SlideShare a Scribd company logo
1 of 5
Download to read offline
68
มหัศจรรย์ป่าสาคู
68
ความสำ�คัญของป่าสาคูต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
	 สาคู จัดเป็นพืชอนุรักษ์ดินและน้ำ� ลำ�ต้นที่ทอดเลื้อยไปตามพื้นดิน มีประโยชน์
ในการช่วยยึดและกั้นดินไม่ให้ไหลลงสู่น้ำ� เป็นการช่วยป้องกันดินถูกกัดเซาะและพังทลาย
ลักษณะพิเศษของลำ�ต้นเช่นนี้ช่วยในการดักตะกอนและช่วยกรองขยะต่างๆ เอาไว้ไม่ให้
ไหลลงสู่แม่น้ำ�
	 ดังนั้น สาคูจึงเป็นพันธุ์ไม้ ที่มีความเหมาะสมเป็นอย่างยิ่ง ในการที่จะนำ�
มาปลูกริมน้ำ� ซึ่งอาจทำ�การปลูก โดยปลูกเป็นแถบ ลึกเข้ามาในชายฝั่ง ในรูปแบบของ
การปลูกป่าชายน้ำ� โดยเมื่อต้นไม้โตขึ้น สัตว์ป่าจะได้ใช้ เป็นที่อยู่อาศัยและหลบภัยด้วย
คนในสมัยโบราญมีความคิดอนุรักษ์แบบนี้มานานแล้ว โดยสังเกตได้ตามสวนผลไม้หรือ
ที่นา พบว่าบริเวณที่ติดกับลำ�คลอง จะเว้นไม้ใหญ่ไว้รวมทั้งปลูกสาคูแทรกไว้ ทั้งนี้เพื่อให้
ต้นไม้และสาคู ช่วยอนุรักษ์น้ำ�และดินให้กับสวนของตัวเอง (ธนิตย์ หนูยิ้ม สาคู พันธุ์ไม้,
2548)
แสดงภาพ ระบบนิเวศป่าสาคู ริมคลอง หมู่ 6 ต.โคกสะบ้า อ.นาโยง จ.ตรัง
L a b S c h o o l P r o j e c t
69
มหัศจรรย์ป่าสาคู
69
แสดงภาพระบบนิเวศป่าสาคู หมู่ 1 ต.โคกสะบ้า อ.นาโยง จ.ตรัง
สาคู มีผู้นำ�มาปลูกเพื่อช่วยเพิ่มคุณค่าต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
โดยมีรูปแบบการปลูกดังนี้
1.	 ใช้สาคูปลูกเป็นไม้ให้ร่มด้วยสาคูเป็นปาล์มขนาดใหญ่สูงมีเรือนยอดที่
แผ่กว้างพอสมควร จึงเหมาะที่จะนำ�มาปลูกเป็นไม้ให้ร่ม อีกทั้งสาคูมีใบที่
ติดอยู่กับต้นมีอายุยาวนาน โดยไม่ร่วงหล่นลงมาง่ายๆ จะช่วยลดปัญหาขยะ
จากการร่วงหล่นของใบลงได้มาก อีกทั้งออกดอกติดผลเพียงครั้งเดียวในรอบ
วงชีวิตและเป็นผลที่มีขนาดเล็กไม่เป็นอันตรายต่อเจ้าของบ้านในขณะร่วง
หล่นลงมา จึงจัดเป็นพืชชนิดหนึ่งที่มีความเหมาะสมใช้ปลูกให้ร่มเงา
2.	 ใช้สาคูเป็นแนวกันลม เนื่องจากสาคูมีระบบรากที่แข็งแรง อีกทั้งชอบขึ้น
เป็นกอที่มีความสูงลดหลั่นต่างกันหลายชั้นเรือนยอด จึงมีความเหมาะสม
อย่างยิ่งที่จะนำ�มาปลูกเป็นแนวกันลมช่วยลดความแรงของลมเป็นการ
ป้องกันความเสียหายจากแรงลมให้บ้านพักอาศัยและสวนไม้ผล
70
มหัศจรรย์ป่าสาคู
70
3.	 ใช้ปลูกเพื่อป้องกันการกัดเซาะหรือพังทลายของหน้าดินด้วยสาคูมีระบบราก
ลักษณะของลำ�ต้นและการแตกกอเป็นกอใหญ่ที่หนาแน่น ช่วยยึดเกาะดินไม่
ให้พังทลายจากการกัดเซาะของน้ำ�ได้ดี
4.	 ใช้ปลูกเป็นแถวหรือแนวแสดงแนวเขตพื้นที่อนุรักษ์ซึ่งปกติแนวป่า
เขตพื้นที่อนุรักษ์มักจะทำ�การสร้างถนน หรือการขุดคลองล้อมรอบพื้นที่แต่
วิธีดังกล่าวเป็นวิธีที่ค่อนข้างจะใช้เงินลงทุนจำ�นวนมากและอาจถูกใช้เป็น
เส้นทางเข้าไปลักลอบตัดฟันไม้หรือการเข้าไปล่าสัตว์อย่างผิดกฎหมาย
การขุดคลองอาจทำ�ให้มีการระบายน้ำ�ออกจากพื้นที่เป็นสาเหตุเบื้องต้นที่
ก่อให้เกิดไฟไหม้ป่า ในทางตรงกันข้าม สาคูเป็นพืชที่เจริญเติบโตได้ในหลาย
สภาพพื้นที่ มีการเจริญเติบโตเร็ว มีลักษณะของใบที่แตกต่างจากไม้ยืนต้น
ทั่วไป ทนต่อการทำ�ลายของไฟป่า และมีประโยชน์ต่อประชาชนที่อาศัยอยู่
รอบๆป่าหรือพื้นที่นั้น
	 ดังนั้น สาคูจึงเหมาะที่จะใช้เป็นพืชที่จะนำ�มาปลูกเพื่อวัตถุประสงค์ดังกล่าว โดย
เฉพาะการนำ�มาปลูกเป็นแนวเขตอุทยานแห่งชาติ หรือเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขตห้าม
ล่าสัตว์ป่า รวมทั้งป่าสงวนแห่งชาติที่เป็นป่าพรุ ซึ่งเป็นวิธีการธรรมชาติที่สิ้นเปลืองค่าใช้
จ่ายน้อยและไม่มีผลเสียต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้
	 ในปีพุทธศักราช 2542 โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง อันเนื่องมาจาก
พระราชดำ�ริ จังหวัดนราธิวาส โดยสถานีทดลองปลูกพรรณไม้พิกุลทอง ได้ทำ�การปลูก
ปาล์มสาคู โดยปลูกเป็นแถบกว้าง 3 เมตร ยาวประมาณ 3 กิโลเมตร ตามแนวกันไฟ
ที่ขุดขึ้นสำ�หรับใช้ในการป้องกันไฟไหม้ป่า ณ ป่าพรุโต๊ะแดง อำ�เภอสุไหงโกลก จังหวัด-
นราธิวาส พบว่าต้นสาคูสามารถขึ้นได้ดีมาก จึงอาจนำ�มาใช้เป็นตัวอย่างเพื่อขยายผลไป
ใช้ปลูก ในพื้นที่อื่นต่อไปได้ และจากการที่สาคูมีประโยชน์ โดยเกือบทุกส่วนสามารถนำ�
มาใช้ประโยชน์ได้ ช่วยทำ�ให้เกิดความหลากหลายทางชีวภาพรวมทั้งเป็นแหล่งซับน้ำ�จืด
ที่สำ�คัญจึงจำ�เป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการศึกษาวิจัยอย่างรีบด่วนถึงขั้นตอนการและ
เทคนิคการในผลิตกล้าสาคูให้เพียงพอต่อการปลูกต่อไป
( ที่มา : ธนิตย์ หนูยิ้ม : สาคู พันธุ์ไม้ - โครงการแผนที่ภูมิทัศน์ภาคใต้,2548)
L a b S c h o o l P r o j e c t
71
มหัศจรรย์ป่าสาคู
71
	 สาคู เป็นพืชหลัก ที่ขึ้นบริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำ� ห้วย หนอง คลอง บึง หรือแหล่งน้ำ�
ธรรมชาติต่างๆ ในพื้นที่ ที่ต้นสาคูขึ้นหนาแน่น ก่อให้เกิดระบบนิเวศป่าสาคูที่มีความ
อุดมสมบูรณ์ มีความหลากหลายทางชีวภาพ ได้เอื้อประโยชน์ต่อชาวบ้านที่อยู่อาศัยใกล้
ป่าสาคู และบริเวณใกล้เคียง ประโยชน์ของระบบนิเวศป่าสาคูจำ�แนกได้ ดังนี้		
	 1.แหล่งน้ำ�ป่าสาคู เป็นแหล่งกักเก็บน้ำ�ตามธรรมชาติที่สำ�คัญ ระบบรากของ
สาคูช่วยซึมซับน้ำ� ทำ�ให้ระดับน้ำ�ใต้ดินตื้นเป็นแหล่งน้ำ�ดื่ม น้ำ�ใช้ และการทำ�การเกษตร
และป้องกันการพังทลายของดินในช่วงหน้าฝนที่น้ำ�ไหลแรงและชาวบ้านนิยมขุดบ่อน้ำ�
บริเวณใกล้ป่าสาคู เพราะในช่วงหน้าแล้ง น้ำ�จะไม่แห้งขอด			
	 2.แหล่งอยู่อาศัยและเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ� บริเวณแหล่งน้ำ�ในป่าสาคูจะเป็นแหล่ง
หากิน อยู่อาศัยหลบซ่อน เป็นแหล่งขยายพันธุ์ของสัตว์น้ำ�หน้าแล้งสัตว์น้ำ�ได้อาศัยบริเวณ
ป่าสาคูที่มีน้ำ�ขังชุ่มชื้นเพื่อรอเข้าสู่หน้าฝนอีกครั้งอาหารที่สำ�คัญของสัตว์ชนิดต่างๆได้แก่
อาหารที่ลอยมากับสายน้ำ� การทับถมของซากพืชซากสัตว์ หรือแม้แต่หน่ออ่อน ของสาคู
และหอยโข่งชอบวางไข่บนทางสาคู
	 3.แหล่งพันธุ์พืชชนิดต่างๆ ป่าสาคูเป็นแหล่งอาหารเพื่อยังชีพ ชาวบ้านสามารถ
เก็บเกี่ยวผลประโยชน์ได้จากป่าสาคูไม่ว่าจะเป็นไม้ใช้สอยผลไม้พื้นบ้านพืชผักพื้นบ้าน
สมุนไพร การที่ไม่ต้องซื้อหมายถึงการประหยัดรายจ่าย และอาจเหลือขายเป็นรายได้เสริม
ซึ่งเป็นฐานเศรษฐกิจพอเพียงของคนยากจน	
แสดงภาพ ระบบนิเวศป่าสาคูริมคลอง
ที่มา : http://measwatch.org/writing/802
72
มหัศจรรย์ป่าสาคู
72
	 สรุประบบรากของสาคูช่วยซึมซับน้ำ� ทำ�ให้ระดับน้ำ�ใต้ดินตื้นเป็นแหล่งน้ำ�ดื่ม น้ำ�
ใช้ และการทำ�การเกษตร และป้องกันการพังทลายของดินในช่วงหน้าฝน ที่น้ำ�ไหลแรง
ชาวบ้านนิยมขุดบ่อน้ำ�บริเวณใกล้ป่าสาคู เพราะในช่วงหน้าแล้งระบบรากสาคูซับน้ำ�ไว้ไม่
แห้งขอด
แสดงภาพ แหล่งน้ำ�ในป่าสาคู (สมาคมหยาดฝน เอื้อเฟื้อภาพและข้อมูล)

More Related Content

What's hot

เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1mingpimon
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนMaiiTy
 
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝกโครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝกBeam_Kantaporn
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ Ball Prasertsang
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำsedwong Pam
 
Moa best preactice farmer presentation
Moa best preactice farmer presentationMoa best preactice farmer presentation
Moa best preactice farmer presentationPROCASUR Corporation
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำRoongroeng
 
ปัญหาทรัพยากรดิน
ปัญหาทรัพยากรดินปัญหาทรัพยากรดิน
ปัญหาทรัพยากรดินKanokwan Rapol
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2Tatthep Deesukon
 
ป่าชายเลน
ป่าชายเลนป่าชายเลน
ป่าชายเลนChapa Paha
 

What's hot (11)

เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1
 
โครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลนโครงการปลูกป่าชายเลน
โครงการปลูกป่าชายเลน
 
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝกโครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
Moa best preactice farmer presentation
Moa best preactice farmer presentationMoa best preactice farmer presentation
Moa best preactice farmer presentation
 
ทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำทรัพยากรน้ำ
ทรัพยากรน้ำ
 
ปัญหาทรัพยากรดิน
ปัญหาทรัพยากรดินปัญหาทรัพยากรดิน
ปัญหาทรัพยากรดิน
 
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม2
 
ป่าชายเลน
ป่าชายเลนป่าชายเลน
ป่าชายเลน
 
น้ำ
น้ำน้ำ
น้ำ
 

Viewers also liked

Raquel i ari rarjona
Raquel i ari rarjonaRaquel i ari rarjona
Raquel i ari rarjonaariadnaroca5
 
Cinc cèntims del llenguatge audiovisual
Cinc cèntims del llenguatge audiovisualCinc cèntims del llenguatge audiovisual
Cinc cèntims del llenguatge audiovisualgranotes
 
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคูครู กัน
 
NewYork.com Julie Taymor Q&A
NewYork.com Julie Taymor Q&ANewYork.com Julie Taymor Q&A
NewYork.com Julie Taymor Q&ACraigh Barboza
 
Track Welcome: Developing Breakthrough Customer Experiences [FutureStack16]
Track Welcome: Developing Breakthrough Customer Experiences [FutureStack16]Track Welcome: Developing Breakthrough Customer Experiences [FutureStack16]
Track Welcome: Developing Breakthrough Customer Experiences [FutureStack16]New Relic
 
Movimientos juveniles
Movimientos juveniles Movimientos juveniles
Movimientos juveniles Aguuuuu
 
La historia del internet en méxico
La historia del internet en méxicoLa historia del internet en méxico
La historia del internet en méxicoJessi Angeles
 
Nurturing the Growth of Data Visualization in a Large Organization
Nurturing the Growth of Data Visualization in a Large OrganizationNurturing the Growth of Data Visualization in a Large Organization
Nurturing the Growth of Data Visualization in a Large OrganizationAnkit Patel
 

Viewers also liked (16)

Raquel i ari rarjona
Raquel i ari rarjonaRaquel i ari rarjona
Raquel i ari rarjona
 
2º basico a 20 de noviembre
2º basico a  20 de noviembre2º basico a  20 de noviembre
2º basico a 20 de noviembre
 
1º basico b 20 de noviembre
1º basico b  20 de noviembre1º basico b  20 de noviembre
1º basico b 20 de noviembre
 
Cinc cèntims del llenguatge audiovisual
Cinc cèntims del llenguatge audiovisualCinc cèntims del llenguatge audiovisual
Cinc cèntims del llenguatge audiovisual
 
prova 1
prova 1prova 1
prova 1
 
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
 
Teamrollen belbin
Teamrollen belbinTeamrollen belbin
Teamrollen belbin
 
El agradecimiento
El agradecimientoEl agradecimiento
El agradecimiento
 
Columnas
ColumnasColumnas
Columnas
 
NewYork.com Julie Taymor Q&A
NewYork.com Julie Taymor Q&ANewYork.com Julie Taymor Q&A
NewYork.com Julie Taymor Q&A
 
Track Welcome: Developing Breakthrough Customer Experiences [FutureStack16]
Track Welcome: Developing Breakthrough Customer Experiences [FutureStack16]Track Welcome: Developing Breakthrough Customer Experiences [FutureStack16]
Track Welcome: Developing Breakthrough Customer Experiences [FutureStack16]
 
71
7171
71
 
Movimientos juveniles
Movimientos juveniles Movimientos juveniles
Movimientos juveniles
 
41
4141
41
 
La historia del internet en méxico
La historia del internet en méxicoLa historia del internet en méxico
La historia del internet en méxico
 
Nurturing the Growth of Data Visualization in a Large Organization
Nurturing the Growth of Data Visualization in a Large OrganizationNurturing the Growth of Data Visualization in a Large Organization
Nurturing the Growth of Data Visualization in a Large Organization
 

Similar to 8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม

งานSh
งานShงานSh
งานShdekbao
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนpangminpm
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์Kobwit Piriyawat
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงLookNam Intira
 
โครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจโครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจsisirada
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2Wan Ngamwongwan
 
โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเศรษฐกิจพอเพียงsupanuch
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Kanjanarut II
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Kanjanarut II
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1Kanjanarut II
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริtipfylovely
 
โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร pang_patpp
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert0846054411
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert0846054411
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert0846054411
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert0846054411
 
โครงการพระราชดำริ 32.
โครงการพระราชดำริ 32.โครงการพระราชดำริ 32.
โครงการพระราชดำริ 32.muk290140
 

Similar to 8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม (20)

Forest
ForestForest
Forest
 
งานSh
งานShงานSh
งานSh
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลน
 
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
รายงานผลการวิจัย ปี 2553 การจัดกิจกรรมปลูกป่าชายเลน ครูกอบวิทย์ พิริยะวัฒน์
 
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียงโครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
โครงการป่าชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจโครงการเศรษฐกิจ
โครงการเศรษฐกิจ
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
 
โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
ต้นกก
ต้นกกต้นกก
ต้นกก
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
 
โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
 
il-pornprasert
il-pornprasertil-pornprasert
il-pornprasert
 
ฝายแม้ว
ฝายแม้วฝายแม้ว
ฝายแม้ว
 
โครงการพระราชดำริ 32.
โครงการพระราชดำริ 32.โครงการพระราชดำริ 32.
โครงการพระราชดำริ 32.
 

More from ครู กัน

19บรรณานุกรม
19บรรณานุกรม19บรรณานุกรม
19บรรณานุกรมครู กัน
 
18xป่าสาคู ตู้กับข้าวและเครื่องทำความเย็นในดินแดนด้ามขวาน
18xป่าสาคู ตู้กับข้าวและเครื่องทำความเย็นในดินแดนด้ามขวาน18xป่าสาคู ตู้กับข้าวและเครื่องทำความเย็นในดินแดนด้ามขวาน
18xป่าสาคู ตู้กับข้าวและเครื่องทำความเย็นในดินแดนด้ามขวานครู กัน
 
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคูครู กัน
 
16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน
16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน
16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อนครู กัน
 
15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียง
15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียง15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียง
15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียงครู กัน
 
14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่นครู กัน
 
13มูลค่าต้นสาคูเชิงเศรษฐกิจ
13มูลค่าต้นสาคูเชิงเศรษฐกิจ13มูลค่าต้นสาคูเชิงเศรษฐกิจ
13มูลค่าต้นสาคูเชิงเศรษฐกิจครู กัน
 
12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต
12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต
12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคตครู กัน
 
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคูครู กัน
 
10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู
10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู
10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคูครู กัน
 
9การผลิตแป้งสาคู
9การผลิตแป้งสาคู9การผลิตแป้งสาคู
9การผลิตแป้งสาคูครู กัน
 
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคูครู กัน
 
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคูครู กัน
 
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคูครู กัน
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมครู กัน
 
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคูครู กัน
 

More from ครู กัน (18)

19บรรณานุกรม
19บรรณานุกรม19บรรณานุกรม
19บรรณานุกรม
 
18xป่าสาคู ตู้กับข้าวและเครื่องทำความเย็นในดินแดนด้ามขวาน
18xป่าสาคู ตู้กับข้าวและเครื่องทำความเย็นในดินแดนด้ามขวาน18xป่าสาคู ตู้กับข้าวและเครื่องทำความเย็นในดินแดนด้ามขวาน
18xป่าสาคู ตู้กับข้าวและเครื่องทำความเย็นในดินแดนด้ามขวาน
 
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
 
16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน
16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน
16ป่าสาคูกับภาวะโลกร้อน
 
15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียง
15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียง15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียง
15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียง
 
14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
 
13มูลค่าต้นสาคูเชิงเศรษฐกิจ
13มูลค่าต้นสาคูเชิงเศรษฐกิจ13มูลค่าต้นสาคูเชิงเศรษฐกิจ
13มูลค่าต้นสาคูเชิงเศรษฐกิจ
 
12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต
12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต
12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต
 
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู
 
10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู
10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู
10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู
 
9การผลิตแป้งสาคู
9การผลิตแป้งสาคู9การผลิตแป้งสาคู
9การผลิตแป้งสาคู
 
7ด้วง
7ด้วง7ด้วง
7ด้วง
 
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
 
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
 
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
7ด้วง
7ด้วง7ด้วง
7ด้วง
 
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
 

8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม

  • 1. 68 มหัศจรรย์ป่าสาคู 68 ความสำ�คัญของป่าสาคูต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม สาคู จัดเป็นพืชอนุรักษ์ดินและน้ำ� ลำ�ต้นที่ทอดเลื้อยไปตามพื้นดิน มีประโยชน์ ในการช่วยยึดและกั้นดินไม่ให้ไหลลงสู่น้ำ� เป็นการช่วยป้องกันดินถูกกัดเซาะและพังทลาย ลักษณะพิเศษของลำ�ต้นเช่นนี้ช่วยในการดักตะกอนและช่วยกรองขยะต่างๆ เอาไว้ไม่ให้ ไหลลงสู่แม่น้ำ� ดังนั้น สาคูจึงเป็นพันธุ์ไม้ ที่มีความเหมาะสมเป็นอย่างยิ่ง ในการที่จะนำ� มาปลูกริมน้ำ� ซึ่งอาจทำ�การปลูก โดยปลูกเป็นแถบ ลึกเข้ามาในชายฝั่ง ในรูปแบบของ การปลูกป่าชายน้ำ� โดยเมื่อต้นไม้โตขึ้น สัตว์ป่าจะได้ใช้ เป็นที่อยู่อาศัยและหลบภัยด้วย คนในสมัยโบราญมีความคิดอนุรักษ์แบบนี้มานานแล้ว โดยสังเกตได้ตามสวนผลไม้หรือ ที่นา พบว่าบริเวณที่ติดกับลำ�คลอง จะเว้นไม้ใหญ่ไว้รวมทั้งปลูกสาคูแทรกไว้ ทั้งนี้เพื่อให้ ต้นไม้และสาคู ช่วยอนุรักษ์น้ำ�และดินให้กับสวนของตัวเอง (ธนิตย์ หนูยิ้ม สาคู พันธุ์ไม้, 2548) แสดงภาพ ระบบนิเวศป่าสาคู ริมคลอง หมู่ 6 ต.โคกสะบ้า อ.นาโยง จ.ตรัง
  • 2. L a b S c h o o l P r o j e c t 69 มหัศจรรย์ป่าสาคู 69 แสดงภาพระบบนิเวศป่าสาคู หมู่ 1 ต.โคกสะบ้า อ.นาโยง จ.ตรัง สาคู มีผู้นำ�มาปลูกเพื่อช่วยเพิ่มคุณค่าต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม โดยมีรูปแบบการปลูกดังนี้ 1. ใช้สาคูปลูกเป็นไม้ให้ร่มด้วยสาคูเป็นปาล์มขนาดใหญ่สูงมีเรือนยอดที่ แผ่กว้างพอสมควร จึงเหมาะที่จะนำ�มาปลูกเป็นไม้ให้ร่ม อีกทั้งสาคูมีใบที่ ติดอยู่กับต้นมีอายุยาวนาน โดยไม่ร่วงหล่นลงมาง่ายๆ จะช่วยลดปัญหาขยะ จากการร่วงหล่นของใบลงได้มาก อีกทั้งออกดอกติดผลเพียงครั้งเดียวในรอบ วงชีวิตและเป็นผลที่มีขนาดเล็กไม่เป็นอันตรายต่อเจ้าของบ้านในขณะร่วง หล่นลงมา จึงจัดเป็นพืชชนิดหนึ่งที่มีความเหมาะสมใช้ปลูกให้ร่มเงา 2. ใช้สาคูเป็นแนวกันลม เนื่องจากสาคูมีระบบรากที่แข็งแรง อีกทั้งชอบขึ้น เป็นกอที่มีความสูงลดหลั่นต่างกันหลายชั้นเรือนยอด จึงมีความเหมาะสม อย่างยิ่งที่จะนำ�มาปลูกเป็นแนวกันลมช่วยลดความแรงของลมเป็นการ ป้องกันความเสียหายจากแรงลมให้บ้านพักอาศัยและสวนไม้ผล
  • 3. 70 มหัศจรรย์ป่าสาคู 70 3. ใช้ปลูกเพื่อป้องกันการกัดเซาะหรือพังทลายของหน้าดินด้วยสาคูมีระบบราก ลักษณะของลำ�ต้นและการแตกกอเป็นกอใหญ่ที่หนาแน่น ช่วยยึดเกาะดินไม่ ให้พังทลายจากการกัดเซาะของน้ำ�ได้ดี 4. ใช้ปลูกเป็นแถวหรือแนวแสดงแนวเขตพื้นที่อนุรักษ์ซึ่งปกติแนวป่า เขตพื้นที่อนุรักษ์มักจะทำ�การสร้างถนน หรือการขุดคลองล้อมรอบพื้นที่แต่ วิธีดังกล่าวเป็นวิธีที่ค่อนข้างจะใช้เงินลงทุนจำ�นวนมากและอาจถูกใช้เป็น เส้นทางเข้าไปลักลอบตัดฟันไม้หรือการเข้าไปล่าสัตว์อย่างผิดกฎหมาย การขุดคลองอาจทำ�ให้มีการระบายน้ำ�ออกจากพื้นที่เป็นสาเหตุเบื้องต้นที่ ก่อให้เกิดไฟไหม้ป่า ในทางตรงกันข้าม สาคูเป็นพืชที่เจริญเติบโตได้ในหลาย สภาพพื้นที่ มีการเจริญเติบโตเร็ว มีลักษณะของใบที่แตกต่างจากไม้ยืนต้น ทั่วไป ทนต่อการทำ�ลายของไฟป่า และมีประโยชน์ต่อประชาชนที่อาศัยอยู่ รอบๆป่าหรือพื้นที่นั้น ดังนั้น สาคูจึงเหมาะที่จะใช้เป็นพืชที่จะนำ�มาปลูกเพื่อวัตถุประสงค์ดังกล่าว โดย เฉพาะการนำ�มาปลูกเป็นแนวเขตอุทยานแห่งชาติ หรือเขตรักษาพันธุ์สัตว์ป่า เขตห้าม ล่าสัตว์ป่า รวมทั้งป่าสงวนแห่งชาติที่เป็นป่าพรุ ซึ่งเป็นวิธีการธรรมชาติที่สิ้นเปลืองค่าใช้ จ่ายน้อยและไม่มีผลเสียต่อการอนุรักษ์ทรัพยากรป่าไม้ ในปีพุทธศักราช 2542 โครงการศูนย์ศึกษาการพัฒนาพิกุลทอง อันเนื่องมาจาก พระราชดำ�ริ จังหวัดนราธิวาส โดยสถานีทดลองปลูกพรรณไม้พิกุลทอง ได้ทำ�การปลูก ปาล์มสาคู โดยปลูกเป็นแถบกว้าง 3 เมตร ยาวประมาณ 3 กิโลเมตร ตามแนวกันไฟ ที่ขุดขึ้นสำ�หรับใช้ในการป้องกันไฟไหม้ป่า ณ ป่าพรุโต๊ะแดง อำ�เภอสุไหงโกลก จังหวัด- นราธิวาส พบว่าต้นสาคูสามารถขึ้นได้ดีมาก จึงอาจนำ�มาใช้เป็นตัวอย่างเพื่อขยายผลไป ใช้ปลูก ในพื้นที่อื่นต่อไปได้ และจากการที่สาคูมีประโยชน์ โดยเกือบทุกส่วนสามารถนำ� มาใช้ประโยชน์ได้ ช่วยทำ�ให้เกิดความหลากหลายทางชีวภาพรวมทั้งเป็นแหล่งซับน้ำ�จืด ที่สำ�คัญจึงจำ�เป็นอย่างยิ่งที่จะต้องมีการศึกษาวิจัยอย่างรีบด่วนถึงขั้นตอนการและ เทคนิคการในผลิตกล้าสาคูให้เพียงพอต่อการปลูกต่อไป ( ที่มา : ธนิตย์ หนูยิ้ม : สาคู พันธุ์ไม้ - โครงการแผนที่ภูมิทัศน์ภาคใต้,2548)
  • 4. L a b S c h o o l P r o j e c t 71 มหัศจรรย์ป่าสาคู 71 สาคู เป็นพืชหลัก ที่ขึ้นบริเวณพื้นที่ชุ่มน้ำ� ห้วย หนอง คลอง บึง หรือแหล่งน้ำ� ธรรมชาติต่างๆ ในพื้นที่ ที่ต้นสาคูขึ้นหนาแน่น ก่อให้เกิดระบบนิเวศป่าสาคูที่มีความ อุดมสมบูรณ์ มีความหลากหลายทางชีวภาพ ได้เอื้อประโยชน์ต่อชาวบ้านที่อยู่อาศัยใกล้ ป่าสาคู และบริเวณใกล้เคียง ประโยชน์ของระบบนิเวศป่าสาคูจำ�แนกได้ ดังนี้ 1.แหล่งน้ำ�ป่าสาคู เป็นแหล่งกักเก็บน้ำ�ตามธรรมชาติที่สำ�คัญ ระบบรากของ สาคูช่วยซึมซับน้ำ� ทำ�ให้ระดับน้ำ�ใต้ดินตื้นเป็นแหล่งน้ำ�ดื่ม น้ำ�ใช้ และการทำ�การเกษตร และป้องกันการพังทลายของดินในช่วงหน้าฝนที่น้ำ�ไหลแรงและชาวบ้านนิยมขุดบ่อน้ำ� บริเวณใกล้ป่าสาคู เพราะในช่วงหน้าแล้ง น้ำ�จะไม่แห้งขอด 2.แหล่งอยู่อาศัยและเพาะพันธุ์สัตว์น้ำ� บริเวณแหล่งน้ำ�ในป่าสาคูจะเป็นแหล่ง หากิน อยู่อาศัยหลบซ่อน เป็นแหล่งขยายพันธุ์ของสัตว์น้ำ�หน้าแล้งสัตว์น้ำ�ได้อาศัยบริเวณ ป่าสาคูที่มีน้ำ�ขังชุ่มชื้นเพื่อรอเข้าสู่หน้าฝนอีกครั้งอาหารที่สำ�คัญของสัตว์ชนิดต่างๆได้แก่ อาหารที่ลอยมากับสายน้ำ� การทับถมของซากพืชซากสัตว์ หรือแม้แต่หน่ออ่อน ของสาคู และหอยโข่งชอบวางไข่บนทางสาคู 3.แหล่งพันธุ์พืชชนิดต่างๆ ป่าสาคูเป็นแหล่งอาหารเพื่อยังชีพ ชาวบ้านสามารถ เก็บเกี่ยวผลประโยชน์ได้จากป่าสาคูไม่ว่าจะเป็นไม้ใช้สอยผลไม้พื้นบ้านพืชผักพื้นบ้าน สมุนไพร การที่ไม่ต้องซื้อหมายถึงการประหยัดรายจ่าย และอาจเหลือขายเป็นรายได้เสริม ซึ่งเป็นฐานเศรษฐกิจพอเพียงของคนยากจน แสดงภาพ ระบบนิเวศป่าสาคูริมคลอง ที่มา : http://measwatch.org/writing/802
  • 5. 72 มหัศจรรย์ป่าสาคู 72 สรุประบบรากของสาคูช่วยซึมซับน้ำ� ทำ�ให้ระดับน้ำ�ใต้ดินตื้นเป็นแหล่งน้ำ�ดื่ม น้ำ� ใช้ และการทำ�การเกษตร และป้องกันการพังทลายของดินในช่วงหน้าฝน ที่น้ำ�ไหลแรง ชาวบ้านนิยมขุดบ่อน้ำ�บริเวณใกล้ป่าสาคู เพราะในช่วงหน้าแล้งระบบรากสาคูซับน้ำ�ไว้ไม่ แห้งขอด แสดงภาพ แหล่งน้ำ�ในป่าสาคู (สมาคมหยาดฝน เอื้อเฟื้อภาพและข้อมูล)