SlideShare a Scribd company logo
1 of 46
Download to read offline
ศ. นพ. สันต์ หัตถีรัตน์
• สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 
(Association of South-East Asian Nations) 
• ตั้งขึ้นเมื่อ 8 ส.ค.2510 โดย “ปฏิญญากรุงเทพ” 
(Bangkok Declaration)
1. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (อินโดนีเซีย) 
2. {สหพันธรัฐ}มาเลเซีย (มาเลเซีย) 
3. สาธารณรัฐสิงคโปร์ (สิงคโปร์) 
4. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (ฟิลิปปินส์) 
5. ราชอาณาจักรไทย (ไทย)
6. เนการาบรูไนดารุสซาลาม (บรูไน) พ.ศ.2527 
7. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (เวียดนาม) พ.ศ.2538 
8. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว(ลาว) พ.ศ.2540 
9. สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ (พม่า) พ.ศ.2540 
10. ราชอาณาจักรกัมพูชา (เขมร) พ.ศ.2542
1. รัฐที่เตรียมเป็นสมาชิก (candidate member 
state) = รัฐเอกราชปาปัวนิวกินี 
2. รัฐสังเกตการณ์ (observer state) = สาธารณรัฐ 
ประชาธิปไตย ติมอร์เลสเต
ปาปัว 
นิวกินี 
ติมอร์เลสเต
• ให้จัดตั้ง “ประชาคมอาเซียน” (ASEAN Community) 
ให้สาเร็จใน พ.ศ.2563 
• ต่อมาเลื่อนเป็น พ.ศ.2558
1. “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” 
(Asean Economic Community, AEC) 
2. “ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน” 
(Asean Political-Security Community, APSC) 
3. “ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน” 
(Asean Socio-Cultural Community, ASCC)
ครั้งที่ 13 ที่สิงคโปร์ เมื่อ 20 พ.ย.2550 
ให้แผนงาน ASCC พ.ศ. 2552-2558 ดังนี้ 
A. การพัฒนามนุษย์ (Human development) 
B. สวัสดิการและการคุ้มครองสังคม 
(Social welfare & protection)
C. สิทธิและความเป็นธรรมทางสังคม 
(Social justice & rights) 
D. การดารงความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม 
(Ensuring environmental sustainability) 
E. การลดช่องว่างการพัฒนา 
(Narrowing the development gap)
B1. การบรรเทาความยากจน (Poverty alleviation) 
B2. การสร้างเครือข่ายความปลอดภัยทางสังคม และการป้องกัน 
ผลกระทบด้านลบจากการรวมกันของอาเซียน และระบบ 
โลกาภิวัตน์ (Social safety net & protection from the 
negative impacts of integration & Globalization) 
B3. การส่งเสริมความปลอดภัยด้านอาหาร 
(Enhancing food security & safety)
B4. การเข้าถึงการดูแลสุขภาพและวิถีชีวิตสุขภาพ 
(Access to health care & healthy lifestyles) 
B5. การเพิ่มความสามารถในการควบคุมโรคติดต่อ 
(Improving capability to control communicable diseases) 
B6. การทาให้อาเซียนปลอดยาเสพติด (Ensuring a drug-free ASEAN) 
B7. การสร้างรัฐให้ “อึด-ฮึด-สู้”ภัยพิบัติ จนประชาคมปลอดภัยเพิ่มขึ้น 
(Building disaster-resilient nations & safer communities)
• ในที่นี้ คือ “ระบบการแพทย์ฉุกเฉินไทย” ตาม “พ.ร.บ. 
การแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ.2551” 
• “การแพทย์ฉุกเฉิน” = การปฏิบัติการฉุกเฉิน การศึกษา 
การฝึกอบรม การค้นคว้า และการวิจัย เกี่ยวกับ การ 
ประเมิน การจัดการ การบาบัดรักษาผู้ป่วยฉุกเฉิน และ 
การป้องกันการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นฉุกเฉิน
• คือ บุคคลซึ่งได้รับการบาดเจ็บ หรือ มีอาการป่วยกะทันหัน 
ซึ่งเป็นอันตรายต่อชีวิตหรือการทางานของอวัยวะสาคัญ 
จาเป็นต้องได้รับการประเมิน การจัดการ และการบาบัดรักษา 
อย่างทันท่วงที เพื่อป้องกันการเสียชีวิตหรือการรุนแรงขึ้น 
ของการบาดเจ็บนั้น
• พ.ศ.2453 พ่อค้าจีนกลุ่มหนึ่งสร้าง “อาคารป่อเต็กต้งึ” เพื่อ 
ช่วยผู้ยากไร้ เป็น “มูลนิธิป่อเต็กตึ้ง” พ.ศ.2480, 2500ช่วย 
เก็บ/ฝังศพไร้ญาติ 2510ช่วย“กู้คน” (กู้ภัย)ในอุบัติเหตุ และ 
นาส่ง ร.พ. ต่อมามีมูลนิธิอื่นๆ เช่น ร่วมกตัญญู พ.ศ.2513 
• พ.ศ.2491 ร.พ. กลาง ตั้ง “แผนกอุปัทวเหตุ” 
• พ.ศ.2510 ร.พ. จุฬาฯ ตั้ง 
“ห้องฉุกเฉิน”
• พ.ศ.2515 “สมเด็จย่า”ทรงตั้งหน่วย “แพทย์อาสาทาง 
อากาศ” ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น “งานหน่วยแพทย์ทาง 
วิทยุ” ซึ่งอาจถือว่า เป็นต้นแบบแห่งการแพทย์ฉุกเฉิน 
ทางวิทยุในระดับพลเรือนของไทยได้
• พ.ศ.2523 มี “ศูนย์ส่งกลับและรถพยาบาล กรมตารวจ” 
เพื่อช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ โดยทาแผนร่วมมือกับ ร.พ. 
ต่างๆในกรุงเทพฯ โดยใช้โทรฯสายด่วน 1691
• พ.ศ.2527 พล.อ.อาทิตย์ กาลังเอก พัฒนากองกาลังรักษา 
พระนคร ตั้งโทรฯสายด่วน 123 และหน่วยรถพยาบาล 
ฉุกเฉิน 40 คัน ให้บริการชาวกรุงเทพฯ ถึง พ.ศ.2529 
• พ.ศ.2532 กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้งบฯ 
150 ล้านบาท สร้างอาคารและระบบ EMS ซึ่งเปิด 
ดาเนินการ พ.ศ.2536
• พ.ศ.2535 ร.พ. ศูนย์ขอนแก่น เริ่มจัดตั้งศูนย์อุบัติเหตุ 
(Trauma & Critical Care Center) โดยได้รับความ 
ช่วยเหลือจากญี่ปุ่น (JICA) ใน พ.ศ.2536 เปิดหน่วย 
กู้ชีพให้การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ 
ณ จุดเกิดเหตุด้วย
• พ.ศ.2536 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทาน 
ทรัพย์ส่วนพระองค์ 38 ล้านบาท ให้กองบัญชาการ 
ตารวจนครบาล จัดตารวจจราจรเคลื่อนที่เร็วใน 
โครงการพระราชดาริ “ตารวจช่วยผู้ป่วยฉุกเฉิน”
• พ.ศ.2537 กรุงเทพมหานครโดยวชิรพยาบาล ตั้ง 
“SMART”(Surgico-Medical Ambulance & Rescue 
Team) ในเดือน ธันวาคม โดยใช้โทรฯสายด่วน 1554
• พ.ศ.2538 กรมการแพทย์ สธ. เปิด “ศูนย์กู้ชีพนเรนทร” 
อย่างเป็นทางการในเดือน มีนาคม ที่ รพ.ราชวิถี และใน 
ปีต่อมา ที่ รพ.เลิดสิน และ รพ.นพรัตนราชธานี โดยใช้ 
โทรฯสายด่วน 1669
• พ.ศ.2540 ตั้ง “ชมรมเวชศาสตร์ฉุกเฉิน” 
• พ.ศ.2542 สวรส.ให้ทุนชมรมฯ ศึกษา “การปฏิรูป 
ระบบสุขภาพยามฉุกเฉิน” เสนอต่อ สธ. พ.ศ.2543 
• พ.ศ.2544 ตั้ง “สมาคมเวชศาสตร์ฉุกเฉิน” 
• พ.ศ.2545 สธ. ตั้ง “สานักงานระบบบริการการแพทย์ 
ฉุกเฉิน” (ศูนย์นเรนทร สธ.) เพื่อพัฒนาระบบและให้มี 
ศูนย์ฯในทุกจังหวัด โดยได้งบ  10 บาท/หัวประชากร
• พ.ศ.2546 แพทยสภาอนุมัติ ให้มีการฝึกอบรมแพทย์ 
เฉพาะทางสาขาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน โดยเป็น “สาขาขาด 
แคลน ประเภทที่ 1” 
• พ.ศ.2547 เปิดการฝึกอบรม “แพทย์ฉุกเฉิน” (หลักสูตร 
3 ปี) รุ่นแรก ในสถาบันฝึกอบรม 9 แห่ง และ 
“พยาบาลฉุกเฉิน” (หลักสูตร 4 เดือน) รุ่นแรก ใน 
สถาบันฝึกอบรม 1 แห่ง
• พ.ศ. 2549 สมาคมเวชศาสตร์ฉุกเฉินฯ เป็นสมาชิก 
IFEM ( International Federation for 
Emergency Medicine) และ ASEM ( Asian 
Society for Emergency Medicine )
2554 ACEM 2011
2551 พ.ร.บ. การแพทย์ฉุกเฉิน กพฉ. และ สพฉ. 
กรมการแพทย์ + สมาคมฯ เปิดอบรม MERT 
2554 ได้รางวัลชนะเลิศทมี่าเลเซีย
2554 การช่วยผู้ประสบภัยกับ AMDA
29
2555 ฝึก MERT หลายจังหวัด
31
• ดีทสีุ่ดในอาเซียน 
• พ.ศ.2503 เริ่มมีบริการรถพยาบาลฉุกเฉิน 
• พ.ศ.2527 อนุมัติแพทย์เฉพาะทางฉุกเฉิน 
• พ.ศ.2532 ฝึกอบรมแพทย์ฉุกเฉิน ซึ่งปัจจุบันสามารถต่อยอดได้ 
เช่น เด็ก, หัวใจ, การบาดเจ็บ, การถูกพิษ, นอก ร.พ., ภัยพิบัติ 
• ผู้ป่วยฉุกเฉินจะค้างอยู่ในห้องฉุกเฉินไม่เกิน 6 ชม.ในทุก ร.พ. 
• ผู้ป่วยไม่ฉุกเฉินมาใช้บริการห้องฉุกเฉิน ลดลงจาก 50% เหลือ 10% 
• มีโทรศัพท์ฉุกเฉิน 995
• พ.ศ.2515 มีรถพยาบาลฉุกเฉิน และโทรฯฉุกเฉิน 999 
• พ.ศ.2541 เริ่มผลิตแพทย์ฉุกเฉิน โดย รร. แห่งหนึ่ง 
• พ.ศ.2554 รร. 3 แห่ง รวมเป็น “วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉิน”
• มีเกาะจานวนมาก ระบบฉุกเฉินจึงลาบาก 
• มีโทรฯฉุกเฉิน 16-911 และบริการรถพยาบาลฉุกเฉิน 
• มีวิทยาลัยการแพทย์ฉุกเฉินตั้งแต่ พ.ศ.2531 แต่เพงิ่ได้รับ 
อนุมัติให้เป็นแพทย์เฉพาะทางสาขาย่อยของสาขาเวชศาสตร์ 
ครอบครัว ใน พ.ศ.2554 และมีการผลิตบุคลากรด้าน 
การแพทย์ฉุกเฉินอื่นๆด้วย
• มีเกาะจานวนมาก ระบบฉุกเฉินจึงลาบาก 
• ยังไม่มีระบบที่เป็นเอกภาพ ทั้งนอกและในโรงพยาบาล 
• มีโทรศัพท์ฉุกเฉิน 118 
• แต่รถพยาบาลฉุกเฉินยังบริการได้ไม่ดี
• ประเทศเล็ก รวย และมีรัฐสวัสดิการ 
• มีโทรฯฉุกเฉิน 991 ให้บริการรถพยาบาลฉุกเฉิน 
• มีโรงพยาบาลใหญ่ให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง
• มีโทรฯฉุกเฉิน 115 และบริการรถพยาบาลฉุกเฉินในเมือง 
ใหญ่ๆ ต้งัแต่ พ.ศ.2544 
• อนุมัติให้แพทย์ฉุกเฉินเป็นแพทย์เฉพาะทางและเริ่มผลิตใน 
พ.ศ.2553 โดยวิทยาลัยแพทย์เว้(Hue College of Medicine) 
ปัจจุบัน กรมการแพทย์ สธ. ไทย ช่วยฝึก EP / EN ให้
• มีบริการรถพยาบาลฉุกเฉินใน พ.ศ.2540 
• มีโทรฯฉุกเฉิน 119 ใน พ.ศ.2546 
• มีการช่วยเหลือด้านการแพทย์ บุคลากรและรถฉุกเฉินจาก 
ญี่ปุ่น ใน พ.ศ.2551
• ยังไม่มีระบบฉุกเฉินที่ชัดเจนในภาครัฐ พม่าเริ่มฝึกแพทย์ 
ฉุกเฉินระยะสั้น โดยแพทย์ต่างประเทศ ในพ.ศ. 2554
1. ด้านผู้ป่วยฉุกเฉิน จะเพิ่มขึ้น ทั้งผู้ป่วยที่รวยและยากจน 
2. ด้านบุคลากร จะ “สมองไหล”ไปนอกน้อย แต่ “สมองไหล” 
จากรัฐสู่เอกชน จะเพิ่มขึ้น ทาให้ รพ. และบุคลากรภาครัฐ 
ลาบากขึ้น แพทย์-พยาบาลจากอาเซียนอื่นจะมาทางานใน 
โรงพยาบาลเอกชนไทยมากขึ้น เพราะ“ข้อตกลงยอมรับ 
ร่วมกัน” (Mutual Recognition Arrangements) สาหรับ 
พยาบาล พ.ศ. 2549, แพทย์และทันตแพทย์ พ.ศ. 2552 
จึงต้องวางแผนรับมือในด้านทรัพยากรทั้งบุคคลและวัตถุ
Prince Philip tells the nurse: 
"The Philippines must be half empty 
- you're all here running the NHS“ 
ข่าว BBC 20 ก.พ. 2556
3. ด้านเวชภัณฑ์และอุปกรณ์ จะมากขึ้นและซับซ้อนขึ้น ทาให้ 
ค่าใช้จ่ายสูงขึ้นๆอย่างรวดเร็ว เพราะระบบบริโภคนิยมและ 
การแพทย์พาณิชย์ ควรวางแผนป้องกันแต่เนิ่นๆ 
4. ด้านความสัมพันธ์กับผู้ป่วยและญาติ จะขัดแย้งกันมากข้นึ 
และรุนแรงขึ้น เพราะ การลดลงของคุณธรรมของทั้งผู้ให้ 
และผู้รับบริการ การเรียกร้องสิทธิโดยไม่คิดถึงส่วนรวม 
ระบบสื่อสังคม(online) เป็นต้น ควรปรับปรุง/ป้องกัน
5. ด้านวิชาการ ควรแลกเปลี่ยนความรู้ ความชานาญ 
ประสบการณ์ และบุคลากร ระหว่างกัน เพื่อการศึกษา 
การฝึกอบรม การค้นคว้า การวิจัย และอื่นๆ 
6. ด้านการเป็นเครือข่ายกัน ควรใกล้ชิดสนิทสนมกันมากขึ้น 
สามารถวางแผนร่วมกันและช่วยเหลือกันในภาวะภัยพิบัติ 
ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพมิ่ข้นึ เป็นต้น
มุมมองของคนอื่นเกี่ยวกับคนไทย 
• Masayasu Hosumi ประธาน JETRO บอกส่อืไทยว่า 
ไทยอาจไม่เป็นที่น่าสนใจในการลงทุนของญี่ปุ่นแล้ว 
เพราะคนไทยมี “จุดอ่อน 10 อย่าง” 
1. รู้จักหน้าท่ขีองตนต่า มาก โดยเฉพาะหน้าที่ต่อสังคม คือ 
เป็นประเภทมือใครยาวสาวได้เอา ทา ให้ชาติล้าหลังไปเรื่อยๆ 
2. การศึกษายังไม่ทันสมัย รู้แต่ภาษาไทย ไม่มั่นใจในตัวเอง 
ไม่กล้าแสดงออก จึงตามหลังชาติอื่น 
3. มองอนาคตไม่เป็น กว่า 70% ทางานไปวันๆ ไร้อนาคต
4. ไม่ค่อยรับผิดชอบต่อหน้าที่ ไม่ยึดสัญญา อย่างเคร่งครัด 
5. กระจายความเจริญไม่ดี คน 60-70% ที่อยู่ไกลขาดโอกาส 
6. บังคับใช้กฎหมายไม่เข้มแข็งและไม่ต่อเนื่อง เลือกปฏิบัติ 
7. อิจฉาตาร้อน เป็นศรีธนญชัย ล้มบนฟูก เอาแต่ตัวรอด 
8. NGO ค้านลูกเดียว ทา ให้ไทยเสียโอกาสบ่อย ที่ดีๆมีน้อย 
9. ไม่พร้อมในเวทีโลก เพราะขาดทักษะและทีมเวิร์ก 
10. เลีย้งลูกไม่เป็น เด็กไม่อดทน ช่วยตนเองไม่ได้ ไม่คิดถึง 
สังคม ไม่เข้มแข็ง ขี้โรคทางจิตใจ ( ไทยโพสต์ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๗ )
ขอบคุณที่ตงั้ใจฟังครับ 
คำ ถำม / ขอ้คิดเห็น 
46

More Related Content

Viewers also liked

Interhospital transfer
Interhospital transfer Interhospital transfer
Interhospital transfer taem
 
การพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
การพัฒนาสารสนเทศ Thai referการพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
การพัฒนาสารสนเทศ Thai referLampang Hospital
 
ACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designtaem
 
ACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationtaem
 
(เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 3)
(เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 3)(เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 3)
(เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 3)Sambushi Kritsada
 
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...taem
 
สื่อเพื่อการศึกษาเรื่อง รู้ทัน Tense ภาษาอังกฤษ
สื่อเพื่อการศึกษาเรื่อง รู้ทัน Tense ภาษาอังกฤษสื่อเพื่อการศึกษาเรื่อง รู้ทัน Tense ภาษาอังกฤษ
สื่อเพื่อการศึกษาเรื่อง รู้ทัน Tense ภาษาอังกฤษJane Suttida
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAtaem
 
Skin introduction (Part 1- Epidermis)
Skin introduction (Part 1- Epidermis)Skin introduction (Part 1- Epidermis)
Skin introduction (Part 1- Epidermis)Theresa Mau Mei
 
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการ แพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการแพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการแพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการ แพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...Dr.Suradet Chawadet
 
Diabetic related infection and management
Diabetic related infection and managementDiabetic related infection and management
Diabetic related infection and managementgroup7usmkk
 
Liver Trauma & Concepts in Abdominal Trauma Lecture
Liver Trauma & Concepts in Abdominal Trauma LectureLiver Trauma & Concepts in Abdominal Trauma Lecture
Liver Trauma & Concepts in Abdominal Trauma LectureDK Sharma
 

Viewers also liked (20)

Interhospital transfer
Interhospital transfer Interhospital transfer
Interhospital transfer
 
Ch103 part periodic table
Ch103 part periodic tableCh103 part periodic table
Ch103 part periodic table
 
บทนำและเวกเตอร์
บทนำและเวกเตอร์บทนำและเวกเตอร์
บทนำและเวกเตอร์
 
การพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
การพัฒนาสารสนเทศ Thai referการพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
การพัฒนาสารสนเทศ Thai refer
 
การเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรงการเคลื่อนที่แนวตรง
การเคลื่อนที่แนวตรง
 
ACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED designACTEP2014: ED design
ACTEP2014: ED design
 
1ธรรมชาติของฟิสิกส์
1ธรรมชาติของฟิสิกส์1ธรรมชาติของฟิสิกส์
1ธรรมชาติของฟิสิกส์
 
ACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulationACTEP2014: What is simulation
ACTEP2014: What is simulation
 
Wound management
Wound  managementWound  management
Wound management
 
(เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 3)
(เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 3)(เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 3)
(เกณฑ์คุณภาพเครือข่ายบริการปฐมภูมิ 3)
 
Present ward muk1
Present ward muk1Present ward muk1
Present ward muk1
 
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
ACTEP2014: The routine to research R2R concept your way out of a research dea...
 
Accounting software
Accounting softwareAccounting software
Accounting software
 
วิจัย
วิจัย วิจัย
วิจัย
 
สื่อเพื่อการศึกษาเรื่อง รู้ทัน Tense ภาษาอังกฤษ
สื่อเพื่อการศึกษาเรื่อง รู้ทัน Tense ภาษาอังกฤษสื่อเพื่อการศึกษาเรื่อง รู้ทัน Tense ภาษาอังกฤษ
สื่อเพื่อการศึกษาเรื่อง รู้ทัน Tense ภาษาอังกฤษ
 
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQAACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
ACTEP2014: ED accreditation HA JCI TQA
 
Skin introduction (Part 1- Epidermis)
Skin introduction (Part 1- Epidermis)Skin introduction (Part 1- Epidermis)
Skin introduction (Part 1- Epidermis)
 
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการ แพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการแพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการแพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
การพัฒนาระบบสุขภาพอำเภอกับการบูรณาการ แพทย์แผนไทยในกลไกทีมหมอครอบครัว เขตสุข...
 
Diabetic related infection and management
Diabetic related infection and managementDiabetic related infection and management
Diabetic related infection and management
 
Liver Trauma & Concepts in Abdominal Trauma Lecture
Liver Trauma & Concepts in Abdominal Trauma LectureLiver Trauma & Concepts in Abdominal Trauma Lecture
Liver Trauma & Concepts in Abdominal Trauma Lecture
 

Similar to ACTEP2014: ASCC challenges in EM

Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1taem
 
เวชศาสตร์ฉุกเฉินก้าวไกลอย่างไร...ศ.สันต์ หัตถีรัตน์
เวชศาสตร์ฉุกเฉินก้าวไกลอย่างไร...ศ.สันต์  หัตถีรัตน์เวชศาสตร์ฉุกเฉินก้าวไกลอย่างไร...ศ.สันต์  หัตถีรัตน์
เวชศาสตร์ฉุกเฉินก้าวไกลอย่างไร...ศ.สันต์ หัตถีรัตน์taem
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5taem
 
บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...
บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...
บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...อบต. เหล่าโพนค้อ
 
สัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉิน
สัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉินสัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉิน
สัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉินtaem
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4taem
 
Aip newsletters vol.11 3rd mar - apr 2011
Aip newsletters vol.11 3rd mar - apr 2011Aip newsletters vol.11 3rd mar - apr 2011
Aip newsletters vol.11 3rd mar - apr 2011Amarin Uttama
 
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉินTAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉินtaem
 
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแกนวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแกtaem
 
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557Utai Sukviwatsirikul
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ โปรตอน บรรณารักษ์
 
Guideline for ischemic heart disease 2104
Guideline for ischemic heart disease 2104Guideline for ischemic heart disease 2104
Guideline for ischemic heart disease 2104Utai Sukviwatsirikul
 
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย Phichai Na Bhuket
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินtaem
 

Similar to ACTEP2014: ASCC challenges in EM (20)

Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1Thai Emergency Medicine Journal no. 1
Thai Emergency Medicine Journal no. 1
 
เวชศาสตร์ฉุกเฉินก้าวไกลอย่างไร...ศ.สันต์ หัตถีรัตน์
เวชศาสตร์ฉุกเฉินก้าวไกลอย่างไร...ศ.สันต์  หัตถีรัตน์เวชศาสตร์ฉุกเฉินก้าวไกลอย่างไร...ศ.สันต์  หัตถีรัตน์
เวชศาสตร์ฉุกเฉินก้าวไกลอย่างไร...ศ.สันต์ หัตถีรัตน์
 
Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5Thai Emergency Medicine Journal 5
Thai Emergency Medicine Journal 5
 
บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...
บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...
บทบาทบุคลากร กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นส่วนภูมิภาคเพื่อการขับเคลื่อนงานการแ...
 
สัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉิน
สัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉินสัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉิน
สัมนาเครือข่ายพยาบาลฉุกเฉิน
 
1.บทนำ
1.บทนำ1.บทนำ
1.บทนำ
 
1.บทนำ
1.บทนำ1.บทนำ
1.บทนำ
 
Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4Thai Emergency Medicine Journal 4
Thai Emergency Medicine Journal 4
 
Asa kilantham
Asa kilanthamAsa kilantham
Asa kilantham
 
Aip newsletters vol.11 3rd mar - apr 2011
Aip newsletters vol.11 3rd mar - apr 2011Aip newsletters vol.11 3rd mar - apr 2011
Aip newsletters vol.11 3rd mar - apr 2011
 
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉินTAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
TAEM11: การพัฒนาและธำรงรักษาบุคลากรฉุกเฉิน
 
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
(20 พ.ค 56) service profile (ส่งเจี๊ยบ)
 
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
NSTDA Newsletter ปีที่ 7 ฉบับที่ 5 ประจำเดือนสิงหาคม 2564
 
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแกนวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
นวัตกรรมกรรมพยาบาล ทีมโรงพยาบาลทับสะแก
 
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
แนวเวชปฏิบัติ เพื่อการวินิจฉัยและการดูแลรักษา โรคข้ออักเสบรูมาตอยด 2557
 
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
คู่มือมาตรฐานคลินิกผู้สูงอายุคุณภาพ
 
Guideline for ischemic heart disease 2104
Guideline for ischemic heart disease 2104Guideline for ischemic heart disease 2104
Guideline for ischemic heart disease 2104
 
Epilepsy
EpilepsyEpilepsy
Epilepsy
 
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
ปัญหาและความท้าทายของระบบการศึกษาไทย
 
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉินTAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
TAEM11: แนวทางการธำรงรักษาบุคลากร การแพทย์ฉุกเฉิน
 

More from taem

ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563taem
 
Thai EMS legislation
Thai EMS legislationThai EMS legislation
Thai EMS legislationtaem
 
ACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agendataem
 
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencyACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencytaem
 
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundtaem
 
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014taem
 
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical useACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical usetaem
 
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...taem
 
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change taem
 
ACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementtaem
 
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCIACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCItaem
 
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014taem
 
ACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zoneACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zonetaem
 
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical careACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical caretaem
 
ACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast tracktaem
 
ACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directorACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directortaem
 
ACTEP2014: Ceiling supply unit in ED
ACTEP2014: Ceiling supply unit in EDACTEP2014: Ceiling supply unit in ED
ACTEP2014: Ceiling supply unit in EDtaem
 
ACTEP2014: Aero medical transportation from experience to innovation
ACTEP2014: Aero medical transportation from experience to innovationACTEP2014: Aero medical transportation from experience to innovation
ACTEP2014: Aero medical transportation from experience to innovationtaem
 
ACTEP2014: 21 century teaching skill
ACTEP2014: 21 century teaching skillACTEP2014: 21 century teaching skill
ACTEP2014: 21 century teaching skilltaem
 
Sedation monitoring and post sedation recovery and discharge
Sedation monitoring and post sedation recovery and dischargeSedation monitoring and post sedation recovery and discharge
Sedation monitoring and post sedation recovery and dischargetaem
 

More from taem (20)

ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
ประชุมใหญ่สามัญประจำปี วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉินแห่งประเทศไทย 2562-2563
 
Thai EMS legislation
Thai EMS legislationThai EMS legislation
Thai EMS legislation
 
ACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 AgendaACTEP2014 Agenda
ACTEP2014 Agenda
 
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergencyACTEP2014: What's new in endocrine emergency
ACTEP2014: What's new in endocrine emergency
 
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasoundACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
ACTEP2014: Upcoming trend of lung ultrasound
 
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
ACTEP2014: Therapeutic hypothermia for ACTEP 2014
 
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical useACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
ACTEP2014: Sepsis marker in clinical use
 
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
ACTEP2014: Symp Experience in STEMI & NSTEMI & UA ACS cases in ED Ramathibodi...
 
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change ACTEP2014: Sepsis management has anything change
ACTEP2014: Sepsis management has anything change
 
ACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk managementACTEP2014: Patient safety & risk management
ACTEP2014: Patient safety & risk management
 
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCIACTEP2014: How to set up guideline for MCI
ACTEP2014: How to set up guideline for MCI
 
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
ACTEP2014: How to maximise resuscitation in trauma 2014
 
ACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zoneACTEP2014: Hot zone
ACTEP2014: Hot zone
 
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical careACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
ACTEP2014: Hemodynamic US in critical care
 
ACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast trackACTEP2014: Fast track
ACTEP2014: Fast track
 
ACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED directorACTEP2014 ED director
ACTEP2014 ED director
 
ACTEP2014: Ceiling supply unit in ED
ACTEP2014: Ceiling supply unit in EDACTEP2014: Ceiling supply unit in ED
ACTEP2014: Ceiling supply unit in ED
 
ACTEP2014: Aero medical transportation from experience to innovation
ACTEP2014: Aero medical transportation from experience to innovationACTEP2014: Aero medical transportation from experience to innovation
ACTEP2014: Aero medical transportation from experience to innovation
 
ACTEP2014: 21 century teaching skill
ACTEP2014: 21 century teaching skillACTEP2014: 21 century teaching skill
ACTEP2014: 21 century teaching skill
 
Sedation monitoring and post sedation recovery and discharge
Sedation monitoring and post sedation recovery and dischargeSedation monitoring and post sedation recovery and discharge
Sedation monitoring and post sedation recovery and discharge
 

ACTEP2014: ASCC challenges in EM

  • 1. ศ. นพ. สันต์ หัตถีรัตน์
  • 2. • สมาคมประชาชาติแห่งเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (Association of South-East Asian Nations) • ตั้งขึ้นเมื่อ 8 ส.ค.2510 โดย “ปฏิญญากรุงเทพ” (Bangkok Declaration)
  • 3. 1. สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (อินโดนีเซีย) 2. {สหพันธรัฐ}มาเลเซีย (มาเลเซีย) 3. สาธารณรัฐสิงคโปร์ (สิงคโปร์) 4. สาธารณรัฐฟิลิปปินส์ (ฟิลิปปินส์) 5. ราชอาณาจักรไทย (ไทย)
  • 4. 6. เนการาบรูไนดารุสซาลาม (บรูไน) พ.ศ.2527 7. สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (เวียดนาม) พ.ศ.2538 8. สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว(ลาว) พ.ศ.2540 9. สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ (พม่า) พ.ศ.2540 10. ราชอาณาจักรกัมพูชา (เขมร) พ.ศ.2542
  • 5. 1. รัฐที่เตรียมเป็นสมาชิก (candidate member state) = รัฐเอกราชปาปัวนิวกินี 2. รัฐสังเกตการณ์ (observer state) = สาธารณรัฐ ประชาธิปไตย ติมอร์เลสเต
  • 7. • ให้จัดตั้ง “ประชาคมอาเซียน” (ASEAN Community) ให้สาเร็จใน พ.ศ.2563 • ต่อมาเลื่อนเป็น พ.ศ.2558
  • 8. 1. “ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน” (Asean Economic Community, AEC) 2. “ประชาคมการเมืองและความมั่นคงอาเซียน” (Asean Political-Security Community, APSC) 3. “ประชาคมสังคมและวัฒนธรรมอาเซียน” (Asean Socio-Cultural Community, ASCC)
  • 9. ครั้งที่ 13 ที่สิงคโปร์ เมื่อ 20 พ.ย.2550 ให้แผนงาน ASCC พ.ศ. 2552-2558 ดังนี้ A. การพัฒนามนุษย์ (Human development) B. สวัสดิการและการคุ้มครองสังคม (Social welfare & protection)
  • 10. C. สิทธิและความเป็นธรรมทางสังคม (Social justice & rights) D. การดารงความยั่งยืนของสิ่งแวดล้อม (Ensuring environmental sustainability) E. การลดช่องว่างการพัฒนา (Narrowing the development gap)
  • 11. B1. การบรรเทาความยากจน (Poverty alleviation) B2. การสร้างเครือข่ายความปลอดภัยทางสังคม และการป้องกัน ผลกระทบด้านลบจากการรวมกันของอาเซียน และระบบ โลกาภิวัตน์ (Social safety net & protection from the negative impacts of integration & Globalization) B3. การส่งเสริมความปลอดภัยด้านอาหาร (Enhancing food security & safety)
  • 12. B4. การเข้าถึงการดูแลสุขภาพและวิถีชีวิตสุขภาพ (Access to health care & healthy lifestyles) B5. การเพิ่มความสามารถในการควบคุมโรคติดต่อ (Improving capability to control communicable diseases) B6. การทาให้อาเซียนปลอดยาเสพติด (Ensuring a drug-free ASEAN) B7. การสร้างรัฐให้ “อึด-ฮึด-สู้”ภัยพิบัติ จนประชาคมปลอดภัยเพิ่มขึ้น (Building disaster-resilient nations & safer communities)
  • 13. • ในที่นี้ คือ “ระบบการแพทย์ฉุกเฉินไทย” ตาม “พ.ร.บ. การแพทย์ฉุกเฉิน พ.ศ.2551” • “การแพทย์ฉุกเฉิน” = การปฏิบัติการฉุกเฉิน การศึกษา การฝึกอบรม การค้นคว้า และการวิจัย เกี่ยวกับ การ ประเมิน การจัดการ การบาบัดรักษาผู้ป่วยฉุกเฉิน และ การป้องกันการเจ็บป่วยที่เกิดขึ้นฉุกเฉิน
  • 14. • คือ บุคคลซึ่งได้รับการบาดเจ็บ หรือ มีอาการป่วยกะทันหัน ซึ่งเป็นอันตรายต่อชีวิตหรือการทางานของอวัยวะสาคัญ จาเป็นต้องได้รับการประเมิน การจัดการ และการบาบัดรักษา อย่างทันท่วงที เพื่อป้องกันการเสียชีวิตหรือการรุนแรงขึ้น ของการบาดเจ็บนั้น
  • 15. • พ.ศ.2453 พ่อค้าจีนกลุ่มหนึ่งสร้าง “อาคารป่อเต็กต้งึ” เพื่อ ช่วยผู้ยากไร้ เป็น “มูลนิธิป่อเต็กตึ้ง” พ.ศ.2480, 2500ช่วย เก็บ/ฝังศพไร้ญาติ 2510ช่วย“กู้คน” (กู้ภัย)ในอุบัติเหตุ และ นาส่ง ร.พ. ต่อมามีมูลนิธิอื่นๆ เช่น ร่วมกตัญญู พ.ศ.2513 • พ.ศ.2491 ร.พ. กลาง ตั้ง “แผนกอุปัทวเหตุ” • พ.ศ.2510 ร.พ. จุฬาฯ ตั้ง “ห้องฉุกเฉิน”
  • 16. • พ.ศ.2515 “สมเด็จย่า”ทรงตั้งหน่วย “แพทย์อาสาทาง อากาศ” ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็น “งานหน่วยแพทย์ทาง วิทยุ” ซึ่งอาจถือว่า เป็นต้นแบบแห่งการแพทย์ฉุกเฉิน ทางวิทยุในระดับพลเรือนของไทยได้
  • 17. • พ.ศ.2523 มี “ศูนย์ส่งกลับและรถพยาบาล กรมตารวจ” เพื่อช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ โดยทาแผนร่วมมือกับ ร.พ. ต่างๆในกรุงเทพฯ โดยใช้โทรฯสายด่วน 1691
  • 18. • พ.ศ.2527 พล.อ.อาทิตย์ กาลังเอก พัฒนากองกาลังรักษา พระนคร ตั้งโทรฯสายด่วน 123 และหน่วยรถพยาบาล ฉุกเฉิน 40 คัน ให้บริการชาวกรุงเทพฯ ถึง พ.ศ.2529 • พ.ศ.2532 กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข ได้งบฯ 150 ล้านบาท สร้างอาคารและระบบ EMS ซึ่งเปิด ดาเนินการ พ.ศ.2536
  • 19. • พ.ศ.2535 ร.พ. ศูนย์ขอนแก่น เริ่มจัดตั้งศูนย์อุบัติเหตุ (Trauma & Critical Care Center) โดยได้รับความ ช่วยเหลือจากญี่ปุ่น (JICA) ใน พ.ศ.2536 เปิดหน่วย กู้ชีพให้การช่วยเหลือผู้บาดเจ็บ ณ จุดเกิดเหตุด้วย
  • 20. • พ.ศ.2536 พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว พระราชทาน ทรัพย์ส่วนพระองค์ 38 ล้านบาท ให้กองบัญชาการ ตารวจนครบาล จัดตารวจจราจรเคลื่อนที่เร็วใน โครงการพระราชดาริ “ตารวจช่วยผู้ป่วยฉุกเฉิน”
  • 21. • พ.ศ.2537 กรุงเทพมหานครโดยวชิรพยาบาล ตั้ง “SMART”(Surgico-Medical Ambulance & Rescue Team) ในเดือน ธันวาคม โดยใช้โทรฯสายด่วน 1554
  • 22. • พ.ศ.2538 กรมการแพทย์ สธ. เปิด “ศูนย์กู้ชีพนเรนทร” อย่างเป็นทางการในเดือน มีนาคม ที่ รพ.ราชวิถี และใน ปีต่อมา ที่ รพ.เลิดสิน และ รพ.นพรัตนราชธานี โดยใช้ โทรฯสายด่วน 1669
  • 23. • พ.ศ.2540 ตั้ง “ชมรมเวชศาสตร์ฉุกเฉิน” • พ.ศ.2542 สวรส.ให้ทุนชมรมฯ ศึกษา “การปฏิรูป ระบบสุขภาพยามฉุกเฉิน” เสนอต่อ สธ. พ.ศ.2543 • พ.ศ.2544 ตั้ง “สมาคมเวชศาสตร์ฉุกเฉิน” • พ.ศ.2545 สธ. ตั้ง “สานักงานระบบบริการการแพทย์ ฉุกเฉิน” (ศูนย์นเรนทร สธ.) เพื่อพัฒนาระบบและให้มี ศูนย์ฯในทุกจังหวัด โดยได้งบ  10 บาท/หัวประชากร
  • 24. • พ.ศ.2546 แพทยสภาอนุมัติ ให้มีการฝึกอบรมแพทย์ เฉพาะทางสาขาเวชศาสตร์ฉุกเฉิน โดยเป็น “สาขาขาด แคลน ประเภทที่ 1” • พ.ศ.2547 เปิดการฝึกอบรม “แพทย์ฉุกเฉิน” (หลักสูตร 3 ปี) รุ่นแรก ในสถาบันฝึกอบรม 9 แห่ง และ “พยาบาลฉุกเฉิน” (หลักสูตร 4 เดือน) รุ่นแรก ใน สถาบันฝึกอบรม 1 แห่ง
  • 25. • พ.ศ. 2549 สมาคมเวชศาสตร์ฉุกเฉินฯ เป็นสมาชิก IFEM ( International Federation for Emergency Medicine) และ ASEM ( Asian Society for Emergency Medicine )
  • 27. 2551 พ.ร.บ. การแพทย์ฉุกเฉิน กพฉ. และ สพฉ. กรมการแพทย์ + สมาคมฯ เปิดอบรม MERT 2554 ได้รางวัลชนะเลิศทมี่าเลเซีย
  • 29. 29
  • 30. 2555 ฝึก MERT หลายจังหวัด
  • 31. 31
  • 32. • ดีทสีุ่ดในอาเซียน • พ.ศ.2503 เริ่มมีบริการรถพยาบาลฉุกเฉิน • พ.ศ.2527 อนุมัติแพทย์เฉพาะทางฉุกเฉิน • พ.ศ.2532 ฝึกอบรมแพทย์ฉุกเฉิน ซึ่งปัจจุบันสามารถต่อยอดได้ เช่น เด็ก, หัวใจ, การบาดเจ็บ, การถูกพิษ, นอก ร.พ., ภัยพิบัติ • ผู้ป่วยฉุกเฉินจะค้างอยู่ในห้องฉุกเฉินไม่เกิน 6 ชม.ในทุก ร.พ. • ผู้ป่วยไม่ฉุกเฉินมาใช้บริการห้องฉุกเฉิน ลดลงจาก 50% เหลือ 10% • มีโทรศัพท์ฉุกเฉิน 995
  • 33. • พ.ศ.2515 มีรถพยาบาลฉุกเฉิน และโทรฯฉุกเฉิน 999 • พ.ศ.2541 เริ่มผลิตแพทย์ฉุกเฉิน โดย รร. แห่งหนึ่ง • พ.ศ.2554 รร. 3 แห่ง รวมเป็น “วิทยาลัยแพทย์ฉุกเฉิน”
  • 34. • มีเกาะจานวนมาก ระบบฉุกเฉินจึงลาบาก • มีโทรฯฉุกเฉิน 16-911 และบริการรถพยาบาลฉุกเฉิน • มีวิทยาลัยการแพทย์ฉุกเฉินตั้งแต่ พ.ศ.2531 แต่เพงิ่ได้รับ อนุมัติให้เป็นแพทย์เฉพาะทางสาขาย่อยของสาขาเวชศาสตร์ ครอบครัว ใน พ.ศ.2554 และมีการผลิตบุคลากรด้าน การแพทย์ฉุกเฉินอื่นๆด้วย
  • 35. • มีเกาะจานวนมาก ระบบฉุกเฉินจึงลาบาก • ยังไม่มีระบบที่เป็นเอกภาพ ทั้งนอกและในโรงพยาบาล • มีโทรศัพท์ฉุกเฉิน 118 • แต่รถพยาบาลฉุกเฉินยังบริการได้ไม่ดี
  • 36. • ประเทศเล็ก รวย และมีรัฐสวัสดิการ • มีโทรฯฉุกเฉิน 991 ให้บริการรถพยาบาลฉุกเฉิน • มีโรงพยาบาลใหญ่ให้บริการตลอด 24 ชั่วโมง
  • 37. • มีโทรฯฉุกเฉิน 115 และบริการรถพยาบาลฉุกเฉินในเมือง ใหญ่ๆ ต้งัแต่ พ.ศ.2544 • อนุมัติให้แพทย์ฉุกเฉินเป็นแพทย์เฉพาะทางและเริ่มผลิตใน พ.ศ.2553 โดยวิทยาลัยแพทย์เว้(Hue College of Medicine) ปัจจุบัน กรมการแพทย์ สธ. ไทย ช่วยฝึก EP / EN ให้
  • 38. • มีบริการรถพยาบาลฉุกเฉินใน พ.ศ.2540 • มีโทรฯฉุกเฉิน 119 ใน พ.ศ.2546 • มีการช่วยเหลือด้านการแพทย์ บุคลากรและรถฉุกเฉินจาก ญี่ปุ่น ใน พ.ศ.2551
  • 39. • ยังไม่มีระบบฉุกเฉินที่ชัดเจนในภาครัฐ พม่าเริ่มฝึกแพทย์ ฉุกเฉินระยะสั้น โดยแพทย์ต่างประเทศ ในพ.ศ. 2554
  • 40. 1. ด้านผู้ป่วยฉุกเฉิน จะเพิ่มขึ้น ทั้งผู้ป่วยที่รวยและยากจน 2. ด้านบุคลากร จะ “สมองไหล”ไปนอกน้อย แต่ “สมองไหล” จากรัฐสู่เอกชน จะเพิ่มขึ้น ทาให้ รพ. และบุคลากรภาครัฐ ลาบากขึ้น แพทย์-พยาบาลจากอาเซียนอื่นจะมาทางานใน โรงพยาบาลเอกชนไทยมากขึ้น เพราะ“ข้อตกลงยอมรับ ร่วมกัน” (Mutual Recognition Arrangements) สาหรับ พยาบาล พ.ศ. 2549, แพทย์และทันตแพทย์ พ.ศ. 2552 จึงต้องวางแผนรับมือในด้านทรัพยากรทั้งบุคคลและวัตถุ
  • 41. Prince Philip tells the nurse: "The Philippines must be half empty - you're all here running the NHS“ ข่าว BBC 20 ก.พ. 2556
  • 42. 3. ด้านเวชภัณฑ์และอุปกรณ์ จะมากขึ้นและซับซ้อนขึ้น ทาให้ ค่าใช้จ่ายสูงขึ้นๆอย่างรวดเร็ว เพราะระบบบริโภคนิยมและ การแพทย์พาณิชย์ ควรวางแผนป้องกันแต่เนิ่นๆ 4. ด้านความสัมพันธ์กับผู้ป่วยและญาติ จะขัดแย้งกันมากข้นึ และรุนแรงขึ้น เพราะ การลดลงของคุณธรรมของทั้งผู้ให้ และผู้รับบริการ การเรียกร้องสิทธิโดยไม่คิดถึงส่วนรวม ระบบสื่อสังคม(online) เป็นต้น ควรปรับปรุง/ป้องกัน
  • 43. 5. ด้านวิชาการ ควรแลกเปลี่ยนความรู้ ความชานาญ ประสบการณ์ และบุคลากร ระหว่างกัน เพื่อการศึกษา การฝึกอบรม การค้นคว้า การวิจัย และอื่นๆ 6. ด้านการเป็นเครือข่ายกัน ควรใกล้ชิดสนิทสนมกันมากขึ้น สามารถวางแผนร่วมกันและช่วยเหลือกันในภาวะภัยพิบัติ ให้มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลเพมิ่ข้นึ เป็นต้น
  • 44. มุมมองของคนอื่นเกี่ยวกับคนไทย • Masayasu Hosumi ประธาน JETRO บอกส่อืไทยว่า ไทยอาจไม่เป็นที่น่าสนใจในการลงทุนของญี่ปุ่นแล้ว เพราะคนไทยมี “จุดอ่อน 10 อย่าง” 1. รู้จักหน้าท่ขีองตนต่า มาก โดยเฉพาะหน้าที่ต่อสังคม คือ เป็นประเภทมือใครยาวสาวได้เอา ทา ให้ชาติล้าหลังไปเรื่อยๆ 2. การศึกษายังไม่ทันสมัย รู้แต่ภาษาไทย ไม่มั่นใจในตัวเอง ไม่กล้าแสดงออก จึงตามหลังชาติอื่น 3. มองอนาคตไม่เป็น กว่า 70% ทางานไปวันๆ ไร้อนาคต
  • 45. 4. ไม่ค่อยรับผิดชอบต่อหน้าที่ ไม่ยึดสัญญา อย่างเคร่งครัด 5. กระจายความเจริญไม่ดี คน 60-70% ที่อยู่ไกลขาดโอกาส 6. บังคับใช้กฎหมายไม่เข้มแข็งและไม่ต่อเนื่อง เลือกปฏิบัติ 7. อิจฉาตาร้อน เป็นศรีธนญชัย ล้มบนฟูก เอาแต่ตัวรอด 8. NGO ค้านลูกเดียว ทา ให้ไทยเสียโอกาสบ่อย ที่ดีๆมีน้อย 9. ไม่พร้อมในเวทีโลก เพราะขาดทักษะและทีมเวิร์ก 10. เลีย้งลูกไม่เป็น เด็กไม่อดทน ช่วยตนเองไม่ได้ ไม่คิดถึง สังคม ไม่เข้มแข็ง ขี้โรคทางจิตใจ ( ไทยโพสต์ ๑๖ สิงหาคม ๒๕๕๗ )