SlideShare a Scribd company logo
1 of 11
Download to read offline
พระราชดาริ
    พระราชเสาวนีย์สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ให้
ดาเนินงานโครงการ โดยพิจารณาสนับสนุนเงินงบประมาณให้สถานี
  วิจัยผลิตผลของป่า จังหวัดสกลนคร เป็นหน่วยงานริเริ่มดาเนิน
   โครงการในปี 2545 จานวน 806,900 บาท และให้กรมป่าไม้
   พิจารณาสนับสนุนเงินงบประมาณดาเนินโครงการในปีตอไป   ่
ความเป็นมาของโครงการ
   เมื่อปลายเดือนพฤศจิกายน 2544 สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ
ได้เสด็จทรงเยี่ยมราษฎรในท้องที่ของอาเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม ใน
การเสด็จคราวนั้นมีราษฎรที่เข้าเฝ้า ได้กราบทูลให้ทรงทราบถึงปัญหาในการ
ขาดแคลนที่อยู่อาศัยและที่ทากิน จึงทรงมีแนวพระราชดาริหาทางช่วยเหลือ
โดยจัดหาที่อยู่อาศัยให้ พร้อมกับมีพื้นที่ส่วนหนึ่งเพื่อให้ประกอบอาชีพเลียง
                                                                         ้
ครอบครัวได้ ซึ่งจัดหาพื้นที่ได้บริเวณสถานีบารุงพันธุ์สัตว์ จังหวัดสกลนคร
(ที่ราชพัสดุ) จัดเป็นหมู่บ้านจานวน 20 ครอบครัว ตั้งชื่อว่า หมู่บ้าน
เศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดสกลนคร และได้พระราชทานแนวพระราชดาริให้
จัดหาพืนที่บางส่วนมาจัดทาเป็นป่าชุมชน เพื่อให้ราษฎรได้ใช้ประโยชน์ใน
         ้
ด้านต่าง ๆ ซึ่งก็ได้พื้นที่บริเวณใกล้เคียงกับหมู่บ้าน พื้นที่ดาเนินการจานวน
62 ไร่
วัตถุประสงค์ของโครงการ
 เพื่อเป็นแหล่งป่าชุมชน สาหรับประชาชนในหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง
ที่ได้จัดสรรพื้นที่ให้ จานวน 20 ครอบครัว เพื่อที่จะได้มีแหล่งไม้ใช้สอย
ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ เช่นพรรณไม้ที่ใช้ในการก่อสร้างซ่อมแซม
บ้านเรือน ทาอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ในชีวิตประจาวัน พรรณไม้ที่ใช้
เป็นเชื้อเพลิง (ฟืนและถ่าน) พรรณไม้ที่ใช้บริโภคส่วนต่าง ๆ (เช่น ราก
เหง้า หน่อ ยอด ใบ ดอก ผล) โดยจัดให้เป็นแหล่งพรรณไม้ พืชอาหาร
สมุนไพร เครื่องเทศ และของป่าอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์ในการใช้สอย
ทั้งในงานก่อสร้างและงานศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน เพื่อยังชีพ หรือ
จาหน่ายได้
เป้าหมายของโครงการ

 1. ในพื้นที่ส่วนที่มีสภาพเป็นที่ราบโล่ง ดาเนินการปลูกรวบรวมพรรณ
ไม้ เพื่อการใช้สอย ต่าง ๆ เช่น พรรณไม้ที่ใช้ในการก่อสร้างซ่อมแซม
บ้านเรือน พรรณไม้ที่ใช้เป็นพลังงาน (ฟืน และถ่าน) พรรณไม้ที่ใช้ประโยชน์ใน
ด้านการเก็บหาของป่า รวมทั้งพรรณไม้ที่เป็นแหล่งอาหารรับประทานส่วนต่าง ๆ
ได้ โดยมีทั้งไม้ที่โตเร็ว ใช้ประโยชน์ได้ภายในระยะเวลาเพียงไม่กี่ปี และไม้
 เศรษฐกิจมีค่าบางชนิด ซึ่งเหมาะกับสภาพท้องถิ่นดั้งเดิม เช่น สัก สะเดา อะราง
 (นนทรีป่า) ขี้เหล็กบ้าน แดง ประดู่ มะค่าโมง เพกา สีเสียดเปลือก มะเม่าหลวง
 คอแลน ยอบ้าน ชะอม มะรุม ไผ่ไร่ หวายดง ฯลฯ โดยทาการปลูกคละกันไป
 เป็นกลุ่ม หรือปลูกแทรกระหว่างแถว ให้มีความสูงต้นไม้ลดหลันเป็นชั้น ๆ ใน
                                                              ่
 ลักษณะของป่าไม้มากกว่าสวนป่า พื้นที่ส่วนนี้ประมาณ 55 % ของโครงการ
เป้าหมายของโครงการ
     2. ในพื้นที่ส่วนที่มีลักษณะเป็นเนินเขา ซึ่งมีสภาพเดิมเป็นป่าเต็ง
รัง ทาการปลูกเสริมพรรณไม้ดั้งเดิม รวมทั้งพรรณไม้อื่น ๆ เพิ่มเติม
เพื่อเพิ่มความหนาแน่นของประชากรไม้ รวมทั้งความหลากหลายทาง
ชีวภาพ โดยเน้นหนักพรรณไม้ที่จะสามารถใช้ประโยชน์ในการอุปโภค
และบริโภคได้ ทั้งในด้านการใช้ประโยชน์จากเนื้อไม้ในการก่อสร้าง
ทาเครื่องมือเครื่องใช้ในชีวิตประจาวัน หรือเป็นพืชอาหาร เช่น แดง
ประดู่ พะยูง สมอไทย เพกา ติ้ว กระโดน ผักหวาน
ป่า เม็ก มะสัง มะตูม กระเจียว หวายดง หวาย
น้าผึ้ง ฯลฯ             พื้นที่ส่วนนี้ประมาณ 35% ของโครงการ
เป้าหมายของโครงการ
       3. ในพื้นที่ส่วนที่มีสภาพเป็นที่ลุ่ม ริมห้วย มีความชุ่มชื้นสูง ทา
การปลูกพรรณไม้ที่เป็นลักษณะของป่าดิบแล้ง ทั้งที่เป็นไม้ใหญ่มีคุณค่า
ทางเศรษฐกิจ และที่เป็นไม้ขนาดกลางและขนาดเล็ก ที่เป็นประโยชน์
ในด้านการใช้สอยอื่น ๆ เช่นเป็นพืชอาหาร เป็นสมุนไพร เป็นเครื่องเทศ
รวมทั้งพรรณไม้ที่ใช้เป็นยากาจัดศัตรูพืช โดยทั้งนี้จะมีทั้งไม้ใหญ่ ไม้
กลาง และไม้พื้นล่าง ปลูกผสมผสานกันไป เช่น ตะเคียนทอง ผัก
แพรว เถาย่านาง ชะมวง โล่ติ้น รวมทั้งพืชสมุนไพร หรือเครื่องเทศอื่น
ๆ ชนิดที่ต้องการแสงน้อย และเจริญเติบโตได้ดีภายใต้ร่มเงาไม้ชนิดอื่น
เช่น กระชายป่า ขมิ้นขาว ขมิ้นชัน บุก หวายดง ฯลฯ พื้นที่ส่วนนี้
ประมาณ 10 % ของโครงการ
ประโยชน์ที่ได้รับ

• ได้มีการจ้างแรงงานราษฎรในท้องถิ่น ทาให้ราษฎรในหมู่บ้านเศรษฐกิจ
  พอเพียง จังหวัด สกลนคร มีงานทา และมีรายได้ประจา
• เป็นแหล่งอาหารของราษฎรในหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง และหมู่บ้าน
  ใกล้เคียง ที่จะสามารถใช้ประโยชน์จากป่าแห่งนี้เพื่อเป็นแหล่ง
  อาหาร รวมทั้งเพื่อการยังชีพในด้านต่าง ๆ เช่น แหล่งไม้ให้สีบางชนิด
  รวมทั้งของป่าต่าง ๆ บางประเภทที่ราษฎรเก็บหามาใช้ประโยชน์ได้
ประโยชน์ที่ได้รับ

• ทาให้เกิดสภาพแวดล้อม และระบบนิเวศน์ที่ดี
• ราษฎรในพื้นที่เกิดจิตสานึกในการหวงแหนผืนป่าแห่งนี้ เพื่อนาไป
  สู่การใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนต่อไปในอนาคต
• เป็นรูปแบบการจัดการป่าเพือประโยชน์ในการใช้สอยที่หลากหลาย
                              ่
  และยั่งยืน ซึ่งสามารถที่จะนาไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่อื่น ๆ ได้
โครงการปลูกป่าของ จ. กาญจนบุรี
"โครงการปลูกป่า ต้นกล้าเพื่อพ่อ"
ผู้จัดทา
นางสาว กาญจนารัช คงสุข
   ชั้นม.4/6 เลขที่ 13

More Related Content

Similar to งานนำเสนอ1

ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์Duangsuwun Lasadang
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนpangminpm
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1mingpimon
 
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้Alatreon Deathqz
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขาโครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขาYves Rattanaphan
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริtipfylovely
 
โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร pang_patpp
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์fainaja
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์fainaja
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์fainaja
 
ไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับWanlop Chimpalee
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1Nuttayaporn2138
 
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินmoddodcom
 
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินmoddodcom
 
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินmoddodcom
 
สวนสวยหวาน
สวนสวยหวานสวนสวยหวาน
สวนสวยหวานBenjawan Punkum
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)rdschool
 

Similar to งานนำเสนอ1 (20)

ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
 
Forest
ForestForest
Forest
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลน
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1
 
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
สื่อการเรียนการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่อง ทรัพยากรป่าไม้
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขาโครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
โครงการ สวนผลไม้ชาวเขา
 
โครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริโครงการพระราชดำริ
โครงการพระราชดำริ
 
โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร โครงการพระราชดำร
โครงการพระราชดำร
 
ปกใน
ปกในปกใน
ปกใน
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
 
หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์หลักการอนุรักษ์
หลักการอนุรักษ์
 
ไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับไม้ดอกไม้ประดับ
ไม้ดอกไม้ประดับ
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1โครงการปลูกหญ้าแฝก1
โครงการปลูกหญ้าแฝก1
 
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
 
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
 
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิรินศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
ศูนย์วิจัยและศึกษาธรรมชาติป่าพรุสิริน
 
สวนสวยหวาน
สวนสวยหวานสวนสวยหวาน
สวนสวยหวาน
 
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
สิ่งแวดล้อม(ใช้โปรแกรมCaptivate)
 

งานนำเสนอ1

  • 1. พระราชดาริ พระราชเสาวนีย์สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ให้ ดาเนินงานโครงการ โดยพิจารณาสนับสนุนเงินงบประมาณให้สถานี วิจัยผลิตผลของป่า จังหวัดสกลนคร เป็นหน่วยงานริเริ่มดาเนิน โครงการในปี 2545 จานวน 806,900 บาท และให้กรมป่าไม้ พิจารณาสนับสนุนเงินงบประมาณดาเนินโครงการในปีตอไป ่
  • 2. ความเป็นมาของโครงการ เมื่อปลายเดือนพฤศจิกายน 2544 สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ ได้เสด็จทรงเยี่ยมราษฎรในท้องที่ของอาเภอปลาปาก จังหวัดนครพนม ใน การเสด็จคราวนั้นมีราษฎรที่เข้าเฝ้า ได้กราบทูลให้ทรงทราบถึงปัญหาในการ ขาดแคลนที่อยู่อาศัยและที่ทากิน จึงทรงมีแนวพระราชดาริหาทางช่วยเหลือ โดยจัดหาที่อยู่อาศัยให้ พร้อมกับมีพื้นที่ส่วนหนึ่งเพื่อให้ประกอบอาชีพเลียง ้ ครอบครัวได้ ซึ่งจัดหาพื้นที่ได้บริเวณสถานีบารุงพันธุ์สัตว์ จังหวัดสกลนคร (ที่ราชพัสดุ) จัดเป็นหมู่บ้านจานวน 20 ครอบครัว ตั้งชื่อว่า หมู่บ้าน เศรษฐกิจพอเพียง จังหวัดสกลนคร และได้พระราชทานแนวพระราชดาริให้ จัดหาพืนที่บางส่วนมาจัดทาเป็นป่าชุมชน เพื่อให้ราษฎรได้ใช้ประโยชน์ใน ้ ด้านต่าง ๆ ซึ่งก็ได้พื้นที่บริเวณใกล้เคียงกับหมู่บ้าน พื้นที่ดาเนินการจานวน 62 ไร่
  • 3. วัตถุประสงค์ของโครงการ เพื่อเป็นแหล่งป่าชุมชน สาหรับประชาชนในหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง ที่ได้จัดสรรพื้นที่ให้ จานวน 20 ครอบครัว เพื่อที่จะได้มีแหล่งไม้ใช้สอย ต่าง ๆ ที่เป็นประโยชน์ เช่นพรรณไม้ที่ใช้ในการก่อสร้างซ่อมแซม บ้านเรือน ทาอุปกรณ์เครื่องมือเครื่องใช้ในชีวิตประจาวัน พรรณไม้ที่ใช้ เป็นเชื้อเพลิง (ฟืนและถ่าน) พรรณไม้ที่ใช้บริโภคส่วนต่าง ๆ (เช่น ราก เหง้า หน่อ ยอด ใบ ดอก ผล) โดยจัดให้เป็นแหล่งพรรณไม้ พืชอาหาร สมุนไพร เครื่องเทศ และของป่าอื่น ๆ ที่เป็นประโยชน์ในการใช้สอย ทั้งในงานก่อสร้างและงานศิลปหัตถกรรมพื้นบ้าน เพื่อยังชีพ หรือ จาหน่ายได้
  • 4. เป้าหมายของโครงการ 1. ในพื้นที่ส่วนที่มีสภาพเป็นที่ราบโล่ง ดาเนินการปลูกรวบรวมพรรณ ไม้ เพื่อการใช้สอย ต่าง ๆ เช่น พรรณไม้ที่ใช้ในการก่อสร้างซ่อมแซม บ้านเรือน พรรณไม้ที่ใช้เป็นพลังงาน (ฟืน และถ่าน) พรรณไม้ที่ใช้ประโยชน์ใน ด้านการเก็บหาของป่า รวมทั้งพรรณไม้ที่เป็นแหล่งอาหารรับประทานส่วนต่าง ๆ ได้ โดยมีทั้งไม้ที่โตเร็ว ใช้ประโยชน์ได้ภายในระยะเวลาเพียงไม่กี่ปี และไม้ เศรษฐกิจมีค่าบางชนิด ซึ่งเหมาะกับสภาพท้องถิ่นดั้งเดิม เช่น สัก สะเดา อะราง (นนทรีป่า) ขี้เหล็กบ้าน แดง ประดู่ มะค่าโมง เพกา สีเสียดเปลือก มะเม่าหลวง คอแลน ยอบ้าน ชะอม มะรุม ไผ่ไร่ หวายดง ฯลฯ โดยทาการปลูกคละกันไป เป็นกลุ่ม หรือปลูกแทรกระหว่างแถว ให้มีความสูงต้นไม้ลดหลันเป็นชั้น ๆ ใน ่ ลักษณะของป่าไม้มากกว่าสวนป่า พื้นที่ส่วนนี้ประมาณ 55 % ของโครงการ
  • 5. เป้าหมายของโครงการ 2. ในพื้นที่ส่วนที่มีลักษณะเป็นเนินเขา ซึ่งมีสภาพเดิมเป็นป่าเต็ง รัง ทาการปลูกเสริมพรรณไม้ดั้งเดิม รวมทั้งพรรณไม้อื่น ๆ เพิ่มเติม เพื่อเพิ่มความหนาแน่นของประชากรไม้ รวมทั้งความหลากหลายทาง ชีวภาพ โดยเน้นหนักพรรณไม้ที่จะสามารถใช้ประโยชน์ในการอุปโภค และบริโภคได้ ทั้งในด้านการใช้ประโยชน์จากเนื้อไม้ในการก่อสร้าง ทาเครื่องมือเครื่องใช้ในชีวิตประจาวัน หรือเป็นพืชอาหาร เช่น แดง ประดู่ พะยูง สมอไทย เพกา ติ้ว กระโดน ผักหวาน ป่า เม็ก มะสัง มะตูม กระเจียว หวายดง หวาย น้าผึ้ง ฯลฯ พื้นที่ส่วนนี้ประมาณ 35% ของโครงการ
  • 6. เป้าหมายของโครงการ 3. ในพื้นที่ส่วนที่มีสภาพเป็นที่ลุ่ม ริมห้วย มีความชุ่มชื้นสูง ทา การปลูกพรรณไม้ที่เป็นลักษณะของป่าดิบแล้ง ทั้งที่เป็นไม้ใหญ่มีคุณค่า ทางเศรษฐกิจ และที่เป็นไม้ขนาดกลางและขนาดเล็ก ที่เป็นประโยชน์ ในด้านการใช้สอยอื่น ๆ เช่นเป็นพืชอาหาร เป็นสมุนไพร เป็นเครื่องเทศ รวมทั้งพรรณไม้ที่ใช้เป็นยากาจัดศัตรูพืช โดยทั้งนี้จะมีทั้งไม้ใหญ่ ไม้ กลาง และไม้พื้นล่าง ปลูกผสมผสานกันไป เช่น ตะเคียนทอง ผัก แพรว เถาย่านาง ชะมวง โล่ติ้น รวมทั้งพืชสมุนไพร หรือเครื่องเทศอื่น ๆ ชนิดที่ต้องการแสงน้อย และเจริญเติบโตได้ดีภายใต้ร่มเงาไม้ชนิดอื่น เช่น กระชายป่า ขมิ้นขาว ขมิ้นชัน บุก หวายดง ฯลฯ พื้นที่ส่วนนี้ ประมาณ 10 % ของโครงการ
  • 7. ประโยชน์ที่ได้รับ • ได้มีการจ้างแรงงานราษฎรในท้องถิ่น ทาให้ราษฎรในหมู่บ้านเศรษฐกิจ พอเพียง จังหวัด สกลนคร มีงานทา และมีรายได้ประจา • เป็นแหล่งอาหารของราษฎรในหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง และหมู่บ้าน ใกล้เคียง ที่จะสามารถใช้ประโยชน์จากป่าแห่งนี้เพื่อเป็นแหล่ง อาหาร รวมทั้งเพื่อการยังชีพในด้านต่าง ๆ เช่น แหล่งไม้ให้สีบางชนิด รวมทั้งของป่าต่าง ๆ บางประเภทที่ราษฎรเก็บหามาใช้ประโยชน์ได้
  • 8. ประโยชน์ที่ได้รับ • ทาให้เกิดสภาพแวดล้อม และระบบนิเวศน์ที่ดี • ราษฎรในพื้นที่เกิดจิตสานึกในการหวงแหนผืนป่าแห่งนี้ เพื่อนาไป สู่การใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืนต่อไปในอนาคต • เป็นรูปแบบการจัดการป่าเพือประโยชน์ในการใช้สอยที่หลากหลาย ่ และยั่งยืน ซึ่งสามารถที่จะนาไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่อื่น ๆ ได้