลค่าหุ้น – ขายหุ้นในราคาสูง กว่าราคาที่ตราไว ้  ส่วนเกินทุนอื่น – ส่วนเกินทุนที่เกิดจาก การตีราคาสินทรัพย์ – กาไรสะสม (Retained Earnings) – คือกาไร หลังจากการจ่ายปันผลแล ้ว
  • 12. Financial Statement  หมายเหตุประกอบงบ เป็นการเปิดเผยเพิ่มเติม เพื่อความเข ้าใจต่อผู้ใช ้งบการเงิน ในสิ่งที่เป็น สาระสาคัญ ซึ่งถ ้าไม่เปิดเผยให ้ทราบแล ้วจะทา ให ้เกิดความเข ้าใจผิดขึ้นได ้ซึ่งประกอบด ้วย – นโยบายการบัญชี เช่น รับรู้รายได ้ตามเกณฑ์สิทธิ – ข ้อผูกพันต่างๆ เช่น ข ้อจากัดต่างๆ ในสิทธิที่เหนือ ทรัพย์สิทธิ – หนี้สินที่อาจจะเกิดขึ้น เช่น ค่าเสียหายหากแพ ้คดีค ว่ามซึ่งอยู่ระหว่างการพิจารณาของศาล – การเปลี่ยนแปลงทางบัญชี เช่น การเปลี่ยนแปลง วิธีการตีราคาสินค ้าคงเหลือตามวิธีการเข ้าก่อนออก
  • 15. Financial Statement  งบกาไรขาดทุน เป็นงบที่บอกถึงผลการเป็นรอ ดาเนินงานของกิจการในรอบระยะเวลาใดเวลา หนึ่งส่วนหนึ่ง (ส่วนใหญ่บระยะเวลาเป็นปี) – รายได ้– สามารถแบ่งออกเป็น รายได ้จากการ ขายสินค ้าและบริการ และรายได ้อื่นๆที่ นอกเหนือจากการดาเนินงานโดยตรง – ค่าใช ้จ่าย  ต ้นทุนสินค ้าขาย – เป็นค่าใช ้จ่ายที่มี ความสัมพันธ์โดยตรงกับรายได ้  ค่าใช ้จ่ายในการขาย – เป็นค่าใช ้จ่ายที่ใช ้ความ พยายามก่อให ้เกิดรายได ้เช่น เงินเดือนพนักงาน ขาย ค่าใช ้จ่ายทางการตลาด ค่าขนส่งสินค ้า ค่า
  • 16. Financial Statement  งบกาไรขาดทุน – ในส่วนของค่าเสื่อมราคา (Depreciation) ไม่ใช ้ ค่าใช ้จ่ายที่มีการจ่ายเงินสดออกไปจริง แต่เป็น การใช ้วิธีการบัญชีที่ตัดมูลค่าของสินทรัพย์ ถาวร (อาคาร และอุปกรณ์) ตามระยะเวลาการ ใช ้ – หรือค่าใช ้สิทธิ (Amortization) เป็นค่าใช ้จ่ายที่ เกิดขึ้นจากการใช ้สิทธิซึ่งถือเป็นสินทรัพย์ที่ไม่
  • 17. Financial Statement  งบกาไรขาดทุน – ผลแตกต่างระหว่าง ขายสุทธิ และต ้นทุนจาก การดาเนินงาน และค่าเสื่อมราคา เรียบกว่า กาไรก่อนหักดอกเบี้ยและภาษี (EBIT) – ดอกเบี้ยจ่าย เป็นดอกเบี้ยอันเกิดจาการใช ้หนี้ ถือเป็นค่าใช ้จ่าย ซึ่งหากเรานา EBIT – Interest = EBT หรือ กาไรก่อนหักภาษี – จากนั้นหักด ้วยภาษีเงินได ้(Tax) คือ 40% – บรรทัดท ้ายสุด คือ กาไรสุทธิ หรือ Net Income
  • 18. Financial Statement  Statement of Cash flow – เป็นรายงานทางบัญชีว่า บริษัทสามารถสร ้างกระแสเงินสดได ้เท่าไรและมา จากกิจกรรมใด ซึ่งจะแบ่งออกได ้เป็น 3 กิจกรรม สาคัญ คือ – Operating activities – กิจกรรมการดาเนินการจะ เกี่ยวข ้องกับการเปลี่ยนแปลงของสินทรัพย์และ หนี้สินหมุนเวียน (ยกเว ้น Note Payable) – Long-Term investing activities – เป็นการลงทุน ระยะยาว พิจารณาการเปลี่ยนแปลงของสินทรัพย์ ถาวร
  • 21. Financial Statement  กิจกรรมที่ทาให ้ฐานะของเงินสดเปลี่ยนแปลงไปดังนี้ – Operating Activity Activities Increase or decrease cash flow Net income + Depreciation + Increase in account receivable - Increase in inventories - Increase in account payable + Increase in Accrual +
  • 22. Financial Statement  กิจกรรมที่ทาให ้ฐานะของเงินสดเปลี่ยนแปลงไปดังนี้ – Investing Activity – Increase in net plant and equipment จะทาให ้ cash flow ลดลง – Financing Activity Activities Increase or decrease cash flow Increase in note payable + Increase in long-term bond + Payment of dividends -
  • 23. Financial Statement  Operating Cash flow – EBIT (1-TAX rate) + Depreciation and Amortization – 4,800 (1-0.4) + 2,400 = 5,280 – EBIT (1-TAX rate) คือ net operating profit after taxes (NOPAT)
  • 24. Financial Statement  Free Cash Flow คือ กระแสเงินสดที่นักลงทุนได ้รับหลังจาก หักในส่วนของการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรและ working capital – FCF = [EBIT (1-TAX rate) + Depreciation and Amortization] – [Capital expenditures + Δ Net operating working capital] – Capital expenditures = (Depreciation and amortization + Increasing in fixed assets)
  • 25. Financial Statement  Free Cash Flow คือ กระแสเงินสดที่นักลงทุนได ้รับหลังจาก หักในส่วนของการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรและ working capital – Capital expenditures = (Depreciation and amortization + Increasing in fixed assets) – Capital expenditure = 2,400 + (-320) = 2,080
  • 26. Financial Statement  Free Cash Flow คือ กระแสเงินสดที่นักลงทุนได ้รับหลังจาก หักในส่วนของการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรและ working capital – Net Working Capital = (Cash and cash equivalent + Account receivable + Inventories) – (Account payable + Accruals) – NWC ปี 2008 = 6,300 – 350 – 900 = 5,050 – NWC ปี 2009 = 6,570 – 250 – 1,200 = 5,120 – Change in NWC = 5,120 – 5,050 = 70
  • 27. Financial Statement  Free Cash Flow คือ กระแสเงินสดที่นักลงทุนได ้รับหลังจาก หักในส่วนของการลงทุนในสินทรัพย์ถาวรและ working capital – FCF = 5,280 – (2,080 + 70) – FCF = 5,280 – 2,150 = 3,130
  • 28. Financial Statement  ผล – จากผลที่ได ้FCF เป็น บวก คือ ข ้อดี – กระแสเงินสดที่จ่ายออกไป ส่วนใหญ่คือการ ลงทุนในสินทรัพย์ถาวร 2,080 ซึ่งจะทาให ้มี ผลผลิตที่เพิ่มขึ้นต่อไปในอนาคตอีกนานปี จนถึง ปี 2012 ดังนั้นเชื่อว่าในอนาคต FCF จะเพิ่มขึ้นอีก หลายปี เพราะไม่ต ้องลงทุนส่วนนี้อีก
  • 29. Analysis of financial statement  Ratio analysis – รายงานทางการเงินจะถูกใช ้ ใน 2 ลักษณะ กล่าวคือ – สาหรับนักลงทุนและผู้บริหาร จะใช ้ในการ คาดการณ์อนาคตว่าจะเป็นอย่างไร – เฉพาะกับผู้บริหาร จะใช ้เป็นจุดเริ่มต ้นในการ วางแผนเพื่อเพิ่มผลประกอบการทางการเงิน ในอนาคต
  • 30. Analysis of financial statement  Ratio Analysis – Liquidity ratios – เป็นอัตราส่วนทางการเงินที่ใช ้ใน การวัดสภาพคล่อง – Asset management ratios – ดูประสิทธิภาพในการใช ้ สินทรัพย์ – Debt management ratios – ดูสัดส่วนของการใช ้หนี้ และความเสี่ยงทางการเงิน – Profitability ratios – เป็นการแสดงผลลัพธ์ของ นโยบายทางการเงินและการตัดสินใจในการ ดาเนินการ – Market value ratios – เป็นอัตราส่วนที่ชี้ให ้เห็นว่านัก
  • 31. Analysis of financial statement  Liquidity Ratios – เป็นตัวตอบคาถามที่ว่า “Will the firm be able to pay off its debts as they come due in the coming year? – Current ratio – Current assets / Current liabilities – 6,570/1,630 = 4.03 เท่า – Industry average = 3.69 เท่า – ถ ้าบริษัทมีปัญหาความยากลาบากทางการเงิน จะ เริ่มเห็นว่าการจ่ายหนี้แก่เจ ้าหนี้การค ้าช ้าลง และกู้ เงินเพิ่มจากธนาคารเพื่อนามาหมุนเวียนในการ
  • 32. Analysis of financial statement  Liquidity Ratios – Quick ratio – (current assets – inventories) / current liabilities – 5,770 / 1,630 = 3.54 เท่า – Industry average = 3.23 เท่า – สินค ้าคงเหลือเป็นสินทรัพย์ที่มีสภาพคล่องน้อยที่สุด โอกาสที่จะสูญค่ามากกว่าสินทรัพย์อื่นๆ อย่างขายไม่ ออกหรือสินค ้าล ้าสมัย – จะเห็นว่าทั้ง Current และ Quick ratio ต่างสูงกว่า อุตสาหกรรม หมายถึงสภาพคล่องดี
  • 33. Analysis of financial statement  Asset Management Ratios – เป็นตัวตอบคาถาม ที่ว่า “Does the amount of each type of asset seem reasonable, too high, or too low in view of current and projected sales?  ถ ้าหากบริษัทถือสินทรัพย์มากเกินไป ต ้นทุนทาง การเงินก็เพิ่มขึ้น (ไม่ว่าจะเป็นการกู้หรือแม ้แต่ เงินของตัวเอง) แน่นอนกาไรย่อมลดลง แต่หาก มีสินทรัพย์น้อยเกินไป ยอดขายก็อาจจะลดลง (โดยเฉพาะอย่างยิ่งการถือสินค ้าคงเหลือน้อย)
  • 34. Analysis of financial statement  Asset Management Ratios – Inventory turnover ratio - Sales / Inventories – 10,200 / 800 = 12.75 เท่า – Industry average = 8.30 เท่า – บริษัทไม่ได ้ถือสินค ้าคงเหลือมากเกินไป เมื่อเทียบ กับอุตสาหกรรม สินค ้าคงเหลือมากเกินไป คือการ ลงทุนที่ไม่มีประสิทธิผล จะมีอัตราผลตอบแทนต่า หรือเป็นศูนย์ หาก lower turnover จะต ้องไป พิจารณาประกอบกับ current ratio ว่าเรามีสินค ้าที่ ล ้าสมัยหรือไม่
  • 35. Analysis of financial statement  Asset Management Ratios – Day sales outstanding (DSO) – Receivables / (Sales / 365) – 690 / (10,200/365) = 25 วัน – Industry average = 48 วัน – เป็นระยะเวลาในการเรียกเก็บหนี้ จะเห็นว่าการเก็บหนี้ ของบริษัทมีประสิทธิภาพเมื่อเทียบกับอุตสาหกรรม เพราะว่าระยะเวลาเก็บหนี้น้อย – นอกจากนี้สามารถนา DSO ไปเปรียบเทียบกับ เงื่อนไขการชาระหนี้ สมมติว่าตั้งนโยบายการชาระหนี้
  • 36. Analysis of financial statement  Asset Management Ratios – Fixed asset turnover ratio – Sales / Net fixed assets – 10,200/7,680 = 1.33 เท่า – Industry average = 0.72 เท่า – ข ้อสังเกต บริษัทที่ซื้อพวกเครื่องจักรมานานแล ้วจะ ทาให ้Fixed asset turnover สูงกว่าบริษัทที่ตั้งใหม่ แสดงว่ามันไม่ได ้สะท ้อนประสิทธิภาพของการใช ้ สินทรัพย์ เพียงแต่ต่างกันที่ซื้อก่อนหรือซื้อหลัง เท่านั้น
  • 37. Analysis of financial statement  Asset Management Ratios – Total assets turnover ratio – Sales / Total assets – 10,200 / 16,050 = 0.64 เท่า – Industry average = 0.50 เท่า – จะเห็นว่าอัตราส่วนมีค่าสูงกว่าอุตสาหกรรม แสดงว่า บริษัทสร ้างยอดขายได ้ดีเมื่อเทียบกับสินทรัพย์รวม ทั้งหมด
  • 38. Analysis of financial statement  Debt Management Ratios – อัตราส่วนนี้มี นัยสาคัญอยู่ 3 ประการคือ – เจ ้าหนี้เองก็ดูว่าบริษัทนี้มีหนี้มากน้อยแค่ไหน หากมีหนี้มากย่อมหมายถึงความเสี่ยง โอกาส ที่ปล่อยสินเชื่อให ้ก็น้อยลง – การใช ้ส่วนของหนี้มาก หากบริษัทสามารถทา กาไรได ้มากกว่าส่วนที่จ่ายเป็นดอกเบี้ยไป ย่อมทาให ้ผลตอบแทนต่อส่วนของผู้ถือหุ้น หรือ ROE นั้นสูงขึ้น
  • 39. Analysis of financial statement  Debt Management Ratios – Total debt to total asset (Debt ratio) – Total debt / Total assets – (1,630 + 800) / 16,050 = 15.1% – Industry average = 18.3% – จะเห็นว่าบริษัทมีการใช ้หนี้ต่ากว่าอุตสาหกรรม ทา ให ้TGE สามารถกู้เพิ่มได ้อีก โดยไม่จาเป็นต ้องเพิ่ม ทุน
  • 40. Analysis of financial statement  Debt Management Ratios – Times-interest-earned ratio – TIE = EBIT / Interest charges – 4,800 / 900 = 5.3 เท่า – Industry average = 3.3 เท่า – เป็นอัตราส่วนที่ดูความสามารถในการชาระหนี้ ว่า กาไรก่อนหักภาษีและดอกเบี้ยนั้นมีเพียงพอสาหรับ การจ่ายดอกเบี้ยมากน้อยแค่ไหน – จะเห็นว่าอัตราส่วนสูงกว่าอุตสาหกรรม นั้นเป็น
  • 41. Analysis of financial statement  Profitability Ratios – เป็นเหมือนผลลัพธ์ของ นโยบายการใช ้หนี้และนโยบายในการดาเนิน กิจการ – Operating Margin – EBIT/ Sales – 4,800/ 10,200 = 47.1% – Industry average = 34.5% – จะเห็นว่า บริษัทมี Operating Margin สูงกว่า อุตสาหกรรม ซึ่งเป็นผลจากการมี Operating Costs ที่
  • 42. Analysis of financial statement  Profitability Ratios – เป็นเหมือนผลลัพธ์ของ นโยบายการใช ้หนี้และนโยบายในการดาเนิน กิจการ – Profit margin on sales – Net Income / Sales – 2,340 / 10,200 = 22.9% – Industry average = 20.2% – มีเหตุผล 2 เหตุผลที่ทาให ้Profit margin on sale ของบริษัทสูง กว่าอุตสาหกรรม คือ บริษัทมี Operating Costs ต่า หรือ profit margin มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับการใช ้ส่วนของหนี้ที่น้อย การ ตั้งราคาสูงเพื่อหวังว่าจะเกิด Profit Margin อาจจะไม่เป็นจริง
  • 43. Analysis of financial statement  Profitability Ratios – Return on total assets (ROA) – Net income / Total assets – 2,340 / 16,050 = 14.6% – Industry average = 14.1% – หากเกิดกรณีของ Low ROA อาจจะหมายความถึง การมีต ้นทุนขายที่สูง หรือการมีดอกเบี้ยจานวนมาก (หากมีการใช ้ส่วนของหนี้สูง)
  • 44. Analysis of financial statement  Profitability Ratios – Return on common equity (ROE) – Net income / Common equity – 2,430 / 13,620 = 17.2% – Industry average = 11.1% – มาจากการทากาไรที่ดี ขณะที่ส่วนของเจ ้าของเรามี สัดส่วนมากกว่าอุตสาหกรรมด ้วยซ้า
  • 45. Analysis of financial statement  Market Value Ratios – เป็นอัตราส่วนที่แสดง ความสัมพันธ์ระหว่างราคาหุ้นกับกาไร กระแส เงินสด และมูลค่าตามบัญชี – Price / Earnings Ratio – Price per share / Earnings per share – 1.27 / 0.09 = 14.1 – Industry average = 15.0
  • 46. Analysis of financial statement  Market Value Ratios – Market / Book ratio เป็นอัตราส่วนที่แสดงถึงมุมมอง ของนักลงทุนต่อบริษัท บริษัทที่ปลอดภัยและมีอัตรา การเติบโตของกาไรและกระแสเงินสดก็จะมีอัตราส่วน นี้สูง – ก่อนอื่นเราต ้องหา Book value per share = Common equity / Share outstanding – 13,620 / 26,000 = 0.52
  • 47. Analysis of financial statement  Market Value Ratios – จากนั้นเราจะได ้Market / Book ratio คือ – Market price per share / Book value per share – 1.27 / 0.52 = 2.44 – Industry average = 1.79 – มันหมายความนักลงทุนยินดีที่จะจ่ายสาหรับมูลค่า ของ $1 ของ Book value เพราะการที่บริษัทมีการ ขยายตัวสูง
  • 48. Analysis of financial statement  Limitation of ratio analysis – บริษัทที่ทาธุรกิจในหลายๆอุตสาหกรรม – การทาได ้ตามค่าเฉลี่ยไม่ได ้แปลว่าดีเสมอไป – วิธีการทางบัญชีของแต่ละทีก็แตกต่างกัน – บางบริษัทมีการใช ้window dressing เพื่อทาให ้ บริษัทของตนเองดูดี – บางทีก็พูดยากว่าอัตราส่วนทางการเงินที่ปรากฏนั้น แปลว่าดีหรือไม่ดี
  • 49. Time Value of Money  Time Lines – แสดงถึงเวลาของกระแสเงินสด – ระยะระหว่าง 0-1, 1-2, 2-3 คือช่วงระยะเวลาซึ่ง อาจจะเป็นปีหรือเป็นเดือน – 0 คือวันนี้ 1 คือ หนึ่งช่วงเวลาจากวันนี้และเป็น จุดสิ้นสุดของช่วงเวลาที่ 1 และเป็นจุดเริ่มต ้นของ ช่วงเวลาที่ 2 และช่วงอื่นๆก็เช่นกัน
  • 50. Time Value of Money  Time Lines – คนปกติต ้องการเงินหนึ่งบาทตอนนี้ มากกว่าเงินหนึ่งบาทในอนาคต โดยมีเหตุผลอยู่ 3 เหตุผล คือ – หากให ้คนเราเลือกบริโภคได ้จะชอบบริโภควันนี้ มากกว่าจะบริโภคในอนาคต – เงินเฟ้อจะทาให ้อานาจซื้อของเงินลดน้อยลง เงินหนึ่งบาทในอนาคตจะซื้อสินค ้าได ้น้อยกว่า เงินหนึ่งบาทวันนี้ – เงินหนึ่งบาทในอนาคตมีความไม่แน่นอน มีความ
  • 51. Time Value of Money  Future Value – เป็นการหามูลค่าอนาคต โดยเป็น ลักษณะของดอกเบี้ยทบต ้น ณ ระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง (compounded interest) ซึ่งอาจจะเป็น รายปี ครึ่งปี ไตร มาส เดือน สัปดาห์ หรือ รายวัน  ตัวอย่าง – นาย ก ฝากเงิน 100 บาท จ่ายดอกเบี้ย 8% ทบต ้นทุกปี (compounded annually) ณ สิ้นปีที่ 1 จะมี เงิน 108 บาทในบัญชี คือ เงินต ้น 100 บาท บวก 8% เป็นดอกเบี้ย หรือ คานวณค่า future value สิ้นสุด ณ ปีที่ 1 คือ – 100 * (1+0.08) = 108 บาท
  • 52. Time Value of Money  สมการในการหา Future Value – ให ้FVn = Future value ณ สิ้นสุดปีที่ n – PV = เงินเริ่มต ้น หรือ Present Value – i = อัตราดอกเบี้ย – n = จานวนระยะเวลา (ปี) – FVn = PV (1+i)n
  • 53. Time Value of Money  ตัวอย่าง Jane ฝากเงิน 800 บาท ดอกเบี้ย 6% ทบต ้น ทุกปี ให ้หาเงินในบัญชี เมื่อสิ้นปีที่ 5 มีวิธีการหา 2 วิธี คือ – ใช ้สูตร คือ FV5 = 800 (1+0.06)5 = 1,070.58 – ใช ้ตาราง ซึ่งในการหา FVn จะได ้สูตรดังนี้ FVn = PV * (FVIFi,n) จากตารางหากเป็น 5 ปี ดอกเบี้ย 6% เงิน 1 บาท จะ มีค่า 1.3382 แล ้วนาไปคูณกับ 800 จะได ้1,070.56
  • 54. Time Value of Money จากรูปสรุปได ้ว่า ยิ่งดอกเบี้ยสูงขึ้นเท่าไร มูลค่าของ Future Value จะสูงขึ้นมากเท่านั้น และหากระยะเวลายิ่ง นานเท่าไร ก็ยิ่งทาให ้Future Value สูงขึ้น
  • 55. Time Value of Money  การทบต ้นที่มากกว่าปีละครั้ง (Annually) – FVn = PV (1+i/m)m*n – กรณีของ Jane หากคิดอัตราดอกเบี้ยทบต ้น 2 ครั้งต่อ ปี (Semiannual compounding) จะได ้ว่า – FVn = 800 (1+(0.06/2))5*2 = 1,075.13
  • 56. Time Value of Money  หรือ หากเปิดตาราง เพื่อหา FVIF หาที่ดอกเบี้ยที่ 3% ระยะเวลาคือ 10 จะได ้ค่าออกมาที่ 1.3439  800 * 1.3439 = 1,075.12
  • 57. Time Value of Money  Annuity – กระแสเงินสดที่เท่าๆกันในแต่ละปี annuity แบ่งออกได ้เป็น 2 ประเภทคือ – Ordinary annuity – กระแสเงินสดที่เกิดขึ้นเมื่อสิ้นสุด ในแต่ละระยะเวลา – Annuity due – กระแสเงินสดที่เกิดขึ้นเมื่อต ้นงวดใน แต่ละระยะเวลา
  • 58. Time Value of Money  Annuity – กระแสเงินสดที่เท่าๆกันในแต่ละปี annuity แบ่งออกได ้เป็น 2 ประเภทคือ
  • 59. Time Value of Money  Future Value of an Ordinary annuity – นายกรวิกต ้องการที่จะรู้ว่าเขาจะมีเงินจานวนเท่าไร เมื่อสิ้นที่ 5 ถ ้าเขาฝากเงิน 1,000 บาทททุกปี ณ สิ้นสุดของแต่ละปี โดยคิดอัตราดอกเบี้ย 7% – สูตรคานวณ FVAn = PMT (FVIFAi,n)  PMT – จานวนเงินฝากเมื่อสิ้นสุดแต่ละปีและมี จานวนเท่ากัน  FVIFAi,n – Future value interest factor for a one dollar annuity ทบต ้นโดยคิดดอกเบี้ย i% เป็น ระยะเวลา n ปี
  • 60. Time Value of Money  Future Value of an Annuity due – นายกรวิกต ้องการที่จะรู้ว่าเมื่อสิ้นสุดปีที่ 5 จะมี เงินจานวนเท่าใด ถ ้าฝากเงินจานวน 1,000 ณ เริ่มต ้นแต่ละปี ดอกเบี้ย 7% – FVAn (Annuity due) = PMT (FVIFAi,n)(1+i) – = 1,000 (FVIFA7%,5) * (1+0.07) – = 1,000 (5.751) (1+0.07) = 1,000 (6.154) =
  • 61. Time Value of Money  Present Value – มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสดใน อนาคต เป็นลักษณะของการคิดลดมูลค่าอนาคตกลับมา สู่ปัจจุบัน เราจึงเรียกว่าเป็นการ Discounting cash flow  ตัวอย่าง - นายสมชายมีโอกาสได ้รับเงิน 300 บาทในปี หน้า ถ ้าเขาสามารถได ้รับดอกเบี้ย 6% จากการลงทุน ให ้หาว่าเขาต ้องลงทุนเท่าไรถึงจะได ้เงิน 300 บาทในปี หน้า – เดิม จากสูตร FV จะได ้ว่า 300 = PV (1+0.06) PV = 300/1.06 = 283.02 บาท – ดังนั้นสูตรในการหา PV คือ
  • 62. Time Value of Money  ตัวอย่าง นายสมชายต ้องการหา present value ของเงิน 1,700 ที่จะได ้รับใน 8 ปีข ้างหน้า โดยนายสมชายมี opportunity cost คือ 8% – PV = FVn / (1+i)n – 1,700 / (1+0.08)8 = 1,700 / 1.851 = 918.42 – คานวณโดยใช ้ตาราง – PV = FVn * (PVIFi,n) – PV = 1,700 (PVIF ) = 1,700 (0.540) = 918 บาท
  • 63. Time Value of Money  กราฟของ Present value  จะเห็นว่ายิ่ง discount rate สูงเท่าไร ค่าของ present value ก็จะยิ่งลดลง และยิ่งเวลานานเท่าไร present value ก็จะลดลง
  • 64. Time Value of Money  Present Value of an annuity  ตัวอย่าง บริษัท Braden เป็นผู้ผลิตตุ๊กตาพลาสติก ต ้องการผลตอบแทนขั้นต่าคือ 8% และกระแสเงินสด 700 บาทต่อปี สาหรับ 5 ปี  PVAn = PMT (PVIFAi,n) = 700 (PVIFA8%,5) = 700 * 3.993 = 2,795.10
  • 65. Time Value of Money  Present Value of a Perpetuity  Perpetuity คือ annuity ที่ไม่มีที่สิ้นสุด คือ เป็นจานวน เงินเท่าๆกัน แต่ไม่มีสิ้นสุดระยะเวลา  ตัวอย่าง นงรามต ้องการ present value ของกระแสเงิน สดที่ได ้รับ 1,000 บาททุกๆปีแบบไม่สิ้นสุด โดยมี discount rate ที่ 10% – สูตรคือ PMT / i = 1,000 / 0.10 = 10,000 บาท
  • 66. Time Value of Money  กระแสเงินสดที่ไม่เท่ากัน (Uneven Cash Flow)  ตัวอย่าง Frey company ผู้ผลิตรองเท ้า ถูกเสนอโอกาส ที่จะได ้รับ cash flow 5 ปีข ้างหน้า ดังนี้ Year Cash Flow 1 400 2 800 3 500 4 400 5 300
  • 67. Time Value of Money  ถ ้าบริษัทได ้รับอัตราผลตอบแทน 9% ของการลงทุน จงหา Present value Year Cash Flow PVIF9%,n Present Value 1 400 0.917 366.80 2 800 0.842 673.60 3 500 0.772 386.00 4 400 0.708 283.20 5 300 0.650 195.00 PV 1,904.60
  • 68. Time Value of Money  ถ ้าบริษัทได ้รับอัตราผลตอบแทน 9% ของการลงทุน จงหา Future Value เมื่อสิ้นปีที่ 5 Year Cash Flow FVIF9%,n Future Value 1 400 1.412 564.8 2 800 1.295 1036 3 500 1.188 594 4 400 1.090 436 5 300 1 300 FV 2,930.8
  • 69. Return and Risk  Risk (ความเสี่ยง) – โอกาสของเหตุการณ์ที่ไม่ ต ้องการให ้เกิดแต่กลับเกิด เช่น นั่งเครื่องบิน ก็มี โอกาสเครื่องบินตก เล่นพนันก็มีโอกาสเสีย  Probability Distribution – มีหุ้นอยู่ 2 ตัว หุ้นบริษัท ก และ หุ้นบริษัท ข บริษัท ก เป็นบริษัทที่มีการ ขยายตัวสูง แต่มีการแข่งขันสูงเช่นกัน หากคู่แข่ง สามารถผลิตสินค ้าได ้ดีกว่า ก มีโอกาสล ้มละลาย ส่วนบริษัท ข เป็นบริษัทใหญ่ที่อยู่ในอุตสาหกรรมที่ อิ่มตัวแล ้ว
  • 70. Return and Risk  ความเสี่ยงจากการลงทุน – โอกาสหรือความเป็นไป ได ้ที่จะไม่ได ้รับผลตอบแทนตามที่คาดหวัง อาจจะ แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ – ความเสี่ยงที่เกิดจากปัจจัยมหภาค เป็นความเสี่ยงที่ไม่ สามารถหลีกเลี่ยงได ้และไม่สามารถคาดการณ์ได ้ ล่วงหน้า  Purchasing Power Risk – ความเสี่ยงจากการมีอานาจซื้อ ที่ลดลง เช่น การลงทุนในตราสารหนี้หรือพันธบัตร ระยะยาวที่มีอัตราดอกเบี้ยคงที่ เมื่ออัตราเงินเฟ้อ สูงขึ้น ดอกเบี้ยที่ผู้ลงทุนได ้รับอาจมีอานาจซื้อลดลง จากการที่ราคาสินค ้าหรือบริการปรับตัวสูงขึ้น
  • 71. Return and Risk  ความเสี่ยงจากการลงทุน – ความเสี่ยงที่เกิดจากปัจจัยมหภาค  Political Risk – ความเสี่ยงที่มักเกิดจากการ เปลี่ยนแปลงทางการเมือง ทาให ้ผู้ลงทุนชะลอการ ลงทุนเพื่อรอดูท่าทีของรัฐบาลใหม่เสมอ  Currency Risk – ความเสี่ยงจากการผันผวนของอัตรา แลกเปลี่ยนเงินตราระหว่างประเทศ หากอัตรา แลกเปลี่ยนเปลี่ยนแปลงไปในทางลบ ผลตอบแทน รวมอาจลดลงหรือถึงกับขาดทุน ทั้งๆ ที่การลงทุนใน หลักทรัพย์หรือทรัพย์สินนั้นมีกาไรก็ตาม
  • 72. Return and Risk  ความเสี่ยงจากการลงทุน – ความเสี่ยงที่เกิดจากปัจจัยมหภาค  Interest Rate Risk – ความเสี่ยงที่เกิดจากการผันแปร ของอัตราดอกเบี้ย เมื่ออัตราดอกเบี้ยในตลาดปรับตัว สูงขึ้น ผู้ขายจะต ้องเสนออัตราผลตอบแทนหรือ Yield แก่ผู้สนใจซื้อเท่าเทียมกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด (ซึ่ง ปรับตัวสูงขึ้นกว่าในอดีต) ซึ่งก็หมายความว่า ผู้ขาย จะต ้องลดราคาของตราสารหรือพันธบัตรนั้นลง และ เกิดผลขาดทุนในที่สุด
  • 73. Return and Risk  ความเสี่ยงจากการลงทุน – ความเสี่ยงที่เกิดจากปัจจัยจุลภาค เป็นความเสี่ยงที่ลดลง ได ้ โดยการกระจายการลงทุนออกไปให ้กว ้างขวาง  Credit Risk – ความเสี่ยงที่บริษัทนั้นๆ จะจ่ายคืนหนี้ โดยพิจารณาจากปัจจัยพื้นฐานของบริษัท เช่น ฐานะ ทางการเงินมั่นคงหรือไม่ เพียงใด มีความสามารถใน การบริหารและการจัดการหรือไม่ มีความสามารถใน การทากาไรมากน้อยเพียงไร มีส่วนแบ่งทางการตลาด มากน้อยเพียงใด เป็นต ้น  Sector Risk หรือ Industry Risk – ความเสี่ยงอันเกิด จากลักษณะเฉพาะของกลุ่มธุรกิจหรืออุตสาหกรรม
  • 74. Return and Risk  Probability Distribution สถานะของ เศรษฐกิจ โอกาสของ เกิด ผลตอบแทนที่เกิดหากสถานะ เกิด บริษัท ก บริษัท ข Boom 0.3 100% 20% Normal 0.4 15 15 Recession 0.3 (70) 10
  • 75. Return and Risk  Expected rate of return ( ) = P1r1 + P2r2 + …. + Pnrn = ΣPiri ก มีผลตอบแทนที่คาดหวัง = (0.3*100) + (0.4*15) + (0.3*(-70)) = 15% ข = (0.3*20) + (0.4*15) +(0.3*10) = 15%
  • 77. Return and Risk  การวัดค่าความเสี่ยง – เราสามารถวัดการกระจาย ของ probability distribution ด ้วย standard deviation หากค่า SD น้อย จะมีการกระจายช่วง แคบๆ หากใช ้กับหุ้น ถือว่าหุ้นนั้นมีความเสี่ยงต่า
  • 78. Return and Risk  เรามาหา SD ของบริษัท ก
  • 79. Return and Risk  Using historical data to measure risk – คือก่อนหน้านี้เป็นการหาความเสี่ยงจากผลตอบแทน ในอนาคต ในความน่าจะเป็นต่างๆ แต่หากเราใช ้ ข ้อมูลที่คานวณนั้นเป็นผลตอบแทนที่เกิดขึ้นในอดีต เราจะใช ้สูตรดังต่อไปนี้
  • 80. Return and Risk  Using historical data to measure risk
  • 81. Return and Risk  การวัดความเสี่ยงด ้วยการใช ้Coefficient of Variation (CV) ใช ้ในการตอบคาถาม “how do we choose between two investments if one has the higher expected return but the other the lower standard deviation?
  • 82. Return and Risk  Coefficient of variation (CV) CV =  / r^  โครงการ X มีอัตราผลตอบแทนที่คาดหวังที่ 60% และมี ค่า SD = 15% ในส่วนของ Y มีอัตราผลตอบแทนที่ คาดหวังที่ 8% และมีค่า SD = 3% จะเปรียบเทียบความ เสี่ยงได ้ดังนี้ – CV ของ X = 15 / 60 = 0.25 ส่วน CV ของ Y = 3 / 8 = 0.375 สรุปได ้ว่าโครงการ Y มีความเสี่ยงมากกว่า
  • 83. Return and Risk  Portfolio – ที่ผ่านมาเป็นการพิจารณาความเสี่ยง ของหลักทรัพย์แต่ละตัว ซึ่งนักลงทุนไม่ชอบความ เสี่ยง จึงมีวิธีการลดความเสี่ยงด ้วยการซื้อ หลักทรัพย์หลายๆตัวเพื่อเป็นการกระจายความเสี่ยง  ดังนั้นในการพิจารณาความเสี่ยงและผลตอบแทน นั้นจะพิจารณาในแง่ที่ว่า หลักทรัพย์นั้นมีผลกระทบ ต่อความเสี่ยงและผลตอบแทนของ Portfolio อย่างไร
  • 84. Return and Risk  Portfolio Return คือ การหาผลตอบแทนที่คาดหวัง ของ Portfolio หรือ rp^ สามารถคานวณได ้จาก  W1r1^ + W2r2^ + W3r3^ + … + Wnrn^  Σ Wiri^
  • 85. Return and Risk  ในปี 2015 นักวิเคราะห์คาดการณ์ผลตอบแทนของ บริษัทใหญ่ 4 บริษัท ดังนี้ PTT 14% BBL 13% L&H 20% CPALL 18%
  • 86. Return and Risk  เรามีเงิน 100,000 บาท ในการลงทุน แบ่งลงทุนใน หุ้นแต่ละตัว โดยลงทุนในหุ้น PTT 25% BBL 40% L&H 15% และ CPALL 20%  (0.25*14) + (0.40*13) + (0.15*20) + (0.20*18) = 3.5% + 5.2% + 3% + 3.6% = 15.3%
  • 87. Return and Risk  Portfolio Risk
  • 88. Return and Risk  Portfolio Risk – หากเราลงทุนในหุ้น 2 ตัว คือ W และ M หุ้นละ 50% จะเห็นว่าหุ้นทั้งสองต่างก็มีความเสี่ยง หากถือหุ้นทั้ง สองแยกออกจากกัน แต่หากถือทั้งสองตัว กลับไม่มี ความสี่ยงเลยและได ้ผลตอบแทนที่แท ้จริงที่ 15% – เหตุผลที่ portfolio WM ไม่มีความเสี่ยงเลย เพราะ ผลตอบแทนขึ้นลงแบบตรงกันข ้าม
  • 89. Return and Risk  Portfolio Risk – การดูความสัมพันธ์ระหว่างหุ้นสองตัว เราเรียก correlation coefficient หรือ r กรณีหุ้น W และ M ที่มี การเคลื่อนไหวในทางกันข ้าม เรียกว่า perfectly negative coefficient หรือ r = -1 – กรณีที่หุ้นสองตัวมีความสัมพันธ์ไปในทางเดียวกัน เป็น perfectly positive correlation หรือ r = 1 ถ ้าถือ หุ้นสองตัวที่มีความสัมพันธ์แบบนี้ ไม่ทาให ้ความ
  • 90. Return and Risk  Company specific risk VS Market risk
  • 91. Return and Risk  Company specific risk VS Market risk – จากกราฟ แสดงให ้เห็นว่า เมื่อนาหุ้นเข ้า portfolio ที ละตัว จนถึง 2,000 หุ้น ปรากฏว่าความเสี่ยง (SD) ของ portfolio มีแนวโน้มลดลง แต่ไปชะลอการ ลดลงที่ระดับหนึ่งจากกราฟ คือ 20% ตั้งแต่มีจานวน หุ้นใน portfolio 40 หุ้น – จากกราฟจะเห็นความเสี่ยงแบ่งออกเป็น 2 ส่วนคือ  Company specific risk หรือ diversified risk หรือ unsystematic risk  Market risk หรือ non-diversified risk หรือ
  • 92. Return and Risk  Company specific risk VS Market risk – Company specific risk - คือ ความเสี่ยงที่ถูกขจัด โดยการเพิ่มจานวนหุ้นเข ้าไปในพอร์ตโฟลิโอ หรือ ความเสี่ยงที่กระทบเฉพาะบริษัทใดบริษัทหนึ่ง เช่น ความเสี่ยงจากการตลาด ความเสี่ยงจากการผลิต สินค ้า ความเสี่ยงจากโครงสร ้างเงินทุน ความเสี่ยง ทางการเงิน เหตุการณ์ที่เลวร ้ายของบริษัท สามารถ ถูกแทนที่ด ้วยเหตุการณ์ที่ดีของอีกบริษัทหนึ่ง
  • 93. Return and Risk  Relevant risk – the risk of any asset then becomes the risk added to this “market portfolio”, which is measured with a beta.  เช่น หมอคนหนึ่งมีหุ้นใน portfolio 40 ตัว เมื่อเอา หุ้น TA เพิ่มเข ้าไปใน portfolio relevant risk ก็คือ ดู ว่าเมื่อเอาหุ้น TA เข ้าไปใน portfolio แล ้วจะมี ผลกระทบอย่างไรต่อ portfolio risk
  • 94. Return and Risk  How can the relevant risk of an individual stock can be measured?  ในการวัดเราจะพิจารณาความเสี่ยงของหุ้นตัวใดตัว หนึ่งกับกับตลาดว่ามีลักษณะขึ้นลงตามตลาดมาก น้อยแค่ไหน
  • 95. Return and Risk  The concept of beta – เป็นตัววัดความไว (Sensitivity) ของบริษัทที่มีต่อความเสี่ยงที่ เป็นระบบ เมื่อเปรียบเทียบกับความเสี่ยงของ ตลาดโดยรวม ซึ่งมีตัวแทน คือ ดัชนีตลาด หลักทรัพย์ โดยค่าเบต ้าจะแสดงถึง สัดส่วน ของการเปลี่ยนแปลงขงอัตราผลตอบแทน ของหลักทรัพย์เมื่อเปรียบเทียบกับอัตรา ผลตอบแทนของตลาด
  • 96. Return and Risk  The concept of beta ในการเปรียบเทียบการขึ้นลง ของหุ้นตัวหนึ่งกับดัชนีตลาดจะอยู่ในรูปของ beta coefficient หรือ b – Average risk stock เป็นหุ้นที่มีการเคลื่อนไหวของ ราคาไปตามดัชนีของตลาด เราเรียกหุ้นนี้ว่ามีค่า b = 1 นั้นคือ หากดัชนีตลาดขึ้น 10% หุ้นจะราคาสูงขึ้น 10% ด ้วย ถ ้าดัชนีตลาดลดลง 10% ราคาหุ้นจะลดลง 10% ด ้วย – กรณีหุ้นที่มีค่า b = 0.5 ขึ้นลงเป็นครึ่งหนึ่งของดัชนี ตลาด
  • 97. Return and Risk  The concept of beta – หุ้นที่มีค่า beta มากกว่า 1 หมายความว่าจะทาให ้ค่า beta ของ portfolio สูงขึ้น – หุ้นที่มีค่า beta น้อยกว่า 1 จะทาให ้ค่า beta ของ portfolio ลดต่าลง
  • 98. Return and Risk  The relationship between Return and Risk – ให ้ = expected rate of return ให ้ r = required rate of return หาก < r เราย่อมไม่ซื้อหุ้นนี้ ถ ้า > r เราจะซื้อหุ้นนี้
  • 99. Return and Risk  การคานวณหาค่าเบต ้าจากสัดส่วนระหว่างค่าความ แปรปรวนร่วมระหว่างหลักทรัพย์นั้นกับตลาด กับ ความแปรปรวนของตลาด ดังนี้ β𝑖 = 𝐶𝑜𝑣(𝑅𝑖 , 𝑅𝑚 ) 𝑉𝑎𝑟𝑖𝑎𝑛𝑐𝑒(𝑅𝑚) หรือ β𝑖 = 𝞂𝑖 , 𝑚 𝞂𝑚 2
  • 100. Return and Risk  ในการหา Required Return (r) เราใช ้Security Market Line (SML) equation – ri = rrf + (rm – rrf) bi – rrf = risk free rate – long term US Treasury bonds – rm = required rate of return on a portfolio consisting of all stocks which is called the market portfolio – b = ค่าเบต ้า
  • 101. Return and Risk  The relationship between Return and Risk – กาหนดให ้มีหุ้น 3 ตัว มีค่า beta ดังนี้ หุ้น i มี beta คือ 0.5 หุ้น j มี beta คือ 2 และ หุ้น A มี beta คือ 1 คือ beta ของตลาดนั้นเอง – และให ้rm = 11% และ rrf = 6% – จะได ้required rate of return ของหุ้นแต่ละตัวดังนี้ – ri = rrf + (rm – rrf) bi = 6% + (11% - 6%) (0.5) = 8.5% – rj = rrf + (rm – rrf) bj = 6% + (11% - 6%) (2) = 16% – rA = rrf + (rm – rrf) bA = 6% + (11% - 6%) (1) = 11% = rm
  • 103. Bonds and their Valuation  Bond เป็นตราสารการเงินระยะยาวที่ผู้กู้ตกลงจะจ่าย ดอกเบี้ยและเงินต ้น ณ วันเวลาที่กาหนด แก่ผู้ถือตรา สาร  องค์ประกอบของตราสารหนี้ – มูลค่าที่ตราไว ้(Par Value) – มูลค่าที่ระบุไว ้ในตราสารหนี้ แต่ละหน่วยที่ผู้กู้จะต ้องชาระคืนให ้กับผู้ถือตราสารหนี้นั้น เมื่อครบกาหนดชาระของตราสารหนี้ เช่น 1,000 บาท หรือ 10,000 บาท – อัตราดอกเบี้ย (Coupon Rate) คือ อัตราดอกเบี้ยที่ผู้ออก ตราสารหนี้มีภาระที่จะต ้องจ่ายให ้กับผู้ถือตราสารหนี้นั้นๆ ตามงวดการจ่ายดอกเบี้ยที่กาหนดตลอดอายุของตราสาร
  • 104. Bonds and their Valuation  องค์ประกอบของตราสารหนี้ - อัตราการจ่ายดอกเบี้ย มี 3 แบบ คือ  อัตราดอกเบี้ยแบบตายตัว – จะระบุเป็นอัตราร ้อยละ เทียบกับมูลค่าที่ตราไว ้และจะจ่ายดอกเบี้ยตายตัว ตามที่ระบุไว ้ตลอดอายุของตราสาร ทาให ้เมื่ออัตรา ดอกเบี้ยในตลาดเปลี่ยนแปลงไป เช่น อัตราดอกเบี้ย ในตลาดต่าลง จะทาให ้ราคาของตราสารหนี้นั้นมีราคา สูงขึ้น หรืออัตราดอกเบี้ยในตลาดเพิ่มขึ้น ก็จะทาให ้ ราคาของตราสารหนี้นั้นมีราคาลดลง  อัตราดอกเบี้ยแบบลอยตัว – เป็นตราสารหนี้ที่ระบุ อัตราดอกเบี้ยที่อ ้างอิงกับอัตราดอกเบี้ยอ ้างอิงอัตรา
  • 105. Bonds and their Valuation  องค์ประกอบของตราสารหนี้ – งวด เป็นจานวนครั้งของการจ่ายดอกเบี้ยต่อปี ซึ่งขึ้นอยู่กับ ข ้อกาหนดของตราสารหนี้ โดยส่วนใหญ่จะกาหนดให ้มีการ จ่ายดอกเบี้ยทุกครึ่งปี – กาหนดระยะเวลาชาระดอกเบี้ย (Coupon Date) และ วันครบ กาหนดไถ่ถอน (Maturity Date) ตราสารหนี้จะจ่ายดอกเบี้ย เป็นรายงวด เช่น รายเดือน รายไตรสมาส รายปี แต่ส่วน ใหญ่จะจ่ายทุกครึ่งปี ส่วนวันครบกาหนดไถ่ถอน คือ วัน หมดอายุของตราสารหนี้นั้น ซึ่งผู้ออกจะจ่ายคืนเงินต ้นและ ดอกเบี้ยงวดสุดท ้ายให ้กับผู้ถือ – ชื่อผู้ออก คือ ผู้ออกตราสารหนี้ ซึ่งเป็นลูกหนี้หรือผู้กู้นั่นเอง
  • 106. Bonds and their Valuation  ประเภทของตราสารหนี้ – แบ่งตามผู้ออกตราสารหนี้ – ตราสารหนี้ภาครัฐ  พันธบัตรรัฐบาล – เป็นตราสารหนี้ที่ออกโดย กระทรวงการคลัง ซึ่งมีความสาคัญต่อระบบเศรษฐกิจ อย่างยิ่ง เนื่องจากพันธบัตรรัฐบาลจัดเป็นตราสารที่ ปลอดความเสี่ยงจากการผิดนัดการจ่ายดอกเบี้ยและ เงินต ้น พันธบัตรรัฐบาลจะมีอายุเกิน 1 ปี  ตั๋วเงินคลัง – ตราสารหนี้ระยะสั้นอายุไม่เกิน 1 ปี ที่ รัฐบาลเป็นผู้ออกจาหน่าย เพื่อกู้ยืมเงินระยะสั้นจาก ประชาชนประเภทไม่มีดอกเบี้ย ดังนั้น ราคาเสนอขาย จึงต่ากว่าจานวนเงินตามหน้าตั๋ว ซึ่งทาให ้เกิดเป็น
  • 107. Bonds and their Valuation  ประเภทของตราสารหนี้ – แบ่งตามผู้ออกตราสารหนี้ – ตราสารหนี้ภาครัฐ  พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ – เป็นตราสารหนี้ที่ออกโดย รัฐวิสาหกิจ เช่น การประปานครหลวง การไฟฟ้าฝ่ าย ผลิต วิทยุการบินเป็นต ้น อาจจะเป็นพันธบัตรที่มีการ ค้าประกัน โดยกระทรวงการคลัง หรือเป็นพันธบัตรที่ ไม่มีกระทรวงการคลังค้าปะกัน – ตราสารหนี้ที่ออกโดยภาคเอกชน – เป็นตราสารหนี้ที่ออก โดยภาคธุรกิจ เพื่อระดมทุนไปใช ้ในการดาเนินกิจการ โดยการออกหุ้นกู้อยู่ภายใต ้การกากับดูแลของ ก.ล.ต. จะมีความเสี่ยงที่ผู้ออกจะผิดนัดในการจ่ายดอกเบี้ยและ
  • 108. Bonds and their Valuation  ประเภทของตราสารหนี้ – แบ่งตามสิทธิเรียกร ้อง – หุ้นกู้ด ้อยสิทธิ – หุ้นกู้ที่มีเงื่อนไขกาหนดให ้ผู้ถือได ้รับ สิทธิในการรับชาระหนี้เป็นอันดับรองจากผู้ถือหุ้นกู้ไม่ ด ้อยสิทธิ แต่ยังมีสิทธิสูงกว่าผู้ถือหุ้นบุริมสิทธิและหุ้น สามัญ ทาให ้ต ้นทุนทางการเงินของกิจการที่ออกหุ้นกู้ ด ้อยสิทธิจะเพิ่มขึ้น เพื่อชดเชยกับความเสี่ยงที่ผู้ลงทุน แบกรับมากขึ้น – หุ้นกู้ไม่ด ้อยสิทธิ – หุ้นกู้ที่มีเงื่อนไขกาหนดให ้ผู้ถือได ้รับ สิทธิในการรับชาระหนี้เป็นอันดับแรกจากผู้ออก ในกรณีที่ ผู้ออกหุ้นกู้อยู่นภาวะล ้มละลาย และมีคาสั่งให ้ขาย สินทรัพย์ทอดตลาด เพื่อชาระหนี้คืนให ้แก่เจ ้าหนี้และผู้
  • 109. Bonds and their Valuation  Bond valuation – ตัวอย่าง Mill company ในวันที่ 1 มกราคม 2006 ออก bond กาหนด coupon interest rate ที่ 10% โดย ที่ bond มีอายุ 10 ปี โดยมีราคา Par ที่ $1,000 มีการ จ่ายดอกเบี้ยแบบ Semi-annually จงหามูลค่าของ bond – จาก bond นี้ นักลงทุนจะได ้cash flow ซึ่งสามารถ แบ่งออกได ้เป็น 2 ส่วนคือ  $100 ทุกๆปี (หรือ $50 ทุกๆครึ่งปี) เป็นจานวน 10 ปี หรือ 20 งวด
  • 110. Bonds and their Valuation  Bond valuation – สูตรในการประเมินมูลค่า Bond คือ – VB = INT (PVIFArd,n) + M (PVIFrd,n) INT – ดอกเบี้ยจ่ายในแต่ละครั้ง M – Par value ของ bond คือ 1,000 ส่วน rd = Required return กรณีที่ Required return = Coupon interest rate = 10% – VB = $50 (PVIFA5%,20) + 1,000 (PVIF5%,20) = 50 (12.4622) + 1,000 (0.3769) = 623.11 + 376.9 = 1,000
  • 111. Bonds and their Valuation  Bond valuation – required return อาจจะไม่เท่ากับ coupon rate ซึ่งอาจจะเกิดจากการเปลี่ยนแปลงของ อัตราดอกเบี้ยในตลาด หรือ ความเสี่ยงของบริษัทมี การเปลี่ยนแปลง  หาก required return สูงกว่า coupon rate มูลค่า ของ bond จะมีค่าต่ากว่า par value ในทางกลับกัน เมื่อ required return ต่ากว่า coupon rate bond จะมี มูลค่าสูงกว่าราคา Par
  • 112. Bonds and their Valuation  ตัวอย่าง จากตัวอย่างที่แล ้ว required return คือ 10% แต่หาก required return เปลี่ยนแปลงไป 12% ทบทุกครึ่งปี เพราะอัตราดอกเบี้ยในตลาดสูงขึ้น จะ ได ้ว่า – VB = $50 (PVIFA6%,20) + 1,000 (PVIF6%,20) – 50 (11.4699) + 1,000 (0.3118) – 573.495 + 311.8 = 885.3
  • 113. Bonds and their Valuation  หาก Required return ลดลงเหลือ 8% จะทาให ้ bond value – VB = $50 (PVIFA4%,20) + 1,000 (PVIF4%,20) – 50 (13.5903) + 1,000 (0.4564) – 679.515 + 464.4 = 1,135.9
  • 114. Bonds and their Valuation  Current Yield - อัตราผลตอบแทนจากเดอกเบี้ยที่ได ้รับ ในปีนั้น Current Yield = จานวนดอกเบี้ยที่ได ้รับในปัจจุบัน ราคาปัจจุบันในตลาดของตราสารหนี้  ตัวอย่าง - bond ของ Mill ปัจจุบันมีราคา $1,080 coupon interest rate อยู่ที่ 10% มี Par ที่ 1,000 ระยะเวลา 10 ปี จนถึง สิ้นสุดอายุของ bond
  • 115. Bonds and their Valuation  Yield to Maturity หมายถึง rate of return ของนัก ลงทุนที่จะได ้รับ ถ ้าซื้อ bond ณ ราคาหนึ่งและถือ จนสิ้นสุดอายุของ bond  หากมูลค่าของ bond แตกต่างจากราคา Par จะทาให ้ YTM แตกต่างจาก Coupon interest rate  จาก สมการ VB = INT (PVIFArd,n) + M (PVIFrd,n) YTM ของ bond ก็คือการหา rd นั้นเอง
  • 116. Bonds and their Valuation  ตัวอย่าง bond ของ Mill ปัจจุบันมีราคา $1,080 coupon interest rate อยู่ที่ 10% มี Par ที่ 1,000 ระยะเวลา 10 ปี จนถึงสิ้นสุดอายุของ bond จงหาค่าของ YTM คือการ หาค่า rd นั่นเอง – 1,080 = 100 (PVIFArd,10) + 1,000 (PVIFrd,10) – คานวณจาก Excel = 8.77%
  • 117. Stocks and their Valuation  Common stock valuation ลักษณะสาคัญของ หุ้น สามัญมี 2 ประการคือ – จะได ้รับผลตอบแทนในรูปของเงินปันผล แต่เป็น กรณีที่บริษัทมีกาไรและเลือกที่จะจ่ายเงินปันผล แทนที่จะเก็บไว ้เพื่อการลงทุนในรูปของกาไร สะสม เงินปันผลจึงเป็นไปตามนโยบายของ บริษัท ไม่ได ้มีสัญญาว่าจะต ้องจ่ายทุกปี – หุ้นที่เราถือสามารถนาไปขายต่อได ้โดยหวังว่าจะ ได ้ราคาสูงกว่าราคาที่ซื้อมา เรียกว่า capital gain
  • 118. Stocks and their Valuation  Expected dividend as the basis for stock values – ราคาหุ้นเราคือการหามูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสด ซึ่งก็คือ กระแสของเงินปันผลนั้นเอง ทั้งนี้มูลค่าของ หุ้นปัจจุบันสามารถคานวณได ้จากมูลค่าปัจจุบันของ เงินปันผลที่ไม่มีกาหนดระยะเวลา (คือคิดว่าซื้อหุ้นก็ เพื่อหวังได ้เงินปันผลไปเรื่อยๆไม่มีที่สิ้นสุด)
  • 119. Stocks and their Valuation  Constant growth stock โดยส่วนใหญ่เงินปันผลจะ ถูกคาดว่าจะมีอัตราการเติบโต (Growth) คงที่ สมการข ้างล่างนี้ใช ้ในการหามูลค่าของหุ้นที่มีอัตรา การเติบโตคงที่ (constant growth model)
  • 120. Stocks and their Valuation  ตัวอย่าง Allied food จ่ายเงินปันผลปีนี้ที่ 1.15 (D0) มี required rate of return ที่ 13.4% และนักลงทุน คาดว่าเงินปันผลจะในอัตราคงที่ 8% คานวณหา มูลค่าของหุ้นได ้ดังนี้ – P = 1.15 (1.08) / (0.134-0.08) = 1.242 / 0.054 = 23.00 หมายเหตุ: ค่า rs จะต ้องมากกว่าค่า g เสมอ ถึงใช ้สูตรนี้ได ้
  • 121. Stocks and their Valuation  Dividend and Earnings Growth – โดยปกติการ เติบโตของเงินปันผลนั้นเป็นผลมาจากการเติบโต ของกาไรต่อหุ้น ซึ่งการเติบโตของกาไรนั้นเป็นผล มาจาก – กาไรที่สะสมและนาไปลงทุนเพิ่มเติม – เงินเฟ้อ – ปัญหาคือว่า หากเราต ้องการให ้ราคาหุ้นสูง ก็
  • 122. Stocks and their Valuation  Expected rate of return on a constant growth stock Expected rate of return = Expected dividend yield + Expected growth rate, or capital gain yield r = (D1 / P0) + g
  • 123. Stocks and their Valuation  Expected rate of return on a constant growth stock สมมติว่า ซื้อหุ้นราคา 23 บาท และคาดการณ์ว่าจะมีการ จ่ายเงินปันผล D1 = $1.242 ปีหน้าและมีอัตราการ เจริญเติบโตอยู่ที่ 8% ให ้หา expected rate of return r = ($1.242 / $23) + 8% = 5.4% + 8% = 13.4%
  • 124. Stocks and their Valuation  Valuing stocks expected to grow at a nonconstant rate
  • 125. Stocks and their Valuation  Nonconstant rate  ในการหาราคาหุ้นของ Super Normal Growth ทา ได ้ดังนี้ – หา PV ของเงินปันผลในช่วงที่ไม่ใช่ nonconstant growth แล ้วเอามาบวกกัน – หาราคาที่คาดหวังของหุ้น ณ จุดสิ้นสุดของ nonconstant growth หรือจุดเริ่มต ้นของ normal growth นั่นเอง จากนั้นจึงค่อย discount กลับมา ณ ปีปัจจุบัน – จากนั้นก็รวม PV ของหนึ่งและสองก่อนหน้าจะได ้ราคา
  • 126. Stocks and their Valuation  สมมติว่า – rs คือ 13% – จานวนปีช่วง nonconstant growth คือ 3 ปี – Rate of growth ช่วง nonconstant growth คือ 30% – Rate of growth ช่วง normal growth คือ 8% จากปีที่ 3 ไปปีที่ 4 – D0 = 1.15
  • 127. Stocks and their Valuation PVIF13%,n PV D0 1.15 D1 1.15(1.30) 1.495 0.885 1.323 D2 1.495(1.30) 1.9435 0.783 1.5217 D3 1.9435(1.30) 2.5266 0.693 1.7505 D4 2.5266(1.08) 2.728 4.5952
  • 128. Stocks and their Valuation  หา Terminal Value ปี 3 P3 = D4/(rs-g) P3 = 2.728 / (0.13-0.08) P3 = 54.56 PV = 54.56 X 0.693 = 37.80 มูลค่าหุ้น = 37.80 + 4.5952 = 42.395
  • 129. Stocks and their Valuation  Preferred stock ถือเป็น Hybrid instrument – เหมือน Bond ตรงที่มีการจ่ายเงินปันผลที่แน่นอนก่อนที่ จะจ่ายเงินปันผลแก่หุ้นสามัญ – แต่ผู้บริหารสามารถที่จะไม่จ่ายเงินปันผลนั้นได ้โดยไม่ ต ้องถูกฟ้องล ้มละลาย
  • 130. Stocks and their Valuation  Preferred stock ถือเป็น Hybrid instrument – เงินปันผลของ Preferred stock นั้น เป็น Fixed payment จานวนเท่าๆกันทุกๆปี ตลอดไป ก็เหมือนเป็น perpetuity นั้นเอง Vp = Dp / rp สมมติว่า Preferred stock มีการจ่ายเงินปันผลที่ $10 / ปี และมี required return อยู่ที่ 10.3% หามูลค่าของ Preferred ได ้ดังนี้
  • 132. Cost of capital  จากรูปดังกล่าวจะเห็นว่ามีแหล่งเงินมาจากหลายแหล่ง ซึ่งขึ้นอยู่ กับ โครงสร ้างของทุน หรือ Capital Structure ของแต่ละบริษัท ว่าจะมีสัดส่วนของแหล่งเงินจากแหล่งใดเป็ นจานวนเท่าใด ทั้งนี้ บริษัทจะกาหนดโครงสร ้างของทุนเพื่อให้หุ้นมีราคาสูงสุด เรา เรียกว่า Optimal capital structure  สัดส่วนต้นทุนของหนี้ (wd) ของหุ้นบุริมสิทธิ์(wp) และของหุ้น สามัญ (wc) ถูกนามาคานวณหา weighted average cost of capital (WACC) ซึ่งสามารถคานวณได้ดังนี้
  • 133. Cost of capital  Cost of debt – After-tax cost of debt = Interest rate – Tax saving – = rd – rdT = rd (1-T) บริษัท A กู้เงินได ้ในอัตราดอกเบี้ย 10% และภาษีเงิน ได ้คือ 40% เราสามารถหาต ้นทุนส่วนหนี้ภายหลัง ภาษีได ้คือ = 10% (1-0.4) = 6%
  • 134. Cost of capital  Cost of debt – Cost of debt ต ้องเป็นอัตราดอกเบี้ยบนหนี้ใหม่ ไม่ใช่หนี้ที่มีอยู่แล ้ว เราสนใจในหนี้ใหม่ เนื่องจากเป็นการตัดสินใจในเรื่องของ Capital budgeting decision เช่น การซื้อเครื่องจักรใหม่ ที่ มีผลตอบแทนสูงกว่าต ้นทุนทางการเงินที่นามา ซื้อเครื่องจักร
  • 135. Cost of capital  Cost of preferred stock – Cost of preferred stock (rp) = Dp / Pp – บริษัท A มีหุ้นบุริมสิทธิ์ที่จ่ายเงินปันผล $10 / หุ้น และขายหุ้นบุริมสิทธิ์ราคา $100 / หุ้น ถ ้าเราออกหุ้น บุริมสิทธิ์ใหม่มีต ้นทุน Underwrite คือ 2.5% หรือ $ 2.5 / หุ้น เงินที่ได ้เข ้ามาจริงคือ $97.50 rp = 10 / 97.50 = 10.3%
  • 136. Cost of capital  Cost of preferred stock – แม ้ว่าเงินปันผลของหุ้นบุริมสิทธิ์จะมี จานวนที่แน่นอนคล ้ายกับดอกเบี้ย แต่เงิน ปันผลดังกล่าวไม่สามารถนามาหักภาษี เหมือนดอกเบี้ยได ้ทั้งนี้เนื่องจากเงินปัน ผลที่เกิดขึ้นเราไม่ได ้ถือเป็นค่าใช ้จ่าย เหมือนดอกเบี้ย
  • 137. Cost of capital  Cost of retained earnings – หุ้นสามัญใหม่นั้นสามารถระดมได ้ใน 2 วิธีคือ 1. จากส่วนของกาไรสะสม ต ้นทุนคือ rs 2. จากการออกหุ้นใหม่ ต ้นทุนคือ re หมายเหตุ: โดยปกติ re มากกว่า rs ทั้งนี้เนื่องจาก หุ้นใหม่นั้นจะมีต ้นทุนของการกระจายหุ้น (Flotation cost)
  • 138. Cost of capital  Cost of retained earnings (1) The CAPM Approach Rs = rRF + (RPM) bi สมมติว่าวันนี้ rRF = 6% และ Market risk premium RPM = 5% และ Allied’s beta คือ 1.48 จงหา cost of equity Rs = 6% + (5%) (1.48) = 13.4%
  • 139. Cost of capital  Cost of retained earnings (1) The CAPM Approach rrf คือ อัตราผลตอบแทนจากการลงทุในพันธบัตร รัฐบาล (T-bill yield rate) ที่มีอายุค่อนข ้างยาว มาเป็นค่าประมาณในการคานวณ สาหรับ ประเทศไทย จะใช ้อัตราดอกเบี้ยของพันธบัตร ซึ่งมีอายุยาวที่สุด คือ 16 ปี rm คือ อัตราผลตอบแทนในตลาดหลักทรัพย์ของ แต่ละปี จะได ้จาก
  • 140. Cost of capital  Cost of retained earnings ปัญหา 1. จะใช ้long-term หรือ short-term treasury yield 2. ประมาณค่า b ของบริษัทได ้ยาก 3. หาค่า market risk premium ได ้ยาก
  • 141. Cost of capital  Cost of retained earnings (2) Dividend yield plus growth rate Approach ในการถือหุ้นสามัญ Cash flow ที่ได ้คือ เงินปันผล และ terminal price ยามที่บริษัทถูกซื้อ หาก คาดการณ์ว่า growth ของบริษัทมีอัตราคงที่ เราหา ราคาหุ้นได ้ดังนี้ P = D / (r – g) หรือ r = (D / P ) + Expected g
  • 142. Cost of capital  Cost of retained earnings (2) Dividend yield plus growth rate Approach จากสูตรจะเห็นว่าผลตอบแทนของหุ้นสามัญขึ้นอยู่ กับ 2 ส่วนคือ Dividend yield บวกกับ Capital gain (growth rate) ปัญหา Growth rate หายาก หากบริษัทมีอัตราการ เติบโตไม่แน่นอน ทาอย่างไร
  • 143. Cost of capital  Cost of retained earnings (2) Dividend yield plus growth rate Approach การคานวณหาค่า g จาก retention rate หาได ้ดังนี้ 1. growth rate จากการประมาณของนักวิเคราะห์ หลักทรัพย์ 2. คานวณหาค่า g จาก retention rate 3. การหาค่าเฉลี่ยแบบเลขคณิต 4. การหาค่าเฉลี่ยเรขาคณิต
  • 144. Cost of capital  Cost of retained earnings (2) Dividend yield plus growth rate Approach -การคานวณหาค่า g จาก retention rate g = (Retention rate) (ROE) = (1-Payout rate) (ROE) สมมติว่าบริษัทคาดการณ์ว่าจะมี ROE คงที่อยู่ที่ 13.4% และจ่ายเงินปันผล 40% ของกาไร เราสามารถ หาค่า g ได ้คือ g = (1-0.4) (13.4%) = 8.0%
  • 145. Cost of capital  Cost of retained earnings (2) Dividend yield plus growth rate Approach สมมติว่า หุ้นของ Allied ขายอยู่ที่ $23 และคาดการณ์ ว่าเงินปันผลในปีหน้าอยู่ที่ $1.24 และคาดการณ์อัตรา การเติบโตอยู่ที่ 8% หา required rate of return rs = (D1 / P0 ) + Expected g = (1.24 / 23) + 8.0% = 13.4%
  • 146. Cost of capital  (2) Dividend yield plus growth rate Approach -การคานวณหาค่า g จากค่าเฉลี่ยเลขคณิต ตัวอย่าง – จงคานวณหาอัตราการขยายตัวของ กิจการจากการใช ้ข ้อมูลกาไรของกิจการ โดยใช ้วิธี ค่าเฉลี่ยเลขคณิต ปี กาไร (ล้านบาท) 25x1 100 25x2 105 25x3 111 25x4 123 25x5 134
  • 147. Cost of capital  (2) Dividend yield plus growth rate Approach -การคานวณหาค่า g จากค่าเฉลี่ยเลขคณิต หาค่าเฉลี่ยจะได ้= 7.62% ปี กาไร (ล้าน บาท) g 25x1 100 - 25x2 105 5% 25x3 111 5.71% 25x4 123 10.81% 25x5 134 8.94%
  • 148. Cost of capital  (2) Dividend yield plus growth rate Approach -การคานวณหาค่า g จากค่าเฉลี่ยเรขาคณิต จะได ้สมการ 100 (1+g)4 = 134 (1+g)4 = 1.34 1+g = 1.0759 g = 7.59% ปี กาไร (ล้าน บาท) 25x1 100 25x2 105 25x3 111 25x4 123 25x5 134
  • 149. Cost of capital  Cost of retained earnings (3) Bond-Yield-plus-Premium Approach นักวิเคราะห์คาดการณ์ Cost of common equity โดยการ บวก Risk premium เข ้าไปที่ 3-5% + long term debt เช่น IBM bonds มี yield ที่ 9% Cost of equity ประมาณว่าเท่ากับ = 9% + 4% = 13% หมายเหตุ: ใช้ในกรณีหาโดยวิธีที่ 1 และ 2 ไม่ได้ และไม่ ค่อยนิยมใช้
  • 150. Cost of capital  Cost of new common stock – เป็นกรณีของการออกหุ้นใหม่ที่ออกโดย Investment Banker ซึ่งจะมีค่าใช ้จ่ายในการกระจายหุ้น ที่เรียกว่า Floatation cost ซึ่งมี 2 วิธีสาหรับส่วนเพิ่ม คือ (1) เพิ่ม Floatation cost ไปใน Project cost ในส่วนของ Initial investment cost ซึ่งจะมีผลต่อ IRR และ NPV ซึ่ง จะลดลง เช่น หากลงทุน $100 ล ้านแล ้วมีกระแสเงินสดเข ้ามาในปีที่ 1 = 115 จะมีผลตอบแทนคือ (115/100) -1 = 15% แต่ หากมีต ้นทุนในการกระจายหุ้นอยู่ที่ $2 ล ้าน จะมี ผลตอบแทนเหลือเพียง (115/102) -1 = 12.75%
  • 151. Cost of capital  Cost of new common stock (2) การเพิ่มขึ้นของต ้นทุน (Increase the cost of capital) นา Flotation cost นั้นไปรวมอยู่ในส่วน ของต ้นทุน re = {D1 / [P0 (1-F)]} + g สมมติว่า Allied มี Flotation cost อยู่ที่ 10% หาค่า re ได ้ดังนี้
  • 152. Cost of capital  Weighted Average Cost of Capital (WACC) Allied มี Target Capital Structure อยู่ที่ Debt 45% Preferred Stock อยู่ที่ 2% และ Common Equity อยู่ที่ 53% มี rd = 10% แต่หลังจากหักผลประโยชน์จากภาษี แล ้วจะมีต ้นทุนจริงที่ 10% (0.6) = 6% มี rp = 10.3% และ rc = 13.4% จงหา WACC WACC = (0.45) (10%) (0.6) + (0.02) (10.3%) + (0.53) (13.4%) = 10%
  • 153. Capital Budgeting  Capital Budgeting เป็นชุดของเครื่องมือที่ ใช ้พิจารณาว่าจะลงทุนในโครงการใด โครงการหนึ่งนั้นหรือไม่  ในการลงทุนโครงการใดโครงการหนึ่ง เรา จะเน้นกระแสเงินสดของโครงการลงทุน เป็นหลัก
  • 154. Capital Budgeting  The net present value (NPV) – how much a potential project will contribute to shareholder wealth Expected after tax net cash flow (CFt) Year (t) Project S Project L 0 -1,000 -1,000 1 500 100 2 400 300 3 300 400 4 100 675
  • 155. Capital Budgeting  สมมติว่า cost of capital อยู่ที่ 10% Year CFs PVIF10%,n PV 0 -1,000 -1,000 1 500 .909 454.5 2 400 .826 330.4 3 300 .751 225.3 4 100 .683 68.3 NPVs 78.5
  • 156. Capital Budgeting  สมมติว่า cost of capital อยู่ที่ 10% Year CFL PVIF10%,n PV 0 -1,000 -1,000 1 100 .909 90.9 2 300 .826 247.8 3 400 .751 300.4 4 675 .683 461.025 NPVL 100.125
  • 157. Capital Budgeting  จากผลลัพธ์ที่ได ้หากเป็นกรณีเป็น Mutually exclusive คือ ต ้องเลือกเอาโครงการใดโครงการหนึ่ง เพียงโครงการเดียว ก็เลือกโครงการ L เพราะมี NPV ที่มากกว่าโครงการ S  แต่หากทั้งสองโครงการเป็นอิสระแก่กัน หรือ Independent projects ก็ยอมรับทั้งสองโครงการเพราะ มีค่า NPV เป็นบวก
  • 158. Capital Budgeting  Internal rate of return (IRR) – the discount rate that forces the project’s NPV to equal to zero หากเราไม่มีเครื่องคิดเลขคานวณทางการเงินหรือ โปรแกรม ต ้องทาการ Trial and error ว่า discount rate นั้นคือเท่าใด แต่ในชั้นนี้ จะแสดงการคานวณผ่านโปรแกรม Excel
  • 159. Capital Budgeting  Internal rate of return (IRR)
  • 160. Capital Budgeting  Internal rate of return (IRR)  จากการคานวณผ่าน excel IRRs = 14.49% และ IRRL = 13.55% Expected after tax net cash flow (CFt) Year (t) Project S Project L 0 -1,000 -1,000 1 500 100 2 400 300 3 300 400 4 100 675
  • 161. Capital Budgeting  Internal rate of return (IRR) The IRR is the project’s expected rate of return. If this return exceeds the cost of funds used to finance the project, then the excess goes to the firm’s stockholders.  ปกติ NPV อันเดียวก็ดูได ้แล ้ว แต่ที่นิยม IRR เพราะมันเหมือน เป็นอัตราผลตอบแทนที่คาดการณ์ ซึ่งเราดูได ้ง่ายว่าโครงการ นั้นมีอัตราผลตอบแทนเท่าไร (เข ้าใจง่ายกว่า NPV ในสายตา คนทั่วๆไป)
  • 162. Capital Budgeting  Comparison of the NPV and IRR Methods
  • 163. Capital Budgeting  Comparison of the NPV and IRR Methods
  • 164. Capital Budgeting  Comparison of the NPV and IRR Methods (1) Independent Projects – NPV and IRR criteria always lead to the same accept/reject decision (2) Mutually Exclusive Projects - กรณีที่ cost of capital มากกว่า cross over rate ไม่มีความขัดแย ้งระหว่าง NPV กับ IRR แต่หาก cost of capital น้อยกว่า cross over rate จะมี ความขัดแย ้งเกิดขึ้น (ดูกราฟที่ 11-3) “the NPV is generally superior”
  • 165. Capital Budgeting  Multiple IRRs ดูลักษณะของ Cash flows สองประเภทนี้ Normal - + + + + + or - - - + + + + + Nonnormal - + + + + - or - + + + - + + +