SlideShare a Scribd company logo
!""⌫$ &
                            '()*+(",*
หัวเรื่อง
   !        การจัดประเภทเงินลงทุน
   !        ราคาทุนของเงินลงทุน
   !        การลงทุนในตราสารหนี้
   !        ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนด
   !        หลักทรัพยเผื่อขาย
   !        การจําหนายหลักทรัพยเผื่อขาย
   !        การแสดงรายการในงบการเงิน
   !        หลักทรัพยเพื่อคา
   !        การจําหนายหลักทรัพยเพื่อคา
   !        ประเด็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับตราสารหนี้-การซื้อหุนกูระหวางงวด
                การจายดอกเบี้ย
   !        การลงทุนในตราสารทุน
   !        ถือหุนนอยกวา 20%
   !        ถือหุนตั้งแต 20% ถึง 50%
   !        เปรียบเทียบวิธีมูลคายุติธรรมและวิธสวนไดเสีย
                                                ี
6-2
!   การถือหุนมากกวา 50%
!   ประเด็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับตราสารทุน
!   การโอนเปลี่ยนประเภทของหลักทรัพย
!   การดอยคาของหลักทรัพย
!   ประเด็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับเงินลงทุน
!   รายไดจากเงินลงทุนในตราสารทุน
!   การรับหุนปนผล
!   การแยกหุน
!   สิทธิซื้อหุน
!   ราคาเวนคืนกรมธรรมประกันชีวิต
!   เงินกองทุน
!   การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับเงินลงทุน
6-3
  การบัญชีสําหรับการลงทุนที่จะอธิบายในบทนี้ จะแบงออกเปน 3
ประเด็นหลัก คือ
  (1) การจัดประเภทเงินลงทุน
  (2) การตีราคาและการวัดผลกําไรจากการลงทุน
  (3) การเปดเผยขอมูล
การจัดประเภทเงินลงทุน
       การจัดประเภทเงินลงทุน (Classification) ขึ้นอยูกับระยะเวลาที่
ฝายบริหารตั้งใจจะถือหลักทรัพยนั้น การจัดประเภทเงินลงทุนนับเปนสิ่ง
สํ าคัญเนื่องจากวิธีการบัญชีจะแตกตางกันในหลักทรัพยแตละประเภท
การบัญชีสําหรับหลักทรัพยประเภทตาง ๆ ขึ้นอยูกับปจจัยดังตอไปนี้
     1. ประเภทของหลักทรัพย เชน เงินลงทุนในตราสารหนี้หรือตราสาร
        ทุน
     2. มูลคายุติธรรมของหลักทรัพยสามารถหาไดหรือไม
     3. ผูบริหารตองการถือเงินลงทุนจนกวาจะครบกําหนด (ระยะยาว)
          
        หรือถือเปนเงินลงทุนชั่วคราว
     4. สํ าหรับการลงทุนในหลักทรัพยประเภทหุนที่มีสิทธิออกเสียง
        บริษัทที่ลงทุนสามารถเขาไปมีอิทธิพลอยางเปนสาระสําคัญหรือ
        สามารถเขาไปควบคุมกิจการของบริษัทที่ถูกลงทุนไดในระดับใด
6-4
ตารางที่ 6-1 วิธการบัญชีที่ใชสําหรับเงินลงทุนประเภทตาง ๆ
                ี
    การจัดประเภท              เงินลงทุนในตราสารหนี้         เงินลงทุนในตราสารทุน
ควบคุม (Control) – ลง                     _                     จัดทํางบการเงินรวม
ทุนในหุนที่มีสิทธิออกเสียง                                      (Consolidation)
มากกวา 50% (ลงทุนใน
บริษัทยอย)
มีอทธิพลอยางเปนสาระ
    ิ                                     _                       วิธีสวนไดเสีย
สําคัญ (Significant                                             (Equity method)
influence) – ถือหุนที่มี
สิทธิออกเสียงตั้งแต 20%
ถึง 50% (ลงทุนในบริษัท
รวม)
ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบ          วิธราคาทุนตัดจําหนวย
                                      ี                                  -
กําหนด(Held to                       (Amortized cost
maturity)                               method)
ตราสารหนี้และตราสารทุน        วิธีมลคายุติธรรม (Fair value method) ซึ่งจะนําผลกําไรหรือ
                                   ู
ที่จัดประเภทเปนหลัก          ขาดทุนที่ยงไมเกิดขึ้น (Unrealized holding gain or loss) ไป
                                         ั
ทรัพยเพื่อคา                แสดงในงบกําไรขาดทุน
(Trading securities)
ตราสารหนี้และตราสารทุน        วิธีมลคายุติธรรม (Fair value method) ซึ่งจะนําผลกําไรหรือ
                                   ู
ที่จัดประเภทเปนหลัก          ขาดทุนที่ยงไมเกิดขึ้น (Unrealized holding gain or loss) ไป
                                         ั
ทรัพยเผื่อขาย                แสดงเปนรายการแยกตางหากในสวนของเจาของ
(Available for sale
securities)
6-5
(ตอ)
    การจัดประเภท            เงินลงทุนในตราสารหนี้   เงินลงทุนในตราสารทุน
ตราสารทุนที่ไมอยูในความ             _                   วิธราคาทุน
                                                             ี
ตองการของตลาด (ไม                                     (Cost method)
สามารถหามูลคายุติธรรม
ได) จัดประเภทเปนเงินลง
ทุนทั่วไป

     ตารางที่ 6-1 สามารถสรุปวิธีการบัญชีสําหรับเงินลงทุนได 6 วิธี กิจ
การจะเลือกวิธีบัญชีชนิดใดก็ขึ้นอยูกับการจัดประเภทเงินลงทุน ดังนี้
     1. วิธีการจัดทํ างบการเงินรวม (เงินลงทุนในตราสารทุนที่ผูซื้อ
        สามารถเขาไปควบคุมกิจการที่ออกหุนได)
     2. วิธีสวนไดเสีย (เงินลงทุนในตราสารทุนที่ผูซ้ือสามารถเขาไปมี
        อิทธิพลอยางเปนสาระสําคัญ)
     3. วิธราคาทุนตัดจําหนาย (เงินลงทุนในตราสารหนี้ที่จะถือจนครบ
             ี
        กําหนด)
     4. วิธีมูลคายุติธรรมที่รับรูกําไรขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นในงบกําไรขาด
        ทุน (หลักทรัพยเพื่อคา)
     5. วิธีมูลคายุติธรรมที่รับรูกํ าไรขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นเปนรายการ
        แยกตางหากในสวนของผูถือหุน (หลักทรัพยเผื่อขาย)
     6. วิธราคาทุน (ตราสารทุนที่ไมสามารถหามูลคายุติธรรมได)
           ี
6-6
      ตราสารหนี้ (Debt security) หมายถึงหลักทรัพยที่แสดงความ
เปนเจาหนี้กับหนวยงานที่ออกตราสารหนี้ เชน พันธบัตรรัฐบาล หุนกู
พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ หนี้สินที่แปลงสภาพได ตั๋วเงินคลัง หุนบุริมสิทธิที่มี
กําหนดไถถอนหรือใหทางเลือกแกผูลงทุนในการไถถอน
      ตราสารทุน (Equity security) หมายถึงหลักทรัพยที่แสดงความ
เปนเจาของในกิจการที่ออกตราสารทุน เชน หุนสามัญ หุนบุริมสิทธิ ตรา
                                          
สารแสดงสิทธิในการซื้อหุน (Warrant) สัญญาสิทธิการซื้อ (Call
options) หรือสัญญาสิทธิการขาย (Put options) หุนในราคาที่กําหนดไว
       หลักทรัพยเพื่อคา (Trading security) หมายถึงเงินลงทุนในตรา
สารหนี้ทุกชนิดหรือตราสารทุนในความตองการของตลาด (หุนที่จด
ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย) ที่กจการถือไวโดยมีวัตถุประสงคหลักที่จะ
                                  ิ
ขายในอนาคตอันใกล ทําใหกิจการถือหลักทรัพยนั้นไวเปนเวลาสั้น ๆ
เพื่อหากําไรจากการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย ดังนั้นหลักทรัพย
เพื่อคาจึงมักมีอัตราการหมุนเวียนคอนขางสูงและจัดประเภทเปนเงินลง
ทุนชั่วคราว
     หลักทรัพยเผื่อขาย (Available-for-sale) หมายถึงเงินลงทุนใน
ตราสารหนี้ทุกชนิดและตราสารทุนในความตองการของตลาดซึงไมถือเปน
                                                          ่
หลักทรัพยเพื่อคาหรือเงินลงทุนในบริษัทยอยหรือบริษัทรวม กิจการจะ
6-7
ถือหลักทรัพยเผื่อขายโดยไมมีกําหนดเวลาที่แนนอน อาจถือเปนเงินลง
ทุนชั่วคราวหรือระยะยาวก็ได
      เงินลงทุนทั่วไป หมายถึง เงินลงทุนในตราสารทุนที่ไมอยูในความ
ตองการของตลาด ทําใหกิจการไมสามารถจัดประเภทเปนหลักทรัพยเพื่อ
คาหรือหลักทรัพยเผื่อขายได เงินลงทุนทั่วไปสามารถแยกประเภทเปนเงิน
ลงทุนชั่วคราวหรือเงินลงทุนระยะยาว
       หากกิจการตั้งใจจะถือตราสารหนี้หรือตราสารทุนไวไมเกิน 1 ปจะ
เรี ย กหลั ก ทรั พ ย ก ลุ  ม นี้ว  า “เงิ น ลงทุ น ชั่ ว คราว (Temporary
investment)” ซึงจะนําไปแสดงเปนสินทรัพยหมุนเวียน เงินลงทุนชั่ว
                      ่
คราวประกอบดวยหลักทรัพยเพื่อคา หลักทรัพยเผื่อขาย เงินลงทุนทั่วไป
และตราสารหนี้ที่จะครบกําหนดภายใน 1 ป แตหากกิจการตั้งใจจะถือ
หลักทรัพยที่ซื้อมาเปนเวลาเกินกวา 1 ปจะเรียกหลักทรัพยกลุมนี้วา “เงิน
                                                                      
ลงทุนระยะยาว (Long-term investment)” โดยจะนําไปแสดงในสวน
ของสินทรัพยไมหมุนเวียนในงบดุล เงินลงทุนระยะยาวประกอบดวยหลัก
ทรัพยเผื่อขาย เงินลงทุนทั่วไปและตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนด
       การจัดประเภทเงินลงทุนนี้ กิจการตองมีวัตถุประสงคที่ชัดเจนใน
การถือเงินลงทุนนับตั้งแตเริ่มแรกที่ไดเงินลงทุนนั้นมา หากกิจการไมมี
วัตถุประสงคที่ชัดเจน กิจการตองจัดประเภทเงินลงทุนนั้นเปนหลักทรัพย
เผื่อขายโดยทันที
6-8

                                                  ชนิดของเงินลงทุน
                           ตราสารหนี้                                              ตราสารทุน


                                                          ใชวิธีราคา               ถือหุนทีมี      ใช
                         ตั้งใจจะถือจน                                              สิทธิออก
                          ครบกําหนด                         ทุนตัด                เสียงมากกวา                  การรวมธุรกิจ
                             หรือไม ?                     จําหนาย                   50% ?
          ไมใช

                                  ใช                                                      ไมใช

                  จัดประเภทเปนหลักทรัพยที่
                                                                                     มีอิทธิพล         ใช
                     จะถือจนครบกําหนด                                              อยางเปนสาระ                 วิธีสวนไดเสีย
                                                                                     สําคัญ ?
                                                                                   ถือหุน>20%?

                                                                                           ไมใช



ใชวิธีมูลคา                                    มี                                หลักทรัพยมี     ไมมี
                                                                                                                ใชวิธีราคาทุน
                                                                                    มูลคายุติ
 ยุติธรรม
                                                                                   ธรรมหรือไม


                                         จัดประเภทเปนหลักทรัพย         ตีราคาและแสดงใน              แสดงกําไรหรือขาด
                                                   เพื่อคา                                            ทุนที่ยังไมเกิดขึ้น
                                                                              งบดุลดวย                เปนรายไดในงวด
                                            (สินทรัพยหมุนเวียน)
  ถือไวเพื่อ              ใช                                             มูลคายุติ ธรรม
 ขายในงวด
 หรือไม ?


                ไมใช                    จัดประเภทเปนหลัก             ตีราคาและแสดงในงบ             แสดงกําไรหรือขาดทุน
                                          ทรัพยเผื่อขาย (สิน                                           ที่ยังไมเกิดขึ้นใน
                                         ทรัพยหมุนเวียนหรือไม         ดุลดวยมูลคายุติธรรม
                                                                                                        สวนของผูถือหุน
                                               หมุนเวียน)


      ภาพที่ 6-1 การตัดสินใจเพื่อนําวิธีการบัญชีมาใชในการลงทุน
6-9
ราคาทุนของเงินลงทุน
      ราคาทุนของเงินลงทุนประกอบดวยรายจายโดยตรงทั้งสิ้นที่กิจการ
จายเพือใหไดเงินลงทุนนั้นมา เชน รายจายในการซื้อเงินลงทุน คานาย
       ่
หนา คาธรรมเนียมและคาภาษีอากร กิจการอาจซื้อเงินลงทุนโดยชําระเปน
เงินสด เปนเงินเชื่อ (On margin) หรือรายการอื่นที่ไมใชเงินสด
การลงทุนในตราสารหนี้
     เงินลงทุนในตราสารหนี้สินจะแบงออกเปน 3 ประเภทตามวัตถุ
ประสงคในการถือหลักทรัพยดังนี้
  1. ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนด (Held-to-maturity) หมายถึง
     เงินลงทุนในตราสารหนี้ที่กิจการซื้อไวโดยมีความตั้งใจแนวแนวาจะ
     ถือจนครบกําหนดไถถอน
  2. หลักทรัพยเพื่อคา (Trading securities) หมายถึง เงินลงทุนใน
     ตราสารหนี้ทุกชนิดที่กิจการซื้อมาและมีวัตถุประสงคหลักที่จะขาย
     ในอนาคตอันใกล ทําใหกิจการถือหลักทรัพยนั้นไวในระยะเวลาสั้น
     เพือหากําไรจากผลตางของราคาซื้อและราคาขาย
        ่
  3. หลักทรัพยเผื่อขาย (Available-for-sale) หมายถึง เงินลงทุนใน
     ตราสารหนี้ทุกชนิดที่ไมสามารถจัดประเภทเปนตราสารหนี้ที่ถือไว
     จนครบกําหนดหรือหลักทรัพยเพื่อคาได
6-10
ตารางที่ 6-2 การจัดประเภทตราสารหนี้วิธีการบัญชีและการแสดงรายงาน
 การจัดประเภท      การตีราคา     กําไรหรือขาดทุนที่ยัง        ผลตอบแทน
                                 ไม เกิดขึ้นจากการถือ
                                        สินทรัพย
! ตราสารหนี้    ราคาทุนตัด       ไมรับรู               ดอกเบี้ยรับและกํ าไรขาด
  ที่จะถือจนครบ จําหนาย                                 ทุนจากการจําหนาย
  กําหนด
! หลักทรัพย    มูลคายุตธรรม
                         ิ       รับรูในงบกําไรขาดทุนดอกเบี้ยรับและกํ าไรขาด
  เพื่อคา                                            ทุนจากการจําหนาย
! หลักทรัพย    มูลคายุติธรรม   รับรูโดยแสดงเปนราย ดอกเบี้ยรับและกํ าไรขาด
  เผื่อขาย                       การแยกตางหากในสวน ทุนจากการจําหนาย
                                 ของผูถือหุน

ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนด
      ตราสารหนี้เทานั้นที่สามารถจัดประเภทเปนหลักทรัพยที่จะถือจน
ครบกําหนด เนื่องจากตามคําจํากัดความ ตราสารทุนไมมีระยะเวลาครบ
กําหนด ตราสารหนี้ที่จะจัดประเภทเปนตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนด
ไดก็ตอเมื่อกิจการ
(1) มีความตั้งใจแนวแน
(2) มีความสามารถที่จะถือหลักทรัพยเหลานี้จนครบกําหนด
      ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกํ าหนดจะบันทึกบัญชีดวยราคาทุนตัด
จําหนาย ไมใชมูลคายุติธรรม
6-11
ตัวอยางที่ 6-1 บริษัทนนทรี จํากัด ซื้อหุนกูมูลคา 200,000 บาท อัตรา
ดอกเบี้ย 8% จากบริษัทไทยคม จํากัด เมื่อวันที่ 1 มกราคม ป 25+3
โดยจายเงินสด 184,556 บาท หุนกูจะครบกําหนดไถถอนในวันที่ 1
มกราคม ป 25+8 บริษัทไทยคมจายดอกเบี้ยทุกวันที่ 1 กรกฎาคม และ
1 มกราคม สวนลด 15,444 บาท (200,000-184,556) เกิดขึ้นจากอัตรา
ดอกเบี้ยที่แทจริง 10% การบันทึกบัญชีสําหรับการลงทุนทําไดดังนี้
      ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนด-หุนกู.......184,556
          เงินสด................................................................ 184,556
      ส ว นลดหรื อ ส ว นเกิ น จากเงิ น ลงทุ น ระยะยาวในหุ  น กู  จ ะต อ งตัด
จําหนายใหหมดไป โดยมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 เรื่องการบัญชี
สําหรับเงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน กําหนดใหตัดจําหนายดวย
วิธอตราดอกเบี้ยที่แทจริง (Effective interest method) หรือวิธีอื่นที่
   ีั
ใหผลไมแตกตางจากวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริงอยางมีนัยสําคัญ
6-12
ตารางที่ 6-3 การคํานวณเกี่ยวกับดอกเบี้ยรับ
                   หุนกู 8% อัตราดอกเบี้ยที่แทจริง 10%
   วันที่    ดอกเบี้ยที่ไดรับ รายไดดอก ตัดจําหนาย        ราคาตามบัญชี
               เปนเงินสด         เบี้ย  สวนลดมูลคา         ของหุนกู
                                             หุนกู
1 มค. 25+3                                                    184,556
1 กค. 25+3       8,000ก       9,228ข           1,228ค         185,784ง
1 มค. 25+4       8,000        9,290            1,290          187,074
1 กค. 25+4       8,000        9,354            1,354          188,428
1 มค. 25+5       8,000        9,422            1,422          189,850
1 กค. 25+5       8,000        9,492            1,492          191,342
1 มค. 25+6       8,000        9,566            1,566          193,090
1 กค. 25+6       8,000        9,646            1,646          194,554
1 มค. 25+7       8,000        9,728            1,728          196,282
1 กค. 25+7       8,000        9,814            1,814          198,096
1 มค. 25+8       8,000        9,904            1,904          200,000
                 80,000      95,444            15,444
ก
  8,000      = 200,000×.08×6/12
ข
  9,228      = 184,556×.10×6/12
ค
  1,228      = 9,228 – 8,000
ง
  185,784 = 184,556 + 1,228
6-13
     การบันทึกรายการรับดอกเบี้ย ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 25+3 (ใชขอ
มูลจากตารางที่ 6-3) มีดังนี้
                                   1 กรกฎาคม 25+3
        เงินสด ..........................................................8,000
        ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนด-หุนกู .........1,228
             ดอกเบี้ยรับ .............................................................9,228
       เนืองจากบริษัทนนทรี ปดบัญชีทุกสิ้นปปฏิทิน รายการปรับปรุงดอก
          ่
เบี้ยคางรับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+3 มีดังนี้
                                   31 ธันวาคม 25+3
       ดอกเบี้ยคางรับ ...............................................8,000
       ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนด-หุนกู...........1,290
             ดอกเบี้ยรับ .............................................................9,290
      บริษทนนทรี จํากัดจะแสดงรายการเกี่ยวกับเงินลงทุนในหุนกู ในงบ
          ั
การเงินป 25+3 ดังนี้
                                บริษัทนนทรี จํากัด
                                        งบดุล
                              ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+3                            (บาท)
สินทรัพยหมุนเวียน:
  ดอกเบี้ยคางรับ                                                                 8,000
เงินลงทุนระยะยาว:
    ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนด-หุนกู                                      187,074
6-14
                               บริษัทนนทรี จํากัด
                                 งบกําไรขาดทุน
                   สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25+3                         (บาท)
รายไดอ่น:
        ื
  ดอกเบี้ยรับ                                                                    18,518
      บัญชีตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนด-หุนกู จะมีราคาตามบัญชี
(Carrying amount) ที่เปนราคาทุนตัดจําหนายมาตลอดอายุหุนกูจน
เหลือเทากับราคาตามมูลคาพอดีเมื่อครบกําหนดไถถอน
       สมมติวาถาบริษัทนนทรีขายเงินลงทุนในหุนกูของบริษัทไทยคม
เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน ป 25+7 ในราคา 99 ¾ (เทียบกับราคาตามมูล
คา 100) บวกดอกเบี้ยคางรับ
     กอนการจําหนายหุนกู บริษัทนนทรีตองบันทึกการตัดจําหนายสวน
ลดมูลคาหุนกู จากวันที่ 1 กรกฎาคม 25+7 ถึงวันที่ 1 พฤศจิกายน
25+7 คือ 1,270 บาท (4/6 × 1,904) ในสมุดรายวันทั่วไปดังนี้
                              1 พฤศจิกายน 25+7
      ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนด-หุนกู .........1,270
         ดอกเบี้ยรับ .............................................................1,270
การคํานวณกําไรจากการจําหนายหุนกู ทําไดดังนี้
6-15
ราคาขายหุนกู (ไมรวมดอกเบี้ยคางรับ) (99 ¾ ÷ 100 × 200,000) 199,500 บาท
หัก ราคาตามบัญชีหุนกู ณ วันที่ 1 พฤศจิกายน 25+7
       ราคาทุนตัดจําหนาย 1 กรกฎาคม 25+7              198,096
       บวก สวนลดที่ตัดจําหนายสําหรับงวด 1 กค. 25+7 1,270 199,366
กําไรจากการจําหนายหุนกู                                         134

การบันทึกกําไรจากการจําหนายหุนกู ทําไดดังนี้
                             1 พฤศจิกายน 25+7
       เงินสด (199,500+5,334) ..........................204,834
            ดอกเบี้ยรับ (4/6 x 8,000) ......................................5,334
            ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนด-หุนกู ............... 199,366
            กําไรจากการจําหนายหลักทรัพย .................................134
หลักทรัพยเผื่อขาย
       เงินลงทุนในตราสารหนี้ที่มีวัตถุประสงคถือไวเผื่อขาย จะแสดงตาม
มูลคายุติธรรม กําไรและขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้น (Unrealized gain or
loss) ที่เกิดจากผลตางระหวางราคาทุนและมูลคายุติธรรมของหลักทรัพย
จะบันทึกในบัญชีกําไรหรือขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้น (Unrealized holding
gain or loss) บัญชีนี้จะแสดงเปนรายการหนึ่งแยกตางหากจากสวนของ
ผูถือหุน ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมจะไมบันทึกเปนกําไร
จนกวาหลักทรัพยนั้นจะถูกขายออกไป
6-16
หลักทรัพยเผื่อขายมีเพียงชนิดเดียว
ตัวอยางที่ 6-2 บริษทนนทรี จํากัด ซื้อหุนกูมูลคา 100,000 บาท อัตรา
                     ั
ดอกเบี้ย 10% อายุ 5 ป เมื่อวันที่ 1 มกราคม 25+3 จากบริษัทสยามรัฐ
จํากัด ซึ่งกําหนดจายดอกเบี้ยปละ 2 ครั้ง ในวันที่ 1 กรกฎาคมและ 1
มกราคม บริษัทนนทรีซื้อหุนกูในราคา 108,111 บาท ซึ่งมีสวนเกิน 8,111
บาท อัตราดอกเบี้ยที่แทจริง (Effective interest rate) เทากับ 8%
     บริษัทไมมีวัตถุประสงคจะถือหุนกูไวเปนหลักทรัพยเพื่อคาหรือจะ
ถือจนครบกําหนด บริษัทจึงบันทึกหุนกูที่ซื้อไวเปนหลักทรัพยเผื่อขาย
การบันทึกบัญชีทําไดดังนี้
                                 1 มกราคม 25+3
      หลักทรัพยเผื่อขาย-หุนกู ...........................108,111
          เงินสด ................................................................ 108,111
6-17
 ตารางที่ 6-4 การคํานวณเกี่ยวกับดอกเบี้ยรับ
                   หุนกู 10% อัตราดอกเบี้ยที่แทจริง 8%
   วันที่    ดอกเบี้ยที่ได รายไดดอก ตัดจําหนาย            ราคาตามบัญชี
             รับเปนเงินสด         เบี้ย     สวนเกินมูล       ของหุนกู
                                                คาหุนกู
1 มค. 25+3                                                     108,111
1 กค. 25+3       5,000ก      4,324ข              676ค          107,435ง
1 มค. 25+4       5,000       4,297               703           106,732
1 กค. 25+4       5,000       4,269               731           106,001
1 มค. 25+5       5,000       4,240               760           105,241
1 กค. 25+5       5,000       4,210               790           104,451
1 มค. 25+6       5,000       4,178               822           103,629
1 กค. 25+6       5,000       4,145               855           102,774
1 มค. 25+7       5,000       4,111               889           101,885
1 กค. 25+7       5,000       4,075               925           100,960
1 มค. 25+8       5,000       4,040               960           100,000
                50,000      41,889             8,111
ก
  5,000 = 100,000 × .10 × 6/12
ข
  4,324 = 108,111 × .08 × 6/12
ค
  676 = 5,000 – 4,324
ง
  107,435 = 108,111 - 676
6 18
                                                                                       -
     การบันทึกดอกเบี้ยรับ ณ วันที่ 1 กรกฎาคม ป 25+3 มีดังนี้
                                1 กรกฎาคม 25+3
      เงินสด ............................................................5,000
           หลักทรัพยเผื่อขาย-หุนกู ............................................676
           ดอกเบี้ยรับ .............................................................4,324
     ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+3 บริษัทนนทรีจะปรับปรุงดอกเบี้ยคางรับ
พรอมกับตัดจําหนายสวนเกิน ดังนี้
                                31 ธันวาคม 25+3
      ดอกเบี้ยคางรับ ...............................................5,000
         หลักทรัพยเผื่อขาย-หุนกู ............................................703
         ดอกเบี้ยรับ .............................................................4,297
                                31 ธันวาคม 25+3
      กําไรขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้น-สวนของผูถือหุน ....1,732
           คาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุน–เผื่อขาย
              หรือ หลักทรัพยเผื่อขาย......................................1,732
6-19
                                   บริษัทนนทรี จํากัด
                                         งบดุล
                                 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+3                           (บาท)
หลักทรัพยเผื่อขาย-หุนกู (ราคาทุนตัดจําหนาย)           106,732
หัก คาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุน-เผื่อขาย                 1,732
หลักทรัพยเผื่อขาย-หุนกู (มูลคายุติธรรม)                                        105,000

      บริษัทจะตองบันทึกกลับรายการดอกเบี้ยคางรับและบันทึกดอกเบี้ย
รับ ดังนี้
                         1 มกราคม 25+4
       ดอกเบี้ยรับ ...................................................5,000
          ดอกเบี้ยคางรับ .......................................................5,000
       เงินสด ..........................................................5,000
            ดอกเบี้ยรับ .............................................................5,000
การจําหนายหลักทรัพยเผื่อขาย
       ถาหุนกูที่ถือเปนหลักทรัพยเผื่อขายถูกจํ าหนายออกไปกอนครบ
กําหนด กิจการตองบันทึกการตัดจําหนายสวนลดหรือสวนเกินจนถึงวันที่
จําหนายหุนกู เมื่อขายหุนกูออกไปทั้งหมด กิจการตองลางบัญชีคาเผื่อ
การปรับมูลคาเงินลงทุนและบัญชีกําไรขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้น (สวนของผู
ถือหุน) ออกไป และบันทึกกําไรหรือขาดทุนจากการจําหนายโดยการ
เปรียบเทียบระหวางราคาขายกับราคาทุนตัดจําหนายในวันนั้น
6-20
    สมมติวาบริษัทนนทรี ขายหุนกูของบริษัทสยามรัฐออกไปในวันที่ 1
มกราคม 25+4 ในราคา 110 การบันทึกบัญชี มีดังนี้
                               1 มกราคม 25+4
      เงินสด .................................................110,000
      คาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุน-เผื่อขาย ....1,732
           หลักทรัพยเผื่อขาย.............................................. 106,732
           กําไรขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้น-สวนของผูถือหุน ............1,732
           กําไรจากการจําหนายหลักทรัพย ………………………3,268*
     * ราคาขาย 110,000 – ราคาทุนตัดจําหนาย 106,732
กลุมหลักทรัพย
     หากกิจการลงทุนซื้อหลักทรัพยเปนกลุมเรียกวา “Portfolio” ซึ่ง
ประกอบดวยหลักทรัพยหลายชนิด การคํานวณหามูลคายุติธรรม ณ วัน
สินงวดสามารถบันทึกเปนกลุมหลักทรัพยแทนการปรับทีละรายการ
  ้
ตัวอยางที่ 6-3 สมมติวาบริษัทนนทรีจํากัด มีตราสารหนี้สองชนิดถือไว
                       
เปนหลักทรัพยเผื่อขาย ตอไปนี้เปนขอมูลเกี่ยวกับราคาทุนตัดจําหนาย
มูลคายุติธรรมและกําไรขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้น
6-21
                           กลุมตราสารหนี้ที่มีเผื่อขาย
                           ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+8
           เงินลงทุน                   ราคาทุน        มูลคายุติธรรม กําไร(ขาดทุน)
                                    ตัดจําหนาย                      ที่ยังไมเกิดขึ้น
หุนกู 8% บริษัทกรุงสยาม จํากัด 187,074                 207,200          20,126
หุนกู 10% บริษัทนวธานี จํากัด        400,000           360,800         (39,200)
รวมกลุมหลักทรัพย                     587,074           568,000         (19,074)
ยอดคงเหลือของบัญชีคาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุนกอนการปรับปรุง
                                                                           -0-
บัญชีคาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุนที่ตองเครดิตเพิ่ม                    (19,074)

                                 31 ธันวาคม 25+8
         กําไรขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้น - สวนของผูถือหุน...... 19,074
              คาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุน - เผื่อขาย .............. 19,074
        ขาดทุนสุทธิที่ยังไมเกิดขึ้นจํานวน 19,074 บาท จะนําไปลดสวนของ
 ผูถือหุนลง
        สมมติตอมาวาบริษัทนนทรี ขายหุนกูของบริษัทกรุงสยาม ออกไป
 เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 25+9 ในราคา 180,000 บาท โดยบริษัทนนทรีได
 บันทึกรับดอกเบี้ยและตัดจําหนายสวนลดจนถึงวันที่ 1 กรกฎาคม 25+9
 แลว ราคาทุนตัดจําหนายคงเหลือ ณ วันนี้เทากับ 188,428 บาท การ
 คํานวณขาดทุนจากการจําหนายหุนกู มีดังนี้
6-22
ราคาทุนตัดจําหนาย (หุนกูของบริษัทกรุงสยาม)                             188,428
หัก ราคาจําหนายหุนกู                                                   180,000
ขาดทุนจากการจําหนายหุนกู                                                 8,428
การบันทึกรายการจําหนายหุนกูในสมุดบัญชี มีดังนี้
                               1 กรกฎาคม 25+9
       เงินสด ......................................................180,000
       ขาดทุนจากการจําหนายหลักทรัพย ...............8,428
             หลักทรัพยเผื่อขาย-หุนกู .................................. 188,428
      ขาดทุนจากการจําหนายหลักทรัพยจะแสดงเปนคาใชจายอื่นในงบ
กําไรขาดทุน สมมติวาไมมีการซื้อและขายหุนกูในป 25+9 ตอไปนี้เปนขอ
มูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+9
                      กลุมตราสารหนี้ที่มีเผื่อขาย
                     ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+9
       เงินลงทุน            ราคาทุนตัด         มูลคายุติธรรม       กําไร(ขาดทุน)
                             จําหนาย                               ที่ยังไมเกิดขึ้น
หุนกู 10%
บริษัทนวธานี จํากัด           400,000             390,000              (10,000)
ยอดคงเหลือของบัญชีคาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุนกอนปรับปรุง
                                                                      (19,074)
ลดยอดบั ญ ชี ค  า เผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุนใหแสดงมูลคายุติ         (9,074)
ธรรม (เดบิต)
6-23
                            31 ธันวาคม 25+9
      คาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุน - เผื่อขาย ......9,074
           กําไรขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้น – สวนของผูถือหุน .........9,074
การแสดงรายการในงบการเงิน
                             บริษัทนนทรี จํากัด
                                     งบดุล
                           ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+9                   (บาท)
สินทรัพยหมุนเวียน:
    ดอกเบี้ยคางรับ                                                  ×××
เงินลงทุน:
    หลักทรัพยเผื่อขาย (มูลคายุติธรรม)                            390,000
สวนของผูถือหุน:
    ขาดทุนสะสมที่ยังไมเกิดขึ้นจากการถือหลักทรัพย                   10,000
                                 บริษัทนนทรี จํากัด
                                   งบกําไรขาดทุน
                     สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25+9          (บาท)
รายไดและกําไรอื่น ๆ:
    ดอกเบี้ยรับ                                                      ×××
คาใชจายและขาดทุนอื่น ๆ:
    ขาดทุนจากการจําหนายหลักทรัพย                                    8,428
6-24
หลักทรัพยเพื่อคา
       หลักทรัพยเพื่อคาเปนหลักทรัพยที่กิจการถือไวโดยมีวัตถุประสงคที่
จะขายออกไปในระยะเวลาสั้น หลักทรัพยประเภทนี้จะมีการซื้อและขาย
เกิดขึ้นบอย กิจการจะไดรับกําไรในระยะสั้นจากผลตางระหวางราคาซื้อ
และราคาขาย การถือหลักทรัพยเพื่อคานี้โดยปกติจะถือนอยกวา 3 เดือน
หรืออาจถือเปนวันหรือเปนชั่วโมงก็ได
     หลักทรัพยเพื่อคาจะแสดงดวยมูลคายุติธรรม โดยจะปรับปรุงทุก
สินงวดบัญชี กําไรหรือขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นจะแสดงในงบกําไรขาดทุน
  ้
และไมมีการตัดจําหนายสวนเกินหรือสวนลด
    กําไรหรือขาดทุนจากการถือหลักทรัพยคือผลตางระหวางมูลคายุติ
ธรรมจากงวดหนึ่งไปอีกงวดหนึ่ง
ตัวอยางที่ 6-4 สมมติวาในวันที่ 31 ธันวาคม 25+9 บริษัทนนทรี จํากัด
มีรายละเอียดของกลุมหลักทรัพยเพื่อคาที่บริษัทลงทุนเปนปแรก ดังนี้
6-25
                             กลุมหลักทรัพยเพื่อคา
                            ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+9
        เงินลงทุน               ราคาทุน มูลคายุติธรรม                    กําไร(ขาดทุน)
                                                                          ที่ยังไมเกิดขึ้น
หุนกู 10% บริษัทการบินไทย 87,720             103,000                        15,280
หุนกู 11% บริษัทสิงคโปร       368,460       350,400                       (18,060)
แอรไลน
หุนกู 8% บริษัท นสพ.ไทย 172,720              183,000                        10,280
โพสต
รวมกลุมหลักทรัพย               628,900       636,400                          7,500
ยอดคงเหลือของบัญชีคาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุน
กอนการปรับปรุง                                                                  -0-
ปรับปรุงคาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุน (เดบิต)                                  7,500

                                      ณ วันที่ซื้อ
       หลักทรัพยเพื่อคา........................................628,900
           เงินสด ................................................................ 628,900
                                 31 ธันวาคม 25+8
       คาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุน - เพื่อคา ..........7,500
            กําไรขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้น - งบกําไรขาดทุน ............7,500
6-26
การจําหนายหลักทรัพยเพื่อคา
      สมมติวาในวันที่ 2 มกราคม 25+9 บริษัทนนทรี ขายหุนกูของ
บริษทการบินไทยไปในราคา 100,000 บาท การบันทึกบัญชีทําไดดังนี้
    ั
                         2 มกราคม 25+9
      เงินสด ......................................................100,000
           หลักทรัพยเพื่อคา .................................................. 87,720
           กําไรจากการจําหนายหลักทรัพย ...........................12,280
     กํ าไรจากการจํ าหนายหลักทรัพยไดจากการเปรียบเทียบระหวาง
ราคาทุนและราคาขาย
ประเด็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับตราสารหนี้ - การซื้อหุนกูระหวาง
งวดการจายดอกเบี้ย
     หากกิจการซื้อหุนกูระหวางงวดการจายดอกเบี้ย นอกจากจะจายซื้อ
หลักทรัพยแลวกิจการจะตองซื้อดอกเบี้ยคางมาดวย
     การบันทึกบัญชีสาหรับดอกเบี้ยคางรับทําได 2 วิธีคือ
                    ํ
     1. ในวันทีซื้อใหเดบิตดอกเบี้ยคางรับและเมื่อถึงวันรับดอกเบี้ย ก็
               ่
        ลางดอกเบี้ยคางรับออกที่เหลือบันทึกเปนดอกเบี้ยรับของงวด
     2. ในวั น ที่ ซื้ อ ให เ ดบิ ต ดอกเบี้ ย รั บ และเมื่ อ ถึ ง วั น รั บ ดอกเบี้ ย ก็
        เครดิตดอกเบี้ยรับทั้งจํ านวนโดยไมตองพิจารณาวาเปนดอก
6-27
           เบียคางรับจํานวนเทาใด วิธีนี้ดอกเบี้ยรับที่มียอดทางดานเดบิต
              ้
           และเครดิตจะหักลางกันเอง
ตัวอยางที่ 6-5 เมือวันที่ 1 มีนาคม 25+6 บริษัทนนทรีซื้อหุนกู 12% มูล
                   ่
คา 100,000 บาท ของบริษัทดิลกและเพื่อน เปนหลักทรัพยเผื่อขาย ใน
ราคาที่ตราไวบวกดอกเบี้ยคางรับ หุนกูออกจําหนายในวันที่ 1 มกราคม
25+6 กําหนดจายดอกเบี้ยทุกวันที่ 1 มกราคมและ 1 กรกฎาคม ของทุก
ป การบันทึกบัญชีมีดังนี้
                                   1 มีนาคม 25+6
       หลักทรัพยเผื่อขาย....................................100,000
       ดอกเบี้ยคางรับหรือดอกเบี้ยรับ (100,000×.12×2*/12)......2,000
           เงินสด .....................................................................102,000
     * 1 มกราคม – 1 มีนาคม

                                 1 กรกฎาคม 25+6
       เงินสด ..........................................................6,000
            ดอกเบี้ยคางรับหรือดอกเบี้ยรับ ....................................2,000
            ดอกเบี้ยรับ (100,000×.12×4/12) ..............................4,000
     หากวันที่ซื้อหุนกู บริษัทเดบิตดอกเบี้ยคางรับไว วันที่รับดอกเบี้ยก็
จะตองเครดิตดอกเบี้ยคางรับออก ที่เหลือจึงบันทึกเปนดอกเบี้ยรับของ
งวด แตถาวันซื้อหุนกูบริษัทเดบิตดอกเบี้ยรับไว วันที่รับดอกเบี้ยก็เครดิต
6-28
ดอกเบี้ยรับไดทั้งจํานวน ดอกเบี้ยรับทางดานเดบิตและเครดิตจะหักลบ
กันเอง
การลงทุนในตราสารทุน
      ตราสารทุน (Equity securities) คือหลักทรัพยที่แสดงความเปน
เจาของในกิจการ เชน หุนสามัญ หุนบุริมสิทธิหรือหุนทุนประเภทอื่น
นอกจากนี้ยังรวมถึงสิทธิในการไดมาหรือจัดการสวนของเจาของตามที่ตก
ลงกันหรือราคาที่กํ าหนดขึ้น เชน ตราสารแสดงสิทธิในการซื้อหุน
(Warrants) สิทธิ (Rights) Call options หรือ Put options แตตรา
สารหนีที่แปลงสภาพได (Convertible bonds) หรือหุนบุริมสิทธิที่ไถคืน
       ้
(Redeemable preferred stocks) ไมถือเปนตราสารทุนแตจัดประเภท
เปนตราสารหนี้ ราคาทุนของตราสารทุนคือราคาที่จายซื้อรวมคานายหนา
                                               
และคาธรรมเนียมในการซื้ออื่น ๆ
      ระดับการลงทุนของผูลงทุนในการซื้อหุนสามัญของบริษัทอื่น (ผูถูก
ลงทุน) จะเปนสิ่งกําหนดวิธีการบัญชีที่นํามาใชสําหรับการลงทุน การลง
ทุนในหุนสามัญของบริษัทหนึ่งสามารถจําแนกตามสัดสวนของสิทธิออก
เสียงไดดังนี้
     1. ถือหุนนอยกวา 20% (วิธีมูลคายุติธรรม) – ผูลงทุนไมมีอํานาจ
        กระทําการใด ๆ
6-29
       2. ถือหุนระหวาง 20% ถึง 50% (วิธสวนไดเสีย) – ผูลงทุนมีอทธิ
                                          ี                        ิ
          พลอยางเปนสาระสําคัญ
       3. ถือหุนมากกวา 50% (วิธีการจัดทํางบการเงินรวม) – ผูลงทุนมี
          อํานาจในการควบคุม
      สัดสวนของสวนไดเสียหรืออํานาจในการควบคุมทําใหกิจการผูลง
ทุนตองบันทึกบัญชีตามวิธีตาง ๆ ดังนี้
% ความเปนเจาของ       0%                  20%                   50%               100%
ระดับการมีอิทธิพล นอยมากหรือไมมีเลย           อยางมีสาระสําคัญ           ควบคุม
                    (Little or none)             (Significant)             (Control)
วิธีการตีราคา        มูลคายุติธรรม                 สวนไดเสีย          งบการเงินรวม
                      (Fair value)                   (Equity)           (Consolidation)

ตารางที่ 6-5 การจัดประเภทตราสารทุนวิธีการบัญชีและการแสดงรายงาน
    การจัดประเภท             การตีราคา กําไรหรือขาดทุนที่               ผลตอบแทน
                                        ยังไมเกิดขึ้นจาก
                                       การถือหลักทรัพย
ถือหุนนอยกวา 20%
1. หลักทรัพยเผื่อขาย        มูลคายุติ   รับรูเปนรายการแยก     เงินปนผล,
                             ธรรม         ตางหากในสวนของผู     กํ าไรหรือ ขาดทุนจากการ
                                          ถือหุน                 จําหนาย
2. หลักทรัพยเพื่อคา        มูลคายุติ   รับรูในงบกําไรขาดทุน   เงินปนผล,
                             ธรรม                                 กําไรหรือขาดทุนจากการ
                                                                  จําหนาย
6-30
(ตอ)
    การจัดประเภท         การตีราคา กําไรหรือขาดทุนที่        ผลตอบแทน
                                    ยังไมเกิดขึ้นจาก
                                   การถือหลักทรัพย
! ถือหุนระหวาง         สวนไดเสีย ไมรับรู          สวนไดเสียในกําไรสุทธิ
   20% ถึง 50%                                          (หลังจากปรับปรุงดวยราย
                                                        การตัดจําหนายแลว)
! ถื อ หุ  น มากกว า   งบการเงิ น ไมรับรู                       -
   50%                   รวม

        หากกิจการซื้อตราสารทุนที่ไมไดซื้อขายกันในตลาดหลักทรัพย ทํา
ใหไมสามารถจัดประเภทเปนหลักทรัพยเผื่อขายหรือหลักทรัพยเพื่อคาได
ก็ใหถอวาตราสารทุนนั้นเปน “เงินลงทุนทั่วไป” ซึ่งจะตีราคาตามราคาทุน
      ื
ถือหุนนอยกวา 20%
      เมือผูลงทุนถือหุนทุนนอยกวา 20% จะถือวาผูลงทุนมีอิทธิพลตอผู
         ่
ถูกลงทุนเพียงเล็กนอยหรือไมมีเลย ถาเปนหุนที่อยูในความตองการของ
ตลาด เงินลงทุนจะถูกตีราคาและรายงานภายหลังการซื้อหุนโดยใชวิธีมูล
คายุติธรรม ซึ่งกิจการตองจัดประเภทการลงทุนตั้งแตแรกวาเปนหลัก
ทรัพยเผื่อขาย หลักทรัพยเพื่อคาหรือเงินลงทุนทั่วไป (ถาเปนหุนซื้อขาย
นอกตลาด) และเนื่องจากหลักทรัพยประเภทหุนทุนไมมีระยะเวลาไถถอน
จึงไมสามารถจัดประเภทเปนหลักทรัพยที่ถือไวจนครบกําหนดได
6-31
     หลักทรัพยเผื่อขาย
ตัวอยางที่ 6-6 ในวันที่ 3 พฤศจิกายน 25+9 บริษัทนนทรี จํากัดซื้อหุน
สามัญของ 3 บริษัท ซึ่งเปนบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย สัด
สวนการลงทุนในแตละบริษัทนอยกวา 20% บริษัทนนทรีตั้งใจที่จะถือไว
เปนหลักทรัพยเผื่อขาย ราคาทุนของหลักทรัพยมีดังนี้
                                                                                ราคาทุน
บริษัทตะวันออกอุตสาหกรรม จํากัด                                                 519,400
บริษัทเอสเอ็มอี จํากัด                                                          635,000
บริษัทดีดีเหล็กกลา จํากัด                                                      282,700
  รวมตนทุน                                                                   1,437,100
     การบันทึกรายการ ณ วันซื้อหุน มีดังนี้
                              3 พฤศจิกายน 25+9
      หลักทรัพยเผื่อขาย.................................1,437,100
          เงินสด ............................................................. 1,437,100
       ในวันที่ 6 ธันวาคม 25+9 บริษัทนนทรี ไดรับเงินปนผล 8,400
บาท จากการลงทุนในบริษัทเอสเอ็มอี บริษัทจะบันทึกเงินปนผลที่ไดรับ
ดังนี้
6 32
                                                                                     -
                                6 ธันวาคม 25+9
      เงินสด ..........................................................8,400
           เงินปนผลรับ...........................................................8,400
        ผูลงทุนจะบันทึกรายไดจากการลงทุนเมื่อบริษัทที่ออกหุนประกาศ
จายเงินปนผลเทานั้น เนื่องจากถือหุนนอยกวา 20% ดังนั้นผูลงทุนจะไม
รับรูกําไรหรือขาดทุนจากการลงทุน
      ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+9 กลุมหลักทรัพยที่ถือไวเผื่อขายของ
บริษทนนทรีแสดงราคาทุนและมูลคายุติธรรม ดังนี้
    ั
                        กลุมหลักทรัพยที่ถือไวเผื่อขาย
                          ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+9
            เงินลงทุน                ราคาทุน          มูลคา กําไร(ขาดทุน)
                                                     ยุติธรรม ที่ยังไมเกิดขึ้น
บริษัทตะวันออกอุตสาหกรรม             519,400 550,000               30,600
จํากัด
บริษัทเอสเอ็มอี จํากัด               635,000 608,000 (27,000)
บริษัทดีดีเหล็กกลา จํากัด           282,700 208,000 (74,700)
                                    1,437,100 1,366,000 (71,100)
ยอดคงเหลือของบัญชีคาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุนกอน                 -0-
ปรับปรุง
ปรับปรุงคาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุน – เครดิต                   (71,100)
6-33
                            31 ธันวาคม 25+9
       กําไรขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้น - สวนของผูถือหุน 71,100
            คาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุน - เผื่อขาย .............. 71,100
ในวันที่ 23 มกราคม 25+10 บริษัทนนทรีขายหุนทั้งหมดของบริษัทตะวัน
ออกอุตสาหกรรม โดยไดรับเงินสด 574,440 บาท กําไรที่เกิดขึ้นจากการ
จําหนายหุน คํานวณจากการเปรียบเทียบราคาทุนและราคาขายไดดังนี้
ราคาขาย                                                        574,440 บาท
ราคาทุนของหุนบริษัทตะวันออกอุตสาหกรรม                         519,400
กําไรจากการจําหนายหุน                                         55,040
                              23 มกราคม 25+10
       เงินสด ......................................................574,440
            หลักทรัพย - เผื่อขาย.......................................... 519,400
            กําไรจากการจําหนายหลักทรัพย ............................ 55,040
      สมมติตอไปวาในวันที่ 10 กุมภาพันธ 25+10 บริษัทนนทรีซ้อหุน                ื
20,000 หุนของบริษัททักษิณขนสง ในราคาตลาดหุนละ 25.50 บาทรวม
กับคานายหนาอีก 3,700 บาท รวมเปนตนทุนทั้งสิ้น 513,700 บาท
    ในวันที่ 31 ธันวาคม 25+10 กลุมหลักทรัพยเผื่อขายของบริษัท
นนทรี มียอดดังนี้
6-34
                              กลุมหลักทรัพยเผื่อขาย
                             ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+10
        เงินลงทุน               ราคาทุน        มูลคา     กําไร(ขาดทุน)
                                              ยุติธรรม    ที่ยังไมเกิดขึ้น
บริษัททักษิณขนสง จํากัด          513,700 556,700            43,000
บริษัทเอสเอ็มอี จํากัด            635,000 725,100            90,100
บริษัทดีดีเหล็กกลา จํากัด        282,700 278,100            (4,600)
                                1,431,400 1,559,900          128,500
ยอดคงเหลือของบัญชีคาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุน
กอนปรับปรุง                                                 (71,100)
ปรับปรุงคาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุน – เดบิต               199,600

                                31 ธันวาคม 25+10
        คาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุน - เผื่อขาย ....199,600
             กําไรขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้น - สวนของผูถือหุน...... 199,600
     บริษัทสามารถถือหลักทรัพยเผื่อขายเปนเงินลงทุนชั่วคราวหรือเงิน
ลงทุนระยะยาวก็ได
      หลักทรัพยเพื่อคา
      การบันทึกบัญชีของหลักทรัพยเพื่อคาจะเหมือนกับหลักทรัพยเผื่อ
ขายยกเวนการบันทึกและแสดงรายการกําไรขาดทุนจากการถือหลักทรัพย
ใหถอเปนสวนหนึ่งของงบกําไรขาดทุน ดังนั้นจึงใชชื่อบัญชี “กําไรหรือขาด
    ื
6-35
ทุนทียงไมเกิดขึ้น-งบกําไรขาดทุน” แทน หลักทรัพยเพื่อคาจะถือเปนเงิน
     ่ั
ลงทุนชั่วคราวเทานั้น
ถือหุนตั้งแต 20% ถึง 50%
      การถือหุนตั้งแต 20% จนถึง 50% จะทําใหผูถือหุนมีอิทธิพลอยาง
เปนสาระสําคัญ (Significant influence) ตอการดําเนินงานและ
นโยบายทางการเงินของกิจการที่ไปลงทุน เชน การแตงตั้งคณะกรรมการ
บริหาร การเขาไปมีสวนรวมในการตัดสินใจ การกําหนดนโยบายการคาที่
สําคัญระหวางบริษัท การแลกเปลี่ยนบุคลากรหรือเทคโนโลยีระหวางกัน
เรียกการลงทุนนี้วา “เงินลงทุนในบริษัทรวม” วิธการบัญชีที่นํามาใชคือวิธี
                                               ี
สวนไดเสีย
     วิธสวนไดเสีย
        ี
      ตามวิธสวนไดเสีย (Equity method) ผูลงทุนจะบันทึกเงินลงทุน
             ี
เริมตนดวยราคาทุน หลังจากนั้นก็จะปรับปรุงบัญชีเงินลงทุนดวยสวนได
   ่
เสียในกําไรขาดทุนของบริษัทที่ออกหุนและปรับลดบัญชีเงินลงทุนดวยเงิน
ปนผลทีไดรับ กลาวคือกําไร (ขาดทุน) จะทําใหเงินลงทุนเพิ่มขึ้น (ลดลง)
        ่
สวนเงินปนผลที่ไดรับจะนําไปลดบัญชีเงินลงทุน
6-36
เปรียบเทียบวิธีมูลคายุติธรรมและวิธสวนไดเสีย
                                   ี
ตัวอยางที่ 6-7 บริษทนนทรี จํากัดซื้อสวนไดเสีย 20% ในบริษทมินิ
                    ั                                           ั
จํากัด โดยแบงออกเปน 2 กรณีดังนี้
      กรณีที่ 1 สมมติวาบริษัทนนทรีไมสามารถเขาไปมีบทบาทในการ
      บริหารและตราสารถูกจัดประเภทเปนหลักทรัพยเผื่อขาย--วิธี มูลคา
      ยุตธรรมจะถูกนํามาใชในการบันทึกบัญชี
         ิ
      กรณีที่ 2 สมมติวาบริษัทนนทรีสามารถเขาไปมีอิทธิพลอยางเปน
                        
      สาระสําคัญตอการบริหารงานบริษัทมินิ -- ใชวิธีสวนไดเสียในการ
      บันทึกบัญชี
      หากกิจการใชวิธีมูลคายุติธรรมในการบันทึกบัญชี กําไรสุทธิของ
บริษัทที่ออกหุนจะไมนํามารับรูเปนกําไรของบริษัทที่ลงทุน การบันทึก
บัญชีสําหรับวิธีทั้งสอง มีดังตอไปนี้
                    การบันทึกบัญชีของบริษัทนนทรี จํากัด
         วิธีมลคายุติธรรม
              ู                               วิธีสวนไดเสีย
"ในวันที่ 2 มกราคม 25+2 บริษัทนนทรีลงทุนซื้อหุน 48,000 หุน (20% ของหุน
สามัญของบริษัทมินิ) ในราคาทุนหุนละ 20 บาท
หลักทรัพยเผื่อขาย 960,000         เงินลงทุนในบริษัทมินิ   960,000
  เงินสด                   960,000 เงินสด                            960,000
6-37

(ตอ)               การบันทึกบัญชีของบริษัทนนทรี จํากัด
        วิธีมูลคายุติธรรม                        วิธีสวนไดเสีย
"ในป 25+2 บริษัทมินิรายงานกําไรสุทธิ 400,000 บาท
                   ไมบันทึกบัญชี             เงินลงทุนในบริษัทมินิ   80,000
                                                  รายไดจากการลงทุน            80,000
                                              (400,000 x 20%)
" 31 ธันวาคม 25+2 หุนสามัญ 48,000 หุนของบริษทมินิมีราคาตลาดหุนละ 24
                                              ั
บาท หรือเปนเงิน 1,152,000 บาท
คาเผื่อการปรับมูลคา                                      ไมบันทึกบัญชี
เงินลงทุน-เผื่อขาย          192,000
   กําไรขาดทุนที่ยังไม
  เกิดขึ้น-สวนของผูถอหุน
                        ื           192,000
" 25 มค 25+3 บริษัทมินิประกาศและจายเงินสดปนผล 200,000 บาท
เงินสด                      40,000         เงินสด                 40,000
    เงินปนผลรับ                     40,000 เงินลงทุนในบริษัทมินิ        40,000
"สําหรับป 25+3 บริษัทมินิรายงานขาดทุนสุทธิ 100,000 บาท
                   ไมบันทึกบัญชี             ขาดทุนจากการลงทุน 20,000
                                                เงินลงทุนในบริษัทมินิ  20,000
"31 ธค 25+3 ราคาตลาดของหุนของบริษทมินิหุนละ 22 บาท หรือ 1,056,000 บ.
                                  ั
กํ าไรขาดทุ น ที่ ยั ง ไม เ กิ ด 96,000                   ไมบันทึกบัญชี
ขึ้น-สวนของผูถือหุน
     คาเผื่อการปรับมูล
      คาเงินลงทุน-เผื่อขาย              96,000
ขาดทุนทียังไมเกิดขึ้นเทากับ 1,152,000-1,056,000 บาท
           ่
6-38
     วิธสวนไดเสีย-เพิ่มเติม
        ี 
     วิธปฏิบตทางบัญชีตามวิธีสวนไดเสีย นอกจากบริษัทผูลงทุนจะตอง
        ี ัิ
ปรับปรุงบัญชีเงินลงทุนดวยผลกําไรและเงินปนผลที่ไดรับแลว ผูลงทุนยัง
ตองตัดจําหนายผลตางระหวางราคาทุนและราคาตามบัญชีของสวนได
เสียในสินทรัพยสุทธิของบริษัทผูถูกลงทุน ณ วันซื้อหุนดวย โดย
กระจายผลตางไปปรับปรุงสินทรัพยและหนี้สินของบริษัทที่ออกหุนให
แสดงตามมูลคายุติธรรมตามสัดสวนของหุนที่ซ้ือ หากกระจายไมหมด
ผลตางที่เหลือถือวาเปน “คาความนิยม (Goodwill)” และหากบริษัทที่
ออกหุนมี “รายการพิเศษ (Extraordinary items)” เกิดขึ้น รายไดจาก
การลงทุนตองแสดงกอนรายการพิเศษ
ตัวอยางที่ 6-8 ในวันที่ 1 มกราคม 25+4 บริษัทนนทรี จํากัดซื้อหุน
สามัญ 250,000 หุนของบริษัทพานิช จํากัด จากหุนที่ออกจําหนายแลวทั้ง
หมดจํานวน 1,000,000 หุน เปนเงินทั้งสิ้น 4,250,000 บาท บริษัทพานิช
มีสนทรัพยสุทธิ ณ วันที่ถกซื้อหุนเปนเงิน 15,000,000 บาท จากการ
    ิ                     ู
ประเมินมูลคาสินทรัพยพบวาสินทรัพยที่มีคาเสื่อมราคามีราคาตามบัญชี
ตํากวาราคาตลาด 300,000 บาท สวนที่เหลือถือเปนคาความนิยม สิน
  ่
ทรัพยถาวรมีอายุการใชงานอีก 10 ป คาความนิยมใหตัดจําหนายภายใน
20 ป
6-39
       บริษทพานิชรายงานกําไรสุทธิสําหรับป 25+4 เทากับ 1,400,000
           ั
บาทซึงไดรวมผลขาดทุนจากรายการพิเศษ 200,000 บาท ในวันที่ 30
     ่
มิถนายน 25+4 และ 31 ธันวาคม 25+4 บริษัทพานิชจายเงินปนผล
   ุ
250,000 บาทและ 450,000 บาทตามลําดับ
       การเปรียบเทียบราคาทุนและราคาตามบัญชีของสินทรัพยสุทธิ ณ
วันซื้อหุน มีดังนี้:
       ราคาทุน                                 4,250,000 บาท
             หัก ราคาตามบัญชี (.25×15,000,000) 3,750,000
             ราคาทุนสูงกวาราคาตามบัญชี          500,000
             กระจายผลตาง:
                      สินทรัพยถาวร              300,000
                      คาความนิยม                200,000
             เหลือ                                 -0-
     บริษทนนทรีจะบันทึกรายการลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย ดังตอไปนี้
         ั
                                 1 มกราคม 25+4
      เงินลงทุนในบริษัทพานิช...........................4,250,000
           เงินสด ............................................................. 4,250,000
     บันทึกการลงทุนซื้อหุนสามัญบริษัทพานิช จํานวน 250,000 หุน
6-40
                              30 มิถุนายน 25+4
     เงินสด..........................................................62,500
           เงินลงทุนในบริษัทพานิช ........................................ 62,500
     บันทึกรับเงินปนผลจํานวน 250,000×.25 จากบริษัทพานิช
                              31 ธันวาคม 25+4
     เงินลงทุนในบริษัทพานิช .............................350,000
     ขาดทุนจากการลงทุน (รายการพิเศษ)............50,000
             รายไดจากการลงทุน (กําไรตามปกติ) ................... 400,000
     รับรูสวนไดเสียในกําไรกอนรายการพิเศษ (1,600,000×.25) และ
ขาดทุนจากรายการพิเศษ (200,000×.25)
                              31 ธันวาคม 25+4
     เงินสด........................................................112,500
          เงินลงทุนในบริษัทพานิช ...................................... 112,500
     บันทึกรับเงินปนผล 450,000×.25
                              31 ธันวาคม 25+4
     รายไดจากการลงทุน .....................................40,000
          เงินลงทุนในบริษัทพานิช ........................................ 40,000
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6
Chapter 6

More Related Content

What's hot

ประหยัดภาษีอย่างฉลาดไม่พลาดลงุทุน Ltf&rmf
ประหยัดภาษีอย่างฉลาดไม่พลาดลงุทุน Ltf&rmfประหยัดภาษีอย่างฉลาดไม่พลาดลงุทุน Ltf&rmf
ประหยัดภาษีอย่างฉลาดไม่พลาดลงุทุน Ltf&rmfThanyawan Chaisiri
 
Financial management for exceutive
Financial management for exceutiveFinancial management for exceutive
Financial management for exceutiveKASETSART UNIVERSITY
 
Read financial statement in 3 hours
Read financial statement in 3 hoursRead financial statement in 3 hours
Read financial statement in 3 hours
Earn LikeStock
 
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียนการบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
tumetr1
 
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
การบริหารเงินทุนหมุนเวียนการบริหารเงินทุนหมุนเวียน
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
tumetr1
 
Financial statement analysis
Financial statement analysisFinancial statement analysis
Financial statement analysis
tumetr1
 
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุนโครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
tumetr1
 
ก้าวแรกตลท. Setjfc2011
ก้าวแรกตลท. Setjfc2011ก้าวแรกตลท. Setjfc2011
ก้าวแรกตลท. Setjfc2011jiggee
 
Financial Skills ทักษะทางการเงินเบื้องต้น
Financial  Skills ทักษะทางการเงินเบื้องต้นFinancial  Skills ทักษะทางการเงินเบื้องต้น
Financial Skills ทักษะทางการเงินเบื้องต้น
ปิติ นิยมศิริวนิช
 
37ปีตลท.
37ปีตลท.37ปีตลท.
37ปีตลท.jiggee
 
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
Orawonya Wbac
 
Aec (laos investment rv02)
Aec (laos investment rv02)Aec (laos investment rv02)
Aec (laos investment rv02)
Bunchob Ongtanasin
 
Mini estate
Mini estateMini estate
Mini estate
PasitAllowner
 
วงจรการบริหารการคลัง
วงจรการบริหารการคลังวงจรการบริหารการคลัง
วงจรการบริหารการคลัง
อบต. เหล่าโพนค้อ
 
Online smart investor courses
Online smart  investor coursesOnline smart  investor courses
Online smart investor courses
phillipcapitalth
 
Understanding Strategies
Understanding StrategiesUnderstanding Strategies
Understanding Strategies
siriporn pongvinyoo
 
พิชิตหุ้นด้วย "ปัจจัยพื้นฐาน" และ "ปัจจัยทางเทคนิค"
พิชิตหุ้นด้วย "ปัจจัยพื้นฐาน" และ "ปัจจัยทางเทคนิค"พิชิตหุ้นด้วย "ปัจจัยพื้นฐาน" และ "ปัจจัยทางเทคนิค"
พิชิตหุ้นด้วย "ปัจจัยพื้นฐาน" และ "ปัจจัยทางเทคนิค"
Audyken Ssy
 

What's hot (19)

ประหยัดภาษีอย่างฉลาดไม่พลาดลงุทุน Ltf&rmf
ประหยัดภาษีอย่างฉลาดไม่พลาดลงุทุน Ltf&rmfประหยัดภาษีอย่างฉลาดไม่พลาดลงุทุน Ltf&rmf
ประหยัดภาษีอย่างฉลาดไม่พลาดลงุทุน Ltf&rmf
 
Financial management for exceutive
Financial management for exceutiveFinancial management for exceutive
Financial management for exceutive
 
Read financial statement in 3 hours
Read financial statement in 3 hoursRead financial statement in 3 hours
Read financial statement in 3 hours
 
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียนการบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
การบริหารสินทรัพย์หมุนเวียน
 
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
การบริหารเงินทุนหมุนเวียนการบริหารเงินทุนหมุนเวียน
การบริหารเงินทุนหมุนเวียน
 
Financial statement analysis
Financial statement analysisFinancial statement analysis
Financial statement analysis
 
08 businessfinance v1
08 businessfinance v108 businessfinance v1
08 businessfinance v1
 
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุนโครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
โครงสร้างทางการเงินและการจัดหาเงินทุน
 
ก้าวแรกตลท. Setjfc2011
ก้าวแรกตลท. Setjfc2011ก้าวแรกตลท. Setjfc2011
ก้าวแรกตลท. Setjfc2011
 
Financial Skills ทักษะทางการเงินเบื้องต้น
Financial  Skills ทักษะทางการเงินเบื้องต้นFinancial  Skills ทักษะทางการเงินเบื้องต้น
Financial Skills ทักษะทางการเงินเบื้องต้น
 
37ปีตลท.
37ปีตลท.37ปีตลท.
37ปีตลท.
 
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
ใบงานวิชาการเงินธุรกิจ
 
02 businessfinance v1
02 businessfinance v102 businessfinance v1
02 businessfinance v1
 
Aec (laos investment rv02)
Aec (laos investment rv02)Aec (laos investment rv02)
Aec (laos investment rv02)
 
Mini estate
Mini estateMini estate
Mini estate
 
วงจรการบริหารการคลัง
วงจรการบริหารการคลังวงจรการบริหารการคลัง
วงจรการบริหารการคลัง
 
Online smart investor courses
Online smart  investor coursesOnline smart  investor courses
Online smart investor courses
 
Understanding Strategies
Understanding StrategiesUnderstanding Strategies
Understanding Strategies
 
พิชิตหุ้นด้วย "ปัจจัยพื้นฐาน" และ "ปัจจัยทางเทคนิค"
พิชิตหุ้นด้วย "ปัจจัยพื้นฐาน" และ "ปัจจัยทางเทคนิค"พิชิตหุ้นด้วย "ปัจจัยพื้นฐาน" และ "ปัจจัยทางเทคนิค"
พิชิตหุ้นด้วย "ปัจจัยพื้นฐาน" และ "ปัจจัยทางเทคนิค"
 

Similar to Chapter 6

Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับCh2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับple2516
 
บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8praphol
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯบทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
Thamonwan Theerabunchorn
 
Community Banking in Thailand: Financial Performance Indicators and Prelimina...
Community Banking in Thailand: Financial Performance Indicators and Prelimina...Community Banking in Thailand: Financial Performance Indicators and Prelimina...
Community Banking in Thailand: Financial Performance Indicators and Prelimina...
Sarinee Achavanuntakul
 
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจรูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจNetsai Tnz
 
ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลยใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลยthnaporn999
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสmaysupaporn
 
พอเพียง
พอเพียงพอเพียง
พอเพียง
Burapha University
 
Act411 3งบดุล
Act411 3งบดุลAct411 3งบดุล
Act411 3งบดุล
Aingaru Matarnai
 
Money management
Money managementMoney management
Money management
godempty
 
Latin financial crisis_and_hedge_fund
Latin financial crisis_and_hedge_fundLatin financial crisis_and_hedge_fund
Latin financial crisis_and_hedge_fund
Kan Yuenyong
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสขอ พรดาว
 
บทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อ
บทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อบทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อ
บทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อ
Teetut Tresirichod
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2praphol
 

Similar to Chapter 6 (20)

Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับCh2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
Ch2 เงินลงทุนและตั๋วเงินรับ
 
บบที่8
บบที่8บบที่8
บบที่8
 
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯบทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
บทที่ 1ความรู้เบื้องต้นฯ
 
Community Banking in Thailand: Financial Performance Indicators and Prelimina...
Community Banking in Thailand: Financial Performance Indicators and Prelimina...Community Banking in Thailand: Financial Performance Indicators and Prelimina...
Community Banking in Thailand: Financial Performance Indicators and Prelimina...
 
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจรูปแบบองค์กรธุรกิจ
รูปแบบองค์กรธุรกิจ
 
หน่วยที่๕
หน่วยที่๕หน่วยที่๕
หน่วยที่๕
 
DGD641-Strategic selection
DGD641-Strategic selectionDGD641-Strategic selection
DGD641-Strategic selection
 
ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลยใบกิจกรรมกลุ่ม  ระดับ  ม พร้อมเฉลย
ใบกิจกรรมกลุ่ม ระดับ ม พร้อมเฉลย
 
10 businessfinance v1
10 businessfinance v110 businessfinance v1
10 businessfinance v1
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
พอเพียง
พอเพียงพอเพียง
พอเพียง
 
Act411 3งบดุล
Act411 3งบดุลAct411 3งบดุล
Act411 3งบดุล
 
Investinginequity 8aug10
Investinginequity 8aug10Investinginequity 8aug10
Investinginequity 8aug10
 
01 businessfinance v1
01 businessfinance v101 businessfinance v1
01 businessfinance v1
 
Money management
Money managementMoney management
Money management
 
Latin financial crisis_and_hedge_fund
Latin financial crisis_and_hedge_fundLatin financial crisis_and_hedge_fund
Latin financial crisis_and_hedge_fund
 
งานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัสงานนำเสนออ.สุวรัส
งานนำเสนออ.สุวรัส
 
บทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อ
บทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อบทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อ
บทที่ 7 การบริหารเงินลงทุนในการจัดซื้อ
 
บทที่2
บทที่2บทที่2
บทที่2
 

Chapter 6

  • 1. !""⌫$ & '()*+(",* หัวเรื่อง ! การจัดประเภทเงินลงทุน ! ราคาทุนของเงินลงทุน ! การลงทุนในตราสารหนี้ ! ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนด ! หลักทรัพยเผื่อขาย ! การจําหนายหลักทรัพยเผื่อขาย ! การแสดงรายการในงบการเงิน ! หลักทรัพยเพื่อคา ! การจําหนายหลักทรัพยเพื่อคา ! ประเด็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับตราสารหนี้-การซื้อหุนกูระหวางงวด การจายดอกเบี้ย ! การลงทุนในตราสารทุน ! ถือหุนนอยกวา 20% ! ถือหุนตั้งแต 20% ถึง 50% ! เปรียบเทียบวิธีมูลคายุติธรรมและวิธสวนไดเสีย ี
  • 2. 6-2 ! การถือหุนมากกวา 50% ! ประเด็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับตราสารทุน ! การโอนเปลี่ยนประเภทของหลักทรัพย ! การดอยคาของหลักทรัพย ! ประเด็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับเงินลงทุน ! รายไดจากเงินลงทุนในตราสารทุน ! การรับหุนปนผล ! การแยกหุน ! สิทธิซื้อหุน ! ราคาเวนคืนกรมธรรมประกันชีวิต ! เงินกองทุน ! การเปดเผยขอมูลเกี่ยวกับเงินลงทุน
  • 3. 6-3 การบัญชีสําหรับการลงทุนที่จะอธิบายในบทนี้ จะแบงออกเปน 3 ประเด็นหลัก คือ (1) การจัดประเภทเงินลงทุน (2) การตีราคาและการวัดผลกําไรจากการลงทุน (3) การเปดเผยขอมูล การจัดประเภทเงินลงทุน การจัดประเภทเงินลงทุน (Classification) ขึ้นอยูกับระยะเวลาที่ ฝายบริหารตั้งใจจะถือหลักทรัพยนั้น การจัดประเภทเงินลงทุนนับเปนสิ่ง สํ าคัญเนื่องจากวิธีการบัญชีจะแตกตางกันในหลักทรัพยแตละประเภท การบัญชีสําหรับหลักทรัพยประเภทตาง ๆ ขึ้นอยูกับปจจัยดังตอไปนี้ 1. ประเภทของหลักทรัพย เชน เงินลงทุนในตราสารหนี้หรือตราสาร ทุน 2. มูลคายุติธรรมของหลักทรัพยสามารถหาไดหรือไม 3. ผูบริหารตองการถือเงินลงทุนจนกวาจะครบกําหนด (ระยะยาว)  หรือถือเปนเงินลงทุนชั่วคราว 4. สํ าหรับการลงทุนในหลักทรัพยประเภทหุนที่มีสิทธิออกเสียง บริษัทที่ลงทุนสามารถเขาไปมีอิทธิพลอยางเปนสาระสําคัญหรือ สามารถเขาไปควบคุมกิจการของบริษัทที่ถูกลงทุนไดในระดับใด
  • 4. 6-4 ตารางที่ 6-1 วิธการบัญชีที่ใชสําหรับเงินลงทุนประเภทตาง ๆ ี การจัดประเภท เงินลงทุนในตราสารหนี้ เงินลงทุนในตราสารทุน ควบคุม (Control) – ลง _ จัดทํางบการเงินรวม ทุนในหุนที่มีสิทธิออกเสียง (Consolidation) มากกวา 50% (ลงทุนใน บริษัทยอย) มีอทธิพลอยางเปนสาระ ิ _ วิธีสวนไดเสีย สําคัญ (Significant (Equity method) influence) – ถือหุนที่มี สิทธิออกเสียงตั้งแต 20% ถึง 50% (ลงทุนในบริษัท รวม) ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบ วิธราคาทุนตัดจําหนวย ี - กําหนด(Held to (Amortized cost maturity) method) ตราสารหนี้และตราสารทุน วิธีมลคายุติธรรม (Fair value method) ซึ่งจะนําผลกําไรหรือ ู ที่จัดประเภทเปนหลัก ขาดทุนที่ยงไมเกิดขึ้น (Unrealized holding gain or loss) ไป ั ทรัพยเพื่อคา แสดงในงบกําไรขาดทุน (Trading securities) ตราสารหนี้และตราสารทุน วิธีมลคายุติธรรม (Fair value method) ซึ่งจะนําผลกําไรหรือ ู ที่จัดประเภทเปนหลัก ขาดทุนที่ยงไมเกิดขึ้น (Unrealized holding gain or loss) ไป ั ทรัพยเผื่อขาย แสดงเปนรายการแยกตางหากในสวนของเจาของ (Available for sale securities)
  • 5. 6-5 (ตอ) การจัดประเภท เงินลงทุนในตราสารหนี้ เงินลงทุนในตราสารทุน ตราสารทุนที่ไมอยูในความ _ วิธราคาทุน ี ตองการของตลาด (ไม (Cost method) สามารถหามูลคายุติธรรม ได) จัดประเภทเปนเงินลง ทุนทั่วไป ตารางที่ 6-1 สามารถสรุปวิธีการบัญชีสําหรับเงินลงทุนได 6 วิธี กิจ การจะเลือกวิธีบัญชีชนิดใดก็ขึ้นอยูกับการจัดประเภทเงินลงทุน ดังนี้ 1. วิธีการจัดทํ างบการเงินรวม (เงินลงทุนในตราสารทุนที่ผูซื้อ สามารถเขาไปควบคุมกิจการที่ออกหุนได) 2. วิธีสวนไดเสีย (เงินลงทุนในตราสารทุนที่ผูซ้ือสามารถเขาไปมี อิทธิพลอยางเปนสาระสําคัญ) 3. วิธราคาทุนตัดจําหนาย (เงินลงทุนในตราสารหนี้ที่จะถือจนครบ ี กําหนด) 4. วิธีมูลคายุติธรรมที่รับรูกําไรขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นในงบกําไรขาด ทุน (หลักทรัพยเพื่อคา) 5. วิธีมูลคายุติธรรมที่รับรูกํ าไรขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นเปนรายการ แยกตางหากในสวนของผูถือหุน (หลักทรัพยเผื่อขาย) 6. วิธราคาทุน (ตราสารทุนที่ไมสามารถหามูลคายุติธรรมได) ี
  • 6. 6-6 ตราสารหนี้ (Debt security) หมายถึงหลักทรัพยที่แสดงความ เปนเจาหนี้กับหนวยงานที่ออกตราสารหนี้ เชน พันธบัตรรัฐบาล หุนกู พันธบัตรรัฐวิสาหกิจ หนี้สินที่แปลงสภาพได ตั๋วเงินคลัง หุนบุริมสิทธิที่มี กําหนดไถถอนหรือใหทางเลือกแกผูลงทุนในการไถถอน ตราสารทุน (Equity security) หมายถึงหลักทรัพยที่แสดงความ เปนเจาของในกิจการที่ออกตราสารทุน เชน หุนสามัญ หุนบุริมสิทธิ ตรา  สารแสดงสิทธิในการซื้อหุน (Warrant) สัญญาสิทธิการซื้อ (Call options) หรือสัญญาสิทธิการขาย (Put options) หุนในราคาที่กําหนดไว หลักทรัพยเพื่อคา (Trading security) หมายถึงเงินลงทุนในตรา สารหนี้ทุกชนิดหรือตราสารทุนในความตองการของตลาด (หุนที่จด ทะเบียนในตลาดหลักทรัพย) ที่กจการถือไวโดยมีวัตถุประสงคหลักที่จะ ิ ขายในอนาคตอันใกล ทําใหกิจการถือหลักทรัพยนั้นไวเปนเวลาสั้น ๆ เพื่อหากําไรจากการเปลี่ยนแปลงราคาของหลักทรัพย ดังนั้นหลักทรัพย เพื่อคาจึงมักมีอัตราการหมุนเวียนคอนขางสูงและจัดประเภทเปนเงินลง ทุนชั่วคราว หลักทรัพยเผื่อขาย (Available-for-sale) หมายถึงเงินลงทุนใน ตราสารหนี้ทุกชนิดและตราสารทุนในความตองการของตลาดซึงไมถือเปน ่ หลักทรัพยเพื่อคาหรือเงินลงทุนในบริษัทยอยหรือบริษัทรวม กิจการจะ
  • 7. 6-7 ถือหลักทรัพยเผื่อขายโดยไมมีกําหนดเวลาที่แนนอน อาจถือเปนเงินลง ทุนชั่วคราวหรือระยะยาวก็ได เงินลงทุนทั่วไป หมายถึง เงินลงทุนในตราสารทุนที่ไมอยูในความ ตองการของตลาด ทําใหกิจการไมสามารถจัดประเภทเปนหลักทรัพยเพื่อ คาหรือหลักทรัพยเผื่อขายได เงินลงทุนทั่วไปสามารถแยกประเภทเปนเงิน ลงทุนชั่วคราวหรือเงินลงทุนระยะยาว หากกิจการตั้งใจจะถือตราสารหนี้หรือตราสารทุนไวไมเกิน 1 ปจะ เรี ย กหลั ก ทรั พ ย ก ลุ  ม นี้ว  า “เงิ น ลงทุ น ชั่ ว คราว (Temporary investment)” ซึงจะนําไปแสดงเปนสินทรัพยหมุนเวียน เงินลงทุนชั่ว ่ คราวประกอบดวยหลักทรัพยเพื่อคา หลักทรัพยเผื่อขาย เงินลงทุนทั่วไป และตราสารหนี้ที่จะครบกําหนดภายใน 1 ป แตหากกิจการตั้งใจจะถือ หลักทรัพยที่ซื้อมาเปนเวลาเกินกวา 1 ปจะเรียกหลักทรัพยกลุมนี้วา “เงิน  ลงทุนระยะยาว (Long-term investment)” โดยจะนําไปแสดงในสวน ของสินทรัพยไมหมุนเวียนในงบดุล เงินลงทุนระยะยาวประกอบดวยหลัก ทรัพยเผื่อขาย เงินลงทุนทั่วไปและตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนด การจัดประเภทเงินลงทุนนี้ กิจการตองมีวัตถุประสงคที่ชัดเจนใน การถือเงินลงทุนนับตั้งแตเริ่มแรกที่ไดเงินลงทุนนั้นมา หากกิจการไมมี วัตถุประสงคที่ชัดเจน กิจการตองจัดประเภทเงินลงทุนนั้นเปนหลักทรัพย เผื่อขายโดยทันที
  • 8. 6-8 ชนิดของเงินลงทุน ตราสารหนี้ ตราสารทุน ใชวิธีราคา ถือหุนทีมี ใช ตั้งใจจะถือจน สิทธิออก ครบกําหนด ทุนตัด เสียงมากกวา การรวมธุรกิจ หรือไม ? จําหนาย 50% ? ไมใช ใช ไมใช จัดประเภทเปนหลักทรัพยที่ มีอิทธิพล ใช จะถือจนครบกําหนด อยางเปนสาระ วิธีสวนไดเสีย สําคัญ ? ถือหุน>20%? ไมใช ใชวิธีมูลคา มี หลักทรัพยมี ไมมี ใชวิธีราคาทุน มูลคายุติ ยุติธรรม ธรรมหรือไม จัดประเภทเปนหลักทรัพย ตีราคาและแสดงใน แสดงกําไรหรือขาด เพื่อคา ทุนที่ยังไมเกิดขึ้น งบดุลดวย เปนรายไดในงวด (สินทรัพยหมุนเวียน) ถือไวเพื่อ ใช มูลคายุติ ธรรม ขายในงวด หรือไม ? ไมใช จัดประเภทเปนหลัก ตีราคาและแสดงในงบ แสดงกําไรหรือขาดทุน ทรัพยเผื่อขาย (สิน ที่ยังไมเกิดขึ้นใน ทรัพยหมุนเวียนหรือไม ดุลดวยมูลคายุติธรรม สวนของผูถือหุน หมุนเวียน) ภาพที่ 6-1 การตัดสินใจเพื่อนําวิธีการบัญชีมาใชในการลงทุน
  • 9. 6-9 ราคาทุนของเงินลงทุน ราคาทุนของเงินลงทุนประกอบดวยรายจายโดยตรงทั้งสิ้นที่กิจการ จายเพือใหไดเงินลงทุนนั้นมา เชน รายจายในการซื้อเงินลงทุน คานาย ่ หนา คาธรรมเนียมและคาภาษีอากร กิจการอาจซื้อเงินลงทุนโดยชําระเปน เงินสด เปนเงินเชื่อ (On margin) หรือรายการอื่นที่ไมใชเงินสด การลงทุนในตราสารหนี้ เงินลงทุนในตราสารหนี้สินจะแบงออกเปน 3 ประเภทตามวัตถุ ประสงคในการถือหลักทรัพยดังนี้ 1. ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนด (Held-to-maturity) หมายถึง เงินลงทุนในตราสารหนี้ที่กิจการซื้อไวโดยมีความตั้งใจแนวแนวาจะ ถือจนครบกําหนดไถถอน 2. หลักทรัพยเพื่อคา (Trading securities) หมายถึง เงินลงทุนใน ตราสารหนี้ทุกชนิดที่กิจการซื้อมาและมีวัตถุประสงคหลักที่จะขาย ในอนาคตอันใกล ทําใหกิจการถือหลักทรัพยนั้นไวในระยะเวลาสั้น เพือหากําไรจากผลตางของราคาซื้อและราคาขาย ่ 3. หลักทรัพยเผื่อขาย (Available-for-sale) หมายถึง เงินลงทุนใน ตราสารหนี้ทุกชนิดที่ไมสามารถจัดประเภทเปนตราสารหนี้ที่ถือไว จนครบกําหนดหรือหลักทรัพยเพื่อคาได
  • 10. 6-10 ตารางที่ 6-2 การจัดประเภทตราสารหนี้วิธีการบัญชีและการแสดงรายงาน การจัดประเภท การตีราคา กําไรหรือขาดทุนที่ยัง ผลตอบแทน ไม เกิดขึ้นจากการถือ สินทรัพย ! ตราสารหนี้ ราคาทุนตัด ไมรับรู ดอกเบี้ยรับและกํ าไรขาด ที่จะถือจนครบ จําหนาย ทุนจากการจําหนาย กําหนด ! หลักทรัพย มูลคายุตธรรม ิ รับรูในงบกําไรขาดทุนดอกเบี้ยรับและกํ าไรขาด เพื่อคา ทุนจากการจําหนาย ! หลักทรัพย มูลคายุติธรรม รับรูโดยแสดงเปนราย ดอกเบี้ยรับและกํ าไรขาด เผื่อขาย การแยกตางหากในสวน ทุนจากการจําหนาย ของผูถือหุน ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนด ตราสารหนี้เทานั้นที่สามารถจัดประเภทเปนหลักทรัพยที่จะถือจน ครบกําหนด เนื่องจากตามคําจํากัดความ ตราสารทุนไมมีระยะเวลาครบ กําหนด ตราสารหนี้ที่จะจัดประเภทเปนตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนด ไดก็ตอเมื่อกิจการ (1) มีความตั้งใจแนวแน (2) มีความสามารถที่จะถือหลักทรัพยเหลานี้จนครบกําหนด ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกํ าหนดจะบันทึกบัญชีดวยราคาทุนตัด จําหนาย ไมใชมูลคายุติธรรม
  • 11. 6-11 ตัวอยางที่ 6-1 บริษัทนนทรี จํากัด ซื้อหุนกูมูลคา 200,000 บาท อัตรา ดอกเบี้ย 8% จากบริษัทไทยคม จํากัด เมื่อวันที่ 1 มกราคม ป 25+3 โดยจายเงินสด 184,556 บาท หุนกูจะครบกําหนดไถถอนในวันที่ 1 มกราคม ป 25+8 บริษัทไทยคมจายดอกเบี้ยทุกวันที่ 1 กรกฎาคม และ 1 มกราคม สวนลด 15,444 บาท (200,000-184,556) เกิดขึ้นจากอัตรา ดอกเบี้ยที่แทจริง 10% การบันทึกบัญชีสําหรับการลงทุนทําไดดังนี้ ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนด-หุนกู.......184,556 เงินสด................................................................ 184,556 ส ว นลดหรื อ ส ว นเกิ น จากเงิ น ลงทุ น ระยะยาวในหุ  น กู  จ ะต อ งตัด จําหนายใหหมดไป โดยมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 40 เรื่องการบัญชี สําหรับเงินลงทุนในตราสารหนี้และตราสารทุน กําหนดใหตัดจําหนายดวย วิธอตราดอกเบี้ยที่แทจริง (Effective interest method) หรือวิธีอื่นที่ ีั ใหผลไมแตกตางจากวิธีอัตราดอกเบี้ยที่แทจริงอยางมีนัยสําคัญ
  • 12. 6-12 ตารางที่ 6-3 การคํานวณเกี่ยวกับดอกเบี้ยรับ หุนกู 8% อัตราดอกเบี้ยที่แทจริง 10% วันที่ ดอกเบี้ยที่ไดรับ รายไดดอก ตัดจําหนาย ราคาตามบัญชี เปนเงินสด เบี้ย สวนลดมูลคา ของหุนกู หุนกู 1 มค. 25+3 184,556 1 กค. 25+3 8,000ก 9,228ข 1,228ค 185,784ง 1 มค. 25+4 8,000 9,290 1,290 187,074 1 กค. 25+4 8,000 9,354 1,354 188,428 1 มค. 25+5 8,000 9,422 1,422 189,850 1 กค. 25+5 8,000 9,492 1,492 191,342 1 มค. 25+6 8,000 9,566 1,566 193,090 1 กค. 25+6 8,000 9,646 1,646 194,554 1 มค. 25+7 8,000 9,728 1,728 196,282 1 กค. 25+7 8,000 9,814 1,814 198,096 1 มค. 25+8 8,000 9,904 1,904 200,000 80,000 95,444 15,444 ก 8,000 = 200,000×.08×6/12 ข 9,228 = 184,556×.10×6/12 ค 1,228 = 9,228 – 8,000 ง 185,784 = 184,556 + 1,228
  • 13. 6-13 การบันทึกรายการรับดอกเบี้ย ณ วันที่ 1 กรกฎาคม 25+3 (ใชขอ มูลจากตารางที่ 6-3) มีดังนี้ 1 กรกฎาคม 25+3 เงินสด ..........................................................8,000 ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนด-หุนกู .........1,228 ดอกเบี้ยรับ .............................................................9,228 เนืองจากบริษัทนนทรี ปดบัญชีทุกสิ้นปปฏิทิน รายการปรับปรุงดอก ่ เบี้ยคางรับ ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+3 มีดังนี้ 31 ธันวาคม 25+3 ดอกเบี้ยคางรับ ...............................................8,000 ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนด-หุนกู...........1,290 ดอกเบี้ยรับ .............................................................9,290 บริษทนนทรี จํากัดจะแสดงรายการเกี่ยวกับเงินลงทุนในหุนกู ในงบ ั การเงินป 25+3 ดังนี้ บริษัทนนทรี จํากัด งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+3 (บาท) สินทรัพยหมุนเวียน: ดอกเบี้ยคางรับ 8,000 เงินลงทุนระยะยาว: ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนด-หุนกู 187,074
  • 14. 6-14 บริษัทนนทรี จํากัด งบกําไรขาดทุน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25+3 (บาท) รายไดอ่น: ื ดอกเบี้ยรับ 18,518 บัญชีตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนด-หุนกู จะมีราคาตามบัญชี (Carrying amount) ที่เปนราคาทุนตัดจําหนายมาตลอดอายุหุนกูจน เหลือเทากับราคาตามมูลคาพอดีเมื่อครบกําหนดไถถอน สมมติวาถาบริษัทนนทรีขายเงินลงทุนในหุนกูของบริษัทไทยคม เมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน ป 25+7 ในราคา 99 ¾ (เทียบกับราคาตามมูล คา 100) บวกดอกเบี้ยคางรับ กอนการจําหนายหุนกู บริษัทนนทรีตองบันทึกการตัดจําหนายสวน ลดมูลคาหุนกู จากวันที่ 1 กรกฎาคม 25+7 ถึงวันที่ 1 พฤศจิกายน 25+7 คือ 1,270 บาท (4/6 × 1,904) ในสมุดรายวันทั่วไปดังนี้ 1 พฤศจิกายน 25+7 ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนด-หุนกู .........1,270 ดอกเบี้ยรับ .............................................................1,270 การคํานวณกําไรจากการจําหนายหุนกู ทําไดดังนี้
  • 15. 6-15 ราคาขายหุนกู (ไมรวมดอกเบี้ยคางรับ) (99 ¾ ÷ 100 × 200,000) 199,500 บาท หัก ราคาตามบัญชีหุนกู ณ วันที่ 1 พฤศจิกายน 25+7 ราคาทุนตัดจําหนาย 1 กรกฎาคม 25+7 198,096 บวก สวนลดที่ตัดจําหนายสําหรับงวด 1 กค. 25+7 1,270 199,366 กําไรจากการจําหนายหุนกู 134 การบันทึกกําไรจากการจําหนายหุนกู ทําไดดังนี้ 1 พฤศจิกายน 25+7 เงินสด (199,500+5,334) ..........................204,834 ดอกเบี้ยรับ (4/6 x 8,000) ......................................5,334 ตราสารหนี้ที่จะถือจนครบกําหนด-หุนกู ............... 199,366 กําไรจากการจําหนายหลักทรัพย .................................134 หลักทรัพยเผื่อขาย เงินลงทุนในตราสารหนี้ที่มีวัตถุประสงคถือไวเผื่อขาย จะแสดงตาม มูลคายุติธรรม กําไรและขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้น (Unrealized gain or loss) ที่เกิดจากผลตางระหวางราคาทุนและมูลคายุติธรรมของหลักทรัพย จะบันทึกในบัญชีกําไรหรือขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้น (Unrealized holding gain or loss) บัญชีนี้จะแสดงเปนรายการหนึ่งแยกตางหากจากสวนของ ผูถือหุน ดังนั้นการเปลี่ยนแปลงในมูลคายุติธรรมจะไมบันทึกเปนกําไร จนกวาหลักทรัพยนั้นจะถูกขายออกไป
  • 16. 6-16 หลักทรัพยเผื่อขายมีเพียงชนิดเดียว ตัวอยางที่ 6-2 บริษทนนทรี จํากัด ซื้อหุนกูมูลคา 100,000 บาท อัตรา ั ดอกเบี้ย 10% อายุ 5 ป เมื่อวันที่ 1 มกราคม 25+3 จากบริษัทสยามรัฐ จํากัด ซึ่งกําหนดจายดอกเบี้ยปละ 2 ครั้ง ในวันที่ 1 กรกฎาคมและ 1 มกราคม บริษัทนนทรีซื้อหุนกูในราคา 108,111 บาท ซึ่งมีสวนเกิน 8,111 บาท อัตราดอกเบี้ยที่แทจริง (Effective interest rate) เทากับ 8% บริษัทไมมีวัตถุประสงคจะถือหุนกูไวเปนหลักทรัพยเพื่อคาหรือจะ ถือจนครบกําหนด บริษัทจึงบันทึกหุนกูที่ซื้อไวเปนหลักทรัพยเผื่อขาย การบันทึกบัญชีทําไดดังนี้ 1 มกราคม 25+3 หลักทรัพยเผื่อขาย-หุนกู ...........................108,111 เงินสด ................................................................ 108,111
  • 17. 6-17 ตารางที่ 6-4 การคํานวณเกี่ยวกับดอกเบี้ยรับ หุนกู 10% อัตราดอกเบี้ยที่แทจริง 8% วันที่ ดอกเบี้ยที่ได รายไดดอก ตัดจําหนาย ราคาตามบัญชี รับเปนเงินสด เบี้ย สวนเกินมูล ของหุนกู คาหุนกู 1 มค. 25+3 108,111 1 กค. 25+3 5,000ก 4,324ข 676ค 107,435ง 1 มค. 25+4 5,000 4,297 703 106,732 1 กค. 25+4 5,000 4,269 731 106,001 1 มค. 25+5 5,000 4,240 760 105,241 1 กค. 25+5 5,000 4,210 790 104,451 1 มค. 25+6 5,000 4,178 822 103,629 1 กค. 25+6 5,000 4,145 855 102,774 1 มค. 25+7 5,000 4,111 889 101,885 1 กค. 25+7 5,000 4,075 925 100,960 1 มค. 25+8 5,000 4,040 960 100,000 50,000 41,889 8,111 ก 5,000 = 100,000 × .10 × 6/12 ข 4,324 = 108,111 × .08 × 6/12 ค 676 = 5,000 – 4,324 ง 107,435 = 108,111 - 676
  • 18. 6 18 - การบันทึกดอกเบี้ยรับ ณ วันที่ 1 กรกฎาคม ป 25+3 มีดังนี้ 1 กรกฎาคม 25+3 เงินสด ............................................................5,000 หลักทรัพยเผื่อขาย-หุนกู ............................................676 ดอกเบี้ยรับ .............................................................4,324 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+3 บริษัทนนทรีจะปรับปรุงดอกเบี้ยคางรับ พรอมกับตัดจําหนายสวนเกิน ดังนี้ 31 ธันวาคม 25+3 ดอกเบี้ยคางรับ ...............................................5,000 หลักทรัพยเผื่อขาย-หุนกู ............................................703 ดอกเบี้ยรับ .............................................................4,297 31 ธันวาคม 25+3 กําไรขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้น-สวนของผูถือหุน ....1,732 คาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุน–เผื่อขาย หรือ หลักทรัพยเผื่อขาย......................................1,732
  • 19. 6-19 บริษัทนนทรี จํากัด งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+3 (บาท) หลักทรัพยเผื่อขาย-หุนกู (ราคาทุนตัดจําหนาย) 106,732 หัก คาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุน-เผื่อขาย 1,732 หลักทรัพยเผื่อขาย-หุนกู (มูลคายุติธรรม) 105,000 บริษัทจะตองบันทึกกลับรายการดอกเบี้ยคางรับและบันทึกดอกเบี้ย รับ ดังนี้ 1 มกราคม 25+4 ดอกเบี้ยรับ ...................................................5,000 ดอกเบี้ยคางรับ .......................................................5,000 เงินสด ..........................................................5,000 ดอกเบี้ยรับ .............................................................5,000 การจําหนายหลักทรัพยเผื่อขาย ถาหุนกูที่ถือเปนหลักทรัพยเผื่อขายถูกจํ าหนายออกไปกอนครบ กําหนด กิจการตองบันทึกการตัดจําหนายสวนลดหรือสวนเกินจนถึงวันที่ จําหนายหุนกู เมื่อขายหุนกูออกไปทั้งหมด กิจการตองลางบัญชีคาเผื่อ การปรับมูลคาเงินลงทุนและบัญชีกําไรขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้น (สวนของผู ถือหุน) ออกไป และบันทึกกําไรหรือขาดทุนจากการจําหนายโดยการ เปรียบเทียบระหวางราคาขายกับราคาทุนตัดจําหนายในวันนั้น
  • 20. 6-20 สมมติวาบริษัทนนทรี ขายหุนกูของบริษัทสยามรัฐออกไปในวันที่ 1 มกราคม 25+4 ในราคา 110 การบันทึกบัญชี มีดังนี้ 1 มกราคม 25+4 เงินสด .................................................110,000 คาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุน-เผื่อขาย ....1,732 หลักทรัพยเผื่อขาย.............................................. 106,732 กําไรขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้น-สวนของผูถือหุน ............1,732 กําไรจากการจําหนายหลักทรัพย ………………………3,268* * ราคาขาย 110,000 – ราคาทุนตัดจําหนาย 106,732 กลุมหลักทรัพย หากกิจการลงทุนซื้อหลักทรัพยเปนกลุมเรียกวา “Portfolio” ซึ่ง ประกอบดวยหลักทรัพยหลายชนิด การคํานวณหามูลคายุติธรรม ณ วัน สินงวดสามารถบันทึกเปนกลุมหลักทรัพยแทนการปรับทีละรายการ ้ ตัวอยางที่ 6-3 สมมติวาบริษัทนนทรีจํากัด มีตราสารหนี้สองชนิดถือไว  เปนหลักทรัพยเผื่อขาย ตอไปนี้เปนขอมูลเกี่ยวกับราคาทุนตัดจําหนาย มูลคายุติธรรมและกําไรขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้น
  • 21. 6-21 กลุมตราสารหนี้ที่มีเผื่อขาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+8 เงินลงทุน ราคาทุน มูลคายุติธรรม กําไร(ขาดทุน) ตัดจําหนาย ที่ยังไมเกิดขึ้น หุนกู 8% บริษัทกรุงสยาม จํากัด 187,074 207,200 20,126 หุนกู 10% บริษัทนวธานี จํากัด 400,000 360,800 (39,200) รวมกลุมหลักทรัพย 587,074 568,000 (19,074) ยอดคงเหลือของบัญชีคาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุนกอนการปรับปรุง  -0- บัญชีคาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุนที่ตองเครดิตเพิ่ม (19,074) 31 ธันวาคม 25+8 กําไรขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้น - สวนของผูถือหุน...... 19,074 คาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุน - เผื่อขาย .............. 19,074 ขาดทุนสุทธิที่ยังไมเกิดขึ้นจํานวน 19,074 บาท จะนําไปลดสวนของ ผูถือหุนลง สมมติตอมาวาบริษัทนนทรี ขายหุนกูของบริษัทกรุงสยาม ออกไป เมื่อวันที่ 1 กรกฎาคม 25+9 ในราคา 180,000 บาท โดยบริษัทนนทรีได บันทึกรับดอกเบี้ยและตัดจําหนายสวนลดจนถึงวันที่ 1 กรกฎาคม 25+9 แลว ราคาทุนตัดจําหนายคงเหลือ ณ วันนี้เทากับ 188,428 บาท การ คํานวณขาดทุนจากการจําหนายหุนกู มีดังนี้
  • 22. 6-22 ราคาทุนตัดจําหนาย (หุนกูของบริษัทกรุงสยาม) 188,428 หัก ราคาจําหนายหุนกู 180,000 ขาดทุนจากการจําหนายหุนกู 8,428 การบันทึกรายการจําหนายหุนกูในสมุดบัญชี มีดังนี้ 1 กรกฎาคม 25+9 เงินสด ......................................................180,000 ขาดทุนจากการจําหนายหลักทรัพย ...............8,428 หลักทรัพยเผื่อขาย-หุนกู .................................. 188,428 ขาดทุนจากการจําหนายหลักทรัพยจะแสดงเปนคาใชจายอื่นในงบ กําไรขาดทุน สมมติวาไมมีการซื้อและขายหุนกูในป 25+9 ตอไปนี้เปนขอ มูล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+9 กลุมตราสารหนี้ที่มีเผื่อขาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+9 เงินลงทุน ราคาทุนตัด มูลคายุติธรรม กําไร(ขาดทุน) จําหนาย ที่ยังไมเกิดขึ้น หุนกู 10% บริษัทนวธานี จํากัด 400,000 390,000 (10,000) ยอดคงเหลือของบัญชีคาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุนกอนปรับปรุง  (19,074) ลดยอดบั ญ ชี ค  า เผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุนใหแสดงมูลคายุติ (9,074) ธรรม (เดบิต)
  • 23. 6-23 31 ธันวาคม 25+9 คาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุน - เผื่อขาย ......9,074 กําไรขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้น – สวนของผูถือหุน .........9,074 การแสดงรายการในงบการเงิน บริษัทนนทรี จํากัด งบดุล ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+9 (บาท) สินทรัพยหมุนเวียน: ดอกเบี้ยคางรับ ××× เงินลงทุน: หลักทรัพยเผื่อขาย (มูลคายุติธรรม) 390,000 สวนของผูถือหุน: ขาดทุนสะสมที่ยังไมเกิดขึ้นจากการถือหลักทรัพย 10,000 บริษัทนนทรี จํากัด งบกําไรขาดทุน สําหรับปสิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25+9 (บาท) รายไดและกําไรอื่น ๆ: ดอกเบี้ยรับ ××× คาใชจายและขาดทุนอื่น ๆ: ขาดทุนจากการจําหนายหลักทรัพย 8,428
  • 24. 6-24 หลักทรัพยเพื่อคา หลักทรัพยเพื่อคาเปนหลักทรัพยที่กิจการถือไวโดยมีวัตถุประสงคที่ จะขายออกไปในระยะเวลาสั้น หลักทรัพยประเภทนี้จะมีการซื้อและขาย เกิดขึ้นบอย กิจการจะไดรับกําไรในระยะสั้นจากผลตางระหวางราคาซื้อ และราคาขาย การถือหลักทรัพยเพื่อคานี้โดยปกติจะถือนอยกวา 3 เดือน หรืออาจถือเปนวันหรือเปนชั่วโมงก็ได หลักทรัพยเพื่อคาจะแสดงดวยมูลคายุติธรรม โดยจะปรับปรุงทุก สินงวดบัญชี กําไรหรือขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้นจะแสดงในงบกําไรขาดทุน ้ และไมมีการตัดจําหนายสวนเกินหรือสวนลด กําไรหรือขาดทุนจากการถือหลักทรัพยคือผลตางระหวางมูลคายุติ ธรรมจากงวดหนึ่งไปอีกงวดหนึ่ง ตัวอยางที่ 6-4 สมมติวาในวันที่ 31 ธันวาคม 25+9 บริษัทนนทรี จํากัด มีรายละเอียดของกลุมหลักทรัพยเพื่อคาที่บริษัทลงทุนเปนปแรก ดังนี้
  • 25. 6-25 กลุมหลักทรัพยเพื่อคา ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+9 เงินลงทุน ราคาทุน มูลคายุติธรรม กําไร(ขาดทุน) ที่ยังไมเกิดขึ้น หุนกู 10% บริษัทการบินไทย 87,720 103,000 15,280 หุนกู 11% บริษัทสิงคโปร 368,460 350,400 (18,060) แอรไลน หุนกู 8% บริษัท นสพ.ไทย 172,720 183,000 10,280 โพสต รวมกลุมหลักทรัพย 628,900 636,400 7,500 ยอดคงเหลือของบัญชีคาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุน กอนการปรับปรุง -0- ปรับปรุงคาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุน (เดบิต) 7,500 ณ วันที่ซื้อ หลักทรัพยเพื่อคา........................................628,900 เงินสด ................................................................ 628,900 31 ธันวาคม 25+8 คาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุน - เพื่อคา ..........7,500 กําไรขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้น - งบกําไรขาดทุน ............7,500
  • 26. 6-26 การจําหนายหลักทรัพยเพื่อคา สมมติวาในวันที่ 2 มกราคม 25+9 บริษัทนนทรี ขายหุนกูของ บริษทการบินไทยไปในราคา 100,000 บาท การบันทึกบัญชีทําไดดังนี้ ั 2 มกราคม 25+9 เงินสด ......................................................100,000 หลักทรัพยเพื่อคา .................................................. 87,720 กําไรจากการจําหนายหลักทรัพย ...........................12,280 กํ าไรจากการจํ าหนายหลักทรัพยไดจากการเปรียบเทียบระหวาง ราคาทุนและราคาขาย ประเด็นเพิ่มเติมเกี่ยวกับตราสารหนี้ - การซื้อหุนกูระหวาง งวดการจายดอกเบี้ย หากกิจการซื้อหุนกูระหวางงวดการจายดอกเบี้ย นอกจากจะจายซื้อ หลักทรัพยแลวกิจการจะตองซื้อดอกเบี้ยคางมาดวย การบันทึกบัญชีสาหรับดอกเบี้ยคางรับทําได 2 วิธีคือ ํ 1. ในวันทีซื้อใหเดบิตดอกเบี้ยคางรับและเมื่อถึงวันรับดอกเบี้ย ก็ ่ ลางดอกเบี้ยคางรับออกที่เหลือบันทึกเปนดอกเบี้ยรับของงวด 2. ในวั น ที่ ซื้ อ ให เ ดบิ ต ดอกเบี้ ย รั บ และเมื่ อ ถึ ง วั น รั บ ดอกเบี้ ย ก็ เครดิตดอกเบี้ยรับทั้งจํ านวนโดยไมตองพิจารณาวาเปนดอก
  • 27. 6-27 เบียคางรับจํานวนเทาใด วิธีนี้ดอกเบี้ยรับที่มียอดทางดานเดบิต ้ และเครดิตจะหักลางกันเอง ตัวอยางที่ 6-5 เมือวันที่ 1 มีนาคม 25+6 บริษัทนนทรีซื้อหุนกู 12% มูล ่ คา 100,000 บาท ของบริษัทดิลกและเพื่อน เปนหลักทรัพยเผื่อขาย ใน ราคาที่ตราไวบวกดอกเบี้ยคางรับ หุนกูออกจําหนายในวันที่ 1 มกราคม 25+6 กําหนดจายดอกเบี้ยทุกวันที่ 1 มกราคมและ 1 กรกฎาคม ของทุก ป การบันทึกบัญชีมีดังนี้ 1 มีนาคม 25+6 หลักทรัพยเผื่อขาย....................................100,000 ดอกเบี้ยคางรับหรือดอกเบี้ยรับ (100,000×.12×2*/12)......2,000 เงินสด .....................................................................102,000 * 1 มกราคม – 1 มีนาคม 1 กรกฎาคม 25+6 เงินสด ..........................................................6,000 ดอกเบี้ยคางรับหรือดอกเบี้ยรับ ....................................2,000 ดอกเบี้ยรับ (100,000×.12×4/12) ..............................4,000 หากวันที่ซื้อหุนกู บริษัทเดบิตดอกเบี้ยคางรับไว วันที่รับดอกเบี้ยก็ จะตองเครดิตดอกเบี้ยคางรับออก ที่เหลือจึงบันทึกเปนดอกเบี้ยรับของ งวด แตถาวันซื้อหุนกูบริษัทเดบิตดอกเบี้ยรับไว วันที่รับดอกเบี้ยก็เครดิต
  • 28. 6-28 ดอกเบี้ยรับไดทั้งจํานวน ดอกเบี้ยรับทางดานเดบิตและเครดิตจะหักลบ กันเอง การลงทุนในตราสารทุน ตราสารทุน (Equity securities) คือหลักทรัพยที่แสดงความเปน เจาของในกิจการ เชน หุนสามัญ หุนบุริมสิทธิหรือหุนทุนประเภทอื่น นอกจากนี้ยังรวมถึงสิทธิในการไดมาหรือจัดการสวนของเจาของตามที่ตก ลงกันหรือราคาที่กํ าหนดขึ้น เชน ตราสารแสดงสิทธิในการซื้อหุน (Warrants) สิทธิ (Rights) Call options หรือ Put options แตตรา สารหนีที่แปลงสภาพได (Convertible bonds) หรือหุนบุริมสิทธิที่ไถคืน ้ (Redeemable preferred stocks) ไมถือเปนตราสารทุนแตจัดประเภท เปนตราสารหนี้ ราคาทุนของตราสารทุนคือราคาที่จายซื้อรวมคานายหนา  และคาธรรมเนียมในการซื้ออื่น ๆ ระดับการลงทุนของผูลงทุนในการซื้อหุนสามัญของบริษัทอื่น (ผูถูก ลงทุน) จะเปนสิ่งกําหนดวิธีการบัญชีที่นํามาใชสําหรับการลงทุน การลง ทุนในหุนสามัญของบริษัทหนึ่งสามารถจําแนกตามสัดสวนของสิทธิออก เสียงไดดังนี้ 1. ถือหุนนอยกวา 20% (วิธีมูลคายุติธรรม) – ผูลงทุนไมมีอํานาจ กระทําการใด ๆ
  • 29. 6-29 2. ถือหุนระหวาง 20% ถึง 50% (วิธสวนไดเสีย) – ผูลงทุนมีอทธิ ี ิ พลอยางเปนสาระสําคัญ 3. ถือหุนมากกวา 50% (วิธีการจัดทํางบการเงินรวม) – ผูลงทุนมี อํานาจในการควบคุม สัดสวนของสวนไดเสียหรืออํานาจในการควบคุมทําใหกิจการผูลง ทุนตองบันทึกบัญชีตามวิธีตาง ๆ ดังนี้ % ความเปนเจาของ 0% 20% 50% 100% ระดับการมีอิทธิพล นอยมากหรือไมมีเลย อยางมีสาระสําคัญ ควบคุม (Little or none) (Significant) (Control) วิธีการตีราคา มูลคายุติธรรม สวนไดเสีย งบการเงินรวม (Fair value) (Equity) (Consolidation) ตารางที่ 6-5 การจัดประเภทตราสารทุนวิธีการบัญชีและการแสดงรายงาน การจัดประเภท การตีราคา กําไรหรือขาดทุนที่ ผลตอบแทน ยังไมเกิดขึ้นจาก การถือหลักทรัพย ถือหุนนอยกวา 20% 1. หลักทรัพยเผื่อขาย มูลคายุติ รับรูเปนรายการแยก เงินปนผล, ธรรม ตางหากในสวนของผู กํ าไรหรือ ขาดทุนจากการ ถือหุน จําหนาย 2. หลักทรัพยเพื่อคา มูลคายุติ รับรูในงบกําไรขาดทุน เงินปนผล, ธรรม กําไรหรือขาดทุนจากการ จําหนาย
  • 30. 6-30 (ตอ) การจัดประเภท การตีราคา กําไรหรือขาดทุนที่ ผลตอบแทน ยังไมเกิดขึ้นจาก การถือหลักทรัพย ! ถือหุนระหวาง สวนไดเสีย ไมรับรู สวนไดเสียในกําไรสุทธิ 20% ถึง 50% (หลังจากปรับปรุงดวยราย การตัดจําหนายแลว) ! ถื อ หุ  น มากกว า งบการเงิ น ไมรับรู - 50% รวม หากกิจการซื้อตราสารทุนที่ไมไดซื้อขายกันในตลาดหลักทรัพย ทํา ใหไมสามารถจัดประเภทเปนหลักทรัพยเผื่อขายหรือหลักทรัพยเพื่อคาได ก็ใหถอวาตราสารทุนนั้นเปน “เงินลงทุนทั่วไป” ซึ่งจะตีราคาตามราคาทุน ื ถือหุนนอยกวา 20% เมือผูลงทุนถือหุนทุนนอยกวา 20% จะถือวาผูลงทุนมีอิทธิพลตอผู ่ ถูกลงทุนเพียงเล็กนอยหรือไมมีเลย ถาเปนหุนที่อยูในความตองการของ ตลาด เงินลงทุนจะถูกตีราคาและรายงานภายหลังการซื้อหุนโดยใชวิธีมูล คายุติธรรม ซึ่งกิจการตองจัดประเภทการลงทุนตั้งแตแรกวาเปนหลัก ทรัพยเผื่อขาย หลักทรัพยเพื่อคาหรือเงินลงทุนทั่วไป (ถาเปนหุนซื้อขาย นอกตลาด) และเนื่องจากหลักทรัพยประเภทหุนทุนไมมีระยะเวลาไถถอน จึงไมสามารถจัดประเภทเปนหลักทรัพยที่ถือไวจนครบกําหนดได
  • 31. 6-31 หลักทรัพยเผื่อขาย ตัวอยางที่ 6-6 ในวันที่ 3 พฤศจิกายน 25+9 บริษัทนนทรี จํากัดซื้อหุน สามัญของ 3 บริษัท ซึ่งเปนบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย สัด สวนการลงทุนในแตละบริษัทนอยกวา 20% บริษัทนนทรีตั้งใจที่จะถือไว เปนหลักทรัพยเผื่อขาย ราคาทุนของหลักทรัพยมีดังนี้ ราคาทุน บริษัทตะวันออกอุตสาหกรรม จํากัด 519,400 บริษัทเอสเอ็มอี จํากัด 635,000 บริษัทดีดีเหล็กกลา จํากัด 282,700 รวมตนทุน 1,437,100 การบันทึกรายการ ณ วันซื้อหุน มีดังนี้ 3 พฤศจิกายน 25+9 หลักทรัพยเผื่อขาย.................................1,437,100 เงินสด ............................................................. 1,437,100 ในวันที่ 6 ธันวาคม 25+9 บริษัทนนทรี ไดรับเงินปนผล 8,400 บาท จากการลงทุนในบริษัทเอสเอ็มอี บริษัทจะบันทึกเงินปนผลที่ไดรับ ดังนี้
  • 32. 6 32 - 6 ธันวาคม 25+9 เงินสด ..........................................................8,400 เงินปนผลรับ...........................................................8,400 ผูลงทุนจะบันทึกรายไดจากการลงทุนเมื่อบริษัทที่ออกหุนประกาศ จายเงินปนผลเทานั้น เนื่องจากถือหุนนอยกวา 20% ดังนั้นผูลงทุนจะไม รับรูกําไรหรือขาดทุนจากการลงทุน ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+9 กลุมหลักทรัพยที่ถือไวเผื่อขายของ บริษทนนทรีแสดงราคาทุนและมูลคายุติธรรม ดังนี้ ั กลุมหลักทรัพยที่ถือไวเผื่อขาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+9 เงินลงทุน ราคาทุน มูลคา กําไร(ขาดทุน) ยุติธรรม ที่ยังไมเกิดขึ้น บริษัทตะวันออกอุตสาหกรรม 519,400 550,000 30,600 จํากัด บริษัทเอสเอ็มอี จํากัด 635,000 608,000 (27,000) บริษัทดีดีเหล็กกลา จํากัด 282,700 208,000 (74,700) 1,437,100 1,366,000 (71,100) ยอดคงเหลือของบัญชีคาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุนกอน -0- ปรับปรุง ปรับปรุงคาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุน – เครดิต (71,100)
  • 33. 6-33 31 ธันวาคม 25+9 กําไรขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้น - สวนของผูถือหุน 71,100 คาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุน - เผื่อขาย .............. 71,100 ในวันที่ 23 มกราคม 25+10 บริษัทนนทรีขายหุนทั้งหมดของบริษัทตะวัน ออกอุตสาหกรรม โดยไดรับเงินสด 574,440 บาท กําไรที่เกิดขึ้นจากการ จําหนายหุน คํานวณจากการเปรียบเทียบราคาทุนและราคาขายไดดังนี้ ราคาขาย 574,440 บาท ราคาทุนของหุนบริษัทตะวันออกอุตสาหกรรม 519,400 กําไรจากการจําหนายหุน 55,040 23 มกราคม 25+10 เงินสด ......................................................574,440 หลักทรัพย - เผื่อขาย.......................................... 519,400 กําไรจากการจําหนายหลักทรัพย ............................ 55,040 สมมติตอไปวาในวันที่ 10 กุมภาพันธ 25+10 บริษัทนนทรีซ้อหุน ื 20,000 หุนของบริษัททักษิณขนสง ในราคาตลาดหุนละ 25.50 บาทรวม กับคานายหนาอีก 3,700 บาท รวมเปนตนทุนทั้งสิ้น 513,700 บาท ในวันที่ 31 ธันวาคม 25+10 กลุมหลักทรัพยเผื่อขายของบริษัท นนทรี มียอดดังนี้
  • 34. 6-34 กลุมหลักทรัพยเผื่อขาย ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25+10 เงินลงทุน ราคาทุน มูลคา กําไร(ขาดทุน) ยุติธรรม ที่ยังไมเกิดขึ้น บริษัททักษิณขนสง จํากัด 513,700 556,700 43,000 บริษัทเอสเอ็มอี จํากัด 635,000 725,100 90,100 บริษัทดีดีเหล็กกลา จํากัด 282,700 278,100 (4,600) 1,431,400 1,559,900 128,500 ยอดคงเหลือของบัญชีคาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุน กอนปรับปรุง (71,100) ปรับปรุงคาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุน – เดบิต 199,600 31 ธันวาคม 25+10 คาเผื่อการปรับมูลคาเงินลงทุน - เผื่อขาย ....199,600 กําไรขาดทุนที่ยังไมเกิดขึ้น - สวนของผูถือหุน...... 199,600 บริษัทสามารถถือหลักทรัพยเผื่อขายเปนเงินลงทุนชั่วคราวหรือเงิน ลงทุนระยะยาวก็ได หลักทรัพยเพื่อคา การบันทึกบัญชีของหลักทรัพยเพื่อคาจะเหมือนกับหลักทรัพยเผื่อ ขายยกเวนการบันทึกและแสดงรายการกําไรขาดทุนจากการถือหลักทรัพย ใหถอเปนสวนหนึ่งของงบกําไรขาดทุน ดังนั้นจึงใชชื่อบัญชี “กําไรหรือขาด ื
  • 35. 6-35 ทุนทียงไมเกิดขึ้น-งบกําไรขาดทุน” แทน หลักทรัพยเพื่อคาจะถือเปนเงิน ่ั ลงทุนชั่วคราวเทานั้น ถือหุนตั้งแต 20% ถึง 50% การถือหุนตั้งแต 20% จนถึง 50% จะทําใหผูถือหุนมีอิทธิพลอยาง เปนสาระสําคัญ (Significant influence) ตอการดําเนินงานและ นโยบายทางการเงินของกิจการที่ไปลงทุน เชน การแตงตั้งคณะกรรมการ บริหาร การเขาไปมีสวนรวมในการตัดสินใจ การกําหนดนโยบายการคาที่ สําคัญระหวางบริษัท การแลกเปลี่ยนบุคลากรหรือเทคโนโลยีระหวางกัน เรียกการลงทุนนี้วา “เงินลงทุนในบริษัทรวม” วิธการบัญชีที่นํามาใชคือวิธี ี สวนไดเสีย วิธสวนไดเสีย ี ตามวิธสวนไดเสีย (Equity method) ผูลงทุนจะบันทึกเงินลงทุน ี เริมตนดวยราคาทุน หลังจากนั้นก็จะปรับปรุงบัญชีเงินลงทุนดวยสวนได ่ เสียในกําไรขาดทุนของบริษัทที่ออกหุนและปรับลดบัญชีเงินลงทุนดวยเงิน ปนผลทีไดรับ กลาวคือกําไร (ขาดทุน) จะทําใหเงินลงทุนเพิ่มขึ้น (ลดลง) ่ สวนเงินปนผลที่ไดรับจะนําไปลดบัญชีเงินลงทุน
  • 36. 6-36 เปรียบเทียบวิธีมูลคายุติธรรมและวิธสวนไดเสีย ี ตัวอยางที่ 6-7 บริษทนนทรี จํากัดซื้อสวนไดเสีย 20% ในบริษทมินิ ั ั จํากัด โดยแบงออกเปน 2 กรณีดังนี้ กรณีที่ 1 สมมติวาบริษัทนนทรีไมสามารถเขาไปมีบทบาทในการ บริหารและตราสารถูกจัดประเภทเปนหลักทรัพยเผื่อขาย--วิธี มูลคา ยุตธรรมจะถูกนํามาใชในการบันทึกบัญชี ิ กรณีที่ 2 สมมติวาบริษัทนนทรีสามารถเขาไปมีอิทธิพลอยางเปน  สาระสําคัญตอการบริหารงานบริษัทมินิ -- ใชวิธีสวนไดเสียในการ บันทึกบัญชี หากกิจการใชวิธีมูลคายุติธรรมในการบันทึกบัญชี กําไรสุทธิของ บริษัทที่ออกหุนจะไมนํามารับรูเปนกําไรของบริษัทที่ลงทุน การบันทึก บัญชีสําหรับวิธีทั้งสอง มีดังตอไปนี้ การบันทึกบัญชีของบริษัทนนทรี จํากัด วิธีมลคายุติธรรม ู วิธีสวนไดเสีย "ในวันที่ 2 มกราคม 25+2 บริษัทนนทรีลงทุนซื้อหุน 48,000 หุน (20% ของหุน สามัญของบริษัทมินิ) ในราคาทุนหุนละ 20 บาท หลักทรัพยเผื่อขาย 960,000 เงินลงทุนในบริษัทมินิ 960,000 เงินสด 960,000 เงินสด 960,000
  • 37. 6-37 (ตอ) การบันทึกบัญชีของบริษัทนนทรี จํากัด วิธีมูลคายุติธรรม วิธีสวนไดเสีย "ในป 25+2 บริษัทมินิรายงานกําไรสุทธิ 400,000 บาท ไมบันทึกบัญชี เงินลงทุนในบริษัทมินิ 80,000 รายไดจากการลงทุน 80,000 (400,000 x 20%) " 31 ธันวาคม 25+2 หุนสามัญ 48,000 หุนของบริษทมินิมีราคาตลาดหุนละ 24 ั บาท หรือเปนเงิน 1,152,000 บาท คาเผื่อการปรับมูลคา ไมบันทึกบัญชี เงินลงทุน-เผื่อขาย 192,000 กําไรขาดทุนที่ยังไม เกิดขึ้น-สวนของผูถอหุน ื 192,000 " 25 มค 25+3 บริษัทมินิประกาศและจายเงินสดปนผล 200,000 บาท เงินสด 40,000 เงินสด 40,000 เงินปนผลรับ 40,000 เงินลงทุนในบริษัทมินิ 40,000 "สําหรับป 25+3 บริษัทมินิรายงานขาดทุนสุทธิ 100,000 บาท ไมบันทึกบัญชี ขาดทุนจากการลงทุน 20,000 เงินลงทุนในบริษัทมินิ 20,000 "31 ธค 25+3 ราคาตลาดของหุนของบริษทมินิหุนละ 22 บาท หรือ 1,056,000 บ. ั กํ าไรขาดทุ น ที่ ยั ง ไม เ กิ ด 96,000 ไมบันทึกบัญชี ขึ้น-สวนของผูถือหุน คาเผื่อการปรับมูล คาเงินลงทุน-เผื่อขาย 96,000 ขาดทุนทียังไมเกิดขึ้นเทากับ 1,152,000-1,056,000 บาท ่
  • 38. 6-38 วิธสวนไดเสีย-เพิ่มเติม ี  วิธปฏิบตทางบัญชีตามวิธีสวนไดเสีย นอกจากบริษัทผูลงทุนจะตอง ี ัิ ปรับปรุงบัญชีเงินลงทุนดวยผลกําไรและเงินปนผลที่ไดรับแลว ผูลงทุนยัง ตองตัดจําหนายผลตางระหวางราคาทุนและราคาตามบัญชีของสวนได เสียในสินทรัพยสุทธิของบริษัทผูถูกลงทุน ณ วันซื้อหุนดวย โดย กระจายผลตางไปปรับปรุงสินทรัพยและหนี้สินของบริษัทที่ออกหุนให แสดงตามมูลคายุติธรรมตามสัดสวนของหุนที่ซ้ือ หากกระจายไมหมด ผลตางที่เหลือถือวาเปน “คาความนิยม (Goodwill)” และหากบริษัทที่ ออกหุนมี “รายการพิเศษ (Extraordinary items)” เกิดขึ้น รายไดจาก การลงทุนตองแสดงกอนรายการพิเศษ ตัวอยางที่ 6-8 ในวันที่ 1 มกราคม 25+4 บริษัทนนทรี จํากัดซื้อหุน สามัญ 250,000 หุนของบริษัทพานิช จํากัด จากหุนที่ออกจําหนายแลวทั้ง หมดจํานวน 1,000,000 หุน เปนเงินทั้งสิ้น 4,250,000 บาท บริษัทพานิช มีสนทรัพยสุทธิ ณ วันที่ถกซื้อหุนเปนเงิน 15,000,000 บาท จากการ ิ ู ประเมินมูลคาสินทรัพยพบวาสินทรัพยที่มีคาเสื่อมราคามีราคาตามบัญชี ตํากวาราคาตลาด 300,000 บาท สวนที่เหลือถือเปนคาความนิยม สิน ่ ทรัพยถาวรมีอายุการใชงานอีก 10 ป คาความนิยมใหตัดจําหนายภายใน 20 ป
  • 39. 6-39 บริษทพานิชรายงานกําไรสุทธิสําหรับป 25+4 เทากับ 1,400,000 ั บาทซึงไดรวมผลขาดทุนจากรายการพิเศษ 200,000 บาท ในวันที่ 30 ่ มิถนายน 25+4 และ 31 ธันวาคม 25+4 บริษัทพานิชจายเงินปนผล ุ 250,000 บาทและ 450,000 บาทตามลําดับ การเปรียบเทียบราคาทุนและราคาตามบัญชีของสินทรัพยสุทธิ ณ วันซื้อหุน มีดังนี้: ราคาทุน 4,250,000 บาท หัก ราคาตามบัญชี (.25×15,000,000) 3,750,000 ราคาทุนสูงกวาราคาตามบัญชี 500,000 กระจายผลตาง: สินทรัพยถาวร 300,000 คาความนิยม 200,000 เหลือ -0- บริษทนนทรีจะบันทึกรายการลงทุนตามวิธีสวนไดเสีย ดังตอไปนี้ ั 1 มกราคม 25+4 เงินลงทุนในบริษัทพานิช...........................4,250,000 เงินสด ............................................................. 4,250,000 บันทึกการลงทุนซื้อหุนสามัญบริษัทพานิช จํานวน 250,000 หุน
  • 40. 6-40 30 มิถุนายน 25+4 เงินสด..........................................................62,500 เงินลงทุนในบริษัทพานิช ........................................ 62,500 บันทึกรับเงินปนผลจํานวน 250,000×.25 จากบริษัทพานิช 31 ธันวาคม 25+4 เงินลงทุนในบริษัทพานิช .............................350,000 ขาดทุนจากการลงทุน (รายการพิเศษ)............50,000 รายไดจากการลงทุน (กําไรตามปกติ) ................... 400,000 รับรูสวนไดเสียในกําไรกอนรายการพิเศษ (1,600,000×.25) และ ขาดทุนจากรายการพิเศษ (200,000×.25) 31 ธันวาคม 25+4 เงินสด........................................................112,500 เงินลงทุนในบริษัทพานิช ...................................... 112,500 บันทึกรับเงินปนผล 450,000×.25 31 ธันวาคม 25+4 รายไดจากการลงทุน .....................................40,000 เงินลงทุนในบริษัทพานิช ........................................ 40,000