SlideShare a Scribd company logo
1 of 9
Download to read offline
L a b S c h o o l P r o j e c t
59
มหัศจรรย์ป่าสาคู
59
ด้วงสาคู
	 ป่าสาคูธรรมชาติเมื่อต้นสาคูที่แก่เต็มที่แล้วตายพบว่าจะมีแมลงปีกแข็งชนิดหนึ่ง
ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rhynchcphorus schach ชาวใต้เรียกว่าแมลงหวัง มาเจาะและกิน
แกนในของลำ�ต้น เมื่อตัวเต็มวัยจะวางไข่ เมื่อไข่กลายเป็นตัวอ่อน ชาวบ้านจะใช้มีดหรือ
ขวานผ่าลำ�ต้น เพื่อเก็บตัวอ่อน ไปรับประทานหรือขาย ซึ่งได้ราคาดีมาก เป็นอาหารที่หา
รับประทานได้ทั่วไปในจังหวัดทางภาคใต้ ตัวอ่อนด้วงสาคูนี้จัดเป็นอาหารที่มีโปรตีนสูง
14.3 % ไขมัน 63.7 %น้ำ�และอื่นๆ 22 % ( Sim,1986) แต่อย่างไรก็ตาม ตัวอ่อนด้วงสาคู
นี้ บางคนอาจแพ้ ทำ�ให้เกิดลมพิษตามผิวหนังหรือหายใจขัดๆ ได้
แสดงภาพ ด้วงสาคูและพ่อพันธุ์-แม่พันธุ์ของแมลงปีกแข็งชนิด
(Rhynchcphorus schach) หรือแมลงหวังทางภาคใต้
(ภาพจากอินเทอร์เน็ต)
นอกจากนี้ตัวอ่อนด้วงสาคู ยังสามารถเพาะเลี้ยงขึ้นได้ โดยการนำ�ลำ�ต้นสาคู
มาตัดเป็นท่อนๆ แล้วเอาใบสาคูมาคลุมไว้ ด้วงก็จะมากินและวางไข่ ประมาณ 75 วัน
หลังจากวางไข่ สามารถเก็บตัวอ่อนด้วงสาคู ขายได้ราคากิโลกรัมละ 180-250 บาท และ
ยังไม่พบว่าด้วงสาคูนี้ทำ�ลายสาคูใหญ่ที่ยังชีวิต
60
มหัศจรรย์ป่าสาคู
60
แสดงภาพสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ และพระบรมโอรสาธิราชสมเด็จ
พระราชกุมาร เสด็จเยี่ยมฟาร์มเพาะเลี้ยงด้วงสาคู
ที่มา : http://queengoto.blogspot.com/
แสดงภาพหัวหน้าโครงการถวายรายงานเกี่ยวกับการเพาะเลี้ยงด้วงสาคู
L a b S c h o o l P r o j e c t
61
มหัศจรรย์ป่าสาคู
61
	 ขั้นตอน การเพาะเลี้ยงตัวอ่อนด้วงสาคู ของเกษตรกรภาคใต้ เริ่มแรก
นำ�ใยมะพร้าวสดวางคลุมท่อนสาคู จากนั้น ใส่พ่อพันธุ์และแม่พันธุ์ด้วงสาคู ลงไป ลำ�ต้น
ของสาคู ที่อุดมไปด้วยอาหารของด้วง ส่วนปลายหรือโคน ที่ใช้ประโยชน์อย่างอื่นไม่ได้
เมื่อยางและส่วนในลำ�ต้นหายไปหมดแล้ว จะมีตัวด้วงไชซอนเข้าไปวางไข่ และเจริญ
เป็นตัวดักแด้ซึ่งมีปลอกหุ้ม ขนาดปลอกยาวประมาณ 5 - 6 เซนติเมตร ตัวดักแด้ที่เกิด
จากสาคู เรียกว่า “ด้วงสาคู” แต่ละตัวมีความยาว 4 - 5 เซ็นติเมตรประมาณเท่าหัวแม่มือ
มีสีน้ำ�ตาลอ่อน ใช้ระยะเวลาเลี้ยงประมาณ 60 - 75 วัน สามารถเก็บนำ�ไปต้มเกลือเป็น
อาหาร รับประทาน จะมีรสชาติอร่อย นิ่มและมีรสมันมากชาวบ้านบางคนนำ�ด้วงสาคูที่ต้ม
เกลือแล้วรับประทานกับข้าวเหนียวรสชาติดีกว่ารับประทานข้าวเหนียวกับเนื้อ แถมขาย
ได้ราคาดี กิโลกรัมละ 180 - 250 บาท ตัวอ่อนของแมลงที่อยู่ในต้นสาคูจะเก็บได้ประมาณ
10 - 13 กิโลกรัม สร้างรายได้ประมาณ 1,500 – 2,000 บาท ต่อต้น
แสดงภาพท่อนสาคูแหล่งอาหารและการเจริญเติบโตของด้วง
(ภาพจากอินเทอร์เน็ต)
62
มหัศจรรย์ป่าสาคู
62
แสดงภาพการใช้ต้นสาคูเพาะเลี้ยงด้วงสาคูในรูปแบบต่างๆ
ที่มา : http://www.rakbankerd.com/agriculture/wb/show.php?Category=agriculture&
No=20237
L a b S c h o o l P r o j e c t
63
มหัศจรรย์ป่าสาคู
63
แสดงภาพ คุณเสน่ห์ ท่าดี เจ้าของแปลงเพาะเลี้ยง “ด้วงสาคู”
บ้านเลขที่ 11/3 หมู่ที่ 4 ต.โคกเจริญ อ.ทับปุด จ. พังงา
ที่มา : http://www.rakbankerd.com/agriculture/wb/show.php?Category=agriculture&
No=20237
64
มหัศจรรย์ป่าสาคู
64
อาหารจานเด็ดจากด้วงสาคู
แสดงภาพ ด้วงสาคูคั่วเกลือ แสดงภาพด้วงสาคูทอดกรอบ
อาหารจานเด็ดจากด้วงสาคู แสดงภาพด้วงสาคูขณะมีชีวิต
แสดงภาพเกลือ ใบมะกรูด แสดงภาพด้วงสาคูคั่วเกลือ
L a b S c h o o l P r o j e c t
65
มหัศจรรย์ป่าสาคู
65
แสดงภาพขั้นตอนการ
การทำ�ด้วงสาคูคั่วเกลือ
66
มหัศจรรย์ป่าสาคู
66
สรุปด้วงสาคู จะมีโปรตีนสูงมากขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมการบริโภคของแต่ละพื้นที่ในจังหวัดตรัง
ชาวบ้านหาด้วงสาคูได้ 2 วิธี คือ
1.	 จากธรรมชาติ เมื่อต้นสาคูมีแป้งในลำ�ต้นจะมีแมลงปีกแข็งซึ่งชาวบ้านเรียกว่า
แมลงหวัง มาเจาะกัดกินเนื้อในลำ�ต้นสาคูและวางไข่เจริญเติบโตเป็นด้วงสาคู
2.	 การเลี้ยงด้วงสาคู โดยการตัดสาคูเป็นท่อนๆทิ้งไว้ไม่ให้จมน้ำ� หรือวางไว้บน
ที่แห้งแล้วรดน้ำ�ให้เปียกอยู่เสมอ (บางพื้นที่หยดน้ำ�ปลาเพื่อล่อแมลงหวังให้
มาวางไข่เร็วขึ้น) ประมาณ 40 - 60 วันจะมีแมลงหวังมาวางไข่แล้วเจริญเป็น
ตัวอ่อนเรียกว่า ด้วงสาคู ซึ่งแต่ละตัวจะมีความยาวประมาณ 3-4 เซนติเมตร
โตประมาณเท่าหัวแม่มือมีสีน้ำ�ตาลอ่อนโดยสาคูหนึ่งต้นจะมีตัวด้วงประมาณ
3 - 5 กิโลกรัม ราคาในท้องตลาดกิโลกรัมละ 250 บาท ปัจจุบันมีการเพาะเลี้ยง
ด้วงสาคูเป็นรายได้เสริมและวิธีรับประทานคือนำ�ไปคั่วเกลือหรือทอดกรอบ
แสดงภาพ ด้วงสาคูคั่วเกลือ บ้านนางจิต ชุมเชื้อ อ.นาโยง จ.ตรัง
L a b S c h o o l P r o j e c t
67
มหัศจรรย์ป่าสาคู
67
แสดงภาพ นักเรียนสำ�รวจและ ศึกษาวงจรชีวิตด้วงสาคูในท้องถิ่น ต.โคกสะบ้า อ.นาโยง
จ.ตรัง วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์
แสดงภาพ วงชีวิตด้วงสาคู
ตัวเต็มวัย (Adult)
ดักแด้ (Pupa)
ไข่ (Egg
หนอน (Larva)

More Related Content

More from ครู กัน

19บรรณานุกรม
19บรรณานุกรม19บรรณานุกรม
19บรรณานุกรมครู กัน
 
18xป่าสาคู ตู้กับข้าวและเครื่องทำความเย็นในดินแดนด้ามขวาน
18xป่าสาคู ตู้กับข้าวและเครื่องทำความเย็นในดินแดนด้ามขวาน18xป่าสาคู ตู้กับข้าวและเครื่องทำความเย็นในดินแดนด้ามขวาน
18xป่าสาคู ตู้กับข้าวและเครื่องทำความเย็นในดินแดนด้ามขวานครู กัน
 
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคูครู กัน
 
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคูครู กัน
 
15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียง
15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียง15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียง
15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียงครู กัน
 
14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่นครู กัน
 
12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต
12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต
12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคตครู กัน
 
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคูครู กัน
 
10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู
10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู
10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคูครู กัน
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมครู กัน
 
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคูครู กัน
 
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคูครู กัน
 
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคูครู กัน
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมครู กัน
 
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคูครู กัน
 

More from ครู กัน (16)

19บรรณานุกรม
19บรรณานุกรม19บรรณานุกรม
19บรรณานุกรม
 
18xป่าสาคู ตู้กับข้าวและเครื่องทำความเย็นในดินแดนด้ามขวาน
18xป่าสาคู ตู้กับข้าวและเครื่องทำความเย็นในดินแดนด้ามขวาน18xป่าสาคู ตู้กับข้าวและเครื่องทำความเย็นในดินแดนด้ามขวาน
18xป่าสาคู ตู้กับข้าวและเครื่องทำความเย็นในดินแดนด้ามขวาน
 
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
 
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
17เกือบสิ้นท่าหากเสียป่าสาคู
 
15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียง
15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียง15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียง
15ป่าสาคูกับเศรษฐกิจพอเพียง
 
14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
 
12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต
12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต
12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต
 
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู
 
10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู
10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู
10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
7ด้วง
7ด้วง7ด้วง
7ด้วง
 
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
 
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
 
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
 

7ด้วง

  • 1. L a b S c h o o l P r o j e c t 59 มหัศจรรย์ป่าสาคู 59 ด้วงสาคู ป่าสาคูธรรมชาติเมื่อต้นสาคูที่แก่เต็มที่แล้วตายพบว่าจะมีแมลงปีกแข็งชนิดหนึ่ง ชื่อวิทยาศาสตร์ว่า Rhynchcphorus schach ชาวใต้เรียกว่าแมลงหวัง มาเจาะและกิน แกนในของลำ�ต้น เมื่อตัวเต็มวัยจะวางไข่ เมื่อไข่กลายเป็นตัวอ่อน ชาวบ้านจะใช้มีดหรือ ขวานผ่าลำ�ต้น เพื่อเก็บตัวอ่อน ไปรับประทานหรือขาย ซึ่งได้ราคาดีมาก เป็นอาหารที่หา รับประทานได้ทั่วไปในจังหวัดทางภาคใต้ ตัวอ่อนด้วงสาคูนี้จัดเป็นอาหารที่มีโปรตีนสูง 14.3 % ไขมัน 63.7 %น้ำ�และอื่นๆ 22 % ( Sim,1986) แต่อย่างไรก็ตาม ตัวอ่อนด้วงสาคู นี้ บางคนอาจแพ้ ทำ�ให้เกิดลมพิษตามผิวหนังหรือหายใจขัดๆ ได้ แสดงภาพ ด้วงสาคูและพ่อพันธุ์-แม่พันธุ์ของแมลงปีกแข็งชนิด (Rhynchcphorus schach) หรือแมลงหวังทางภาคใต้ (ภาพจากอินเทอร์เน็ต) นอกจากนี้ตัวอ่อนด้วงสาคู ยังสามารถเพาะเลี้ยงขึ้นได้ โดยการนำ�ลำ�ต้นสาคู มาตัดเป็นท่อนๆ แล้วเอาใบสาคูมาคลุมไว้ ด้วงก็จะมากินและวางไข่ ประมาณ 75 วัน หลังจากวางไข่ สามารถเก็บตัวอ่อนด้วงสาคู ขายได้ราคากิโลกรัมละ 180-250 บาท และ ยังไม่พบว่าด้วงสาคูนี้ทำ�ลายสาคูใหญ่ที่ยังชีวิต
  • 3. L a b S c h o o l P r o j e c t 61 มหัศจรรย์ป่าสาคู 61 ขั้นตอน การเพาะเลี้ยงตัวอ่อนด้วงสาคู ของเกษตรกรภาคใต้ เริ่มแรก นำ�ใยมะพร้าวสดวางคลุมท่อนสาคู จากนั้น ใส่พ่อพันธุ์และแม่พันธุ์ด้วงสาคู ลงไป ลำ�ต้น ของสาคู ที่อุดมไปด้วยอาหารของด้วง ส่วนปลายหรือโคน ที่ใช้ประโยชน์อย่างอื่นไม่ได้ เมื่อยางและส่วนในลำ�ต้นหายไปหมดแล้ว จะมีตัวด้วงไชซอนเข้าไปวางไข่ และเจริญ เป็นตัวดักแด้ซึ่งมีปลอกหุ้ม ขนาดปลอกยาวประมาณ 5 - 6 เซนติเมตร ตัวดักแด้ที่เกิด จากสาคู เรียกว่า “ด้วงสาคู” แต่ละตัวมีความยาว 4 - 5 เซ็นติเมตรประมาณเท่าหัวแม่มือ มีสีน้ำ�ตาลอ่อน ใช้ระยะเวลาเลี้ยงประมาณ 60 - 75 วัน สามารถเก็บนำ�ไปต้มเกลือเป็น อาหาร รับประทาน จะมีรสชาติอร่อย นิ่มและมีรสมันมากชาวบ้านบางคนนำ�ด้วงสาคูที่ต้ม เกลือแล้วรับประทานกับข้าวเหนียวรสชาติดีกว่ารับประทานข้าวเหนียวกับเนื้อ แถมขาย ได้ราคาดี กิโลกรัมละ 180 - 250 บาท ตัวอ่อนของแมลงที่อยู่ในต้นสาคูจะเก็บได้ประมาณ 10 - 13 กิโลกรัม สร้างรายได้ประมาณ 1,500 – 2,000 บาท ต่อต้น แสดงภาพท่อนสาคูแหล่งอาหารและการเจริญเติบโตของด้วง (ภาพจากอินเทอร์เน็ต)
  • 5. L a b S c h o o l P r o j e c t 63 มหัศจรรย์ป่าสาคู 63 แสดงภาพ คุณเสน่ห์ ท่าดี เจ้าของแปลงเพาะเลี้ยง “ด้วงสาคู” บ้านเลขที่ 11/3 หมู่ที่ 4 ต.โคกเจริญ อ.ทับปุด จ. พังงา ที่มา : http://www.rakbankerd.com/agriculture/wb/show.php?Category=agriculture& No=20237
  • 7. L a b S c h o o l P r o j e c t 65 มหัศจรรย์ป่าสาคู 65 แสดงภาพขั้นตอนการ การทำ�ด้วงสาคูคั่วเกลือ
  • 8. 66 มหัศจรรย์ป่าสาคู 66 สรุปด้วงสาคู จะมีโปรตีนสูงมากขึ้นอยู่กับวัฒนธรรมการบริโภคของแต่ละพื้นที่ในจังหวัดตรัง ชาวบ้านหาด้วงสาคูได้ 2 วิธี คือ 1. จากธรรมชาติ เมื่อต้นสาคูมีแป้งในลำ�ต้นจะมีแมลงปีกแข็งซึ่งชาวบ้านเรียกว่า แมลงหวัง มาเจาะกัดกินเนื้อในลำ�ต้นสาคูและวางไข่เจริญเติบโตเป็นด้วงสาคู 2. การเลี้ยงด้วงสาคู โดยการตัดสาคูเป็นท่อนๆทิ้งไว้ไม่ให้จมน้ำ� หรือวางไว้บน ที่แห้งแล้วรดน้ำ�ให้เปียกอยู่เสมอ (บางพื้นที่หยดน้ำ�ปลาเพื่อล่อแมลงหวังให้ มาวางไข่เร็วขึ้น) ประมาณ 40 - 60 วันจะมีแมลงหวังมาวางไข่แล้วเจริญเป็น ตัวอ่อนเรียกว่า ด้วงสาคู ซึ่งแต่ละตัวจะมีความยาวประมาณ 3-4 เซนติเมตร โตประมาณเท่าหัวแม่มือมีสีน้ำ�ตาลอ่อนโดยสาคูหนึ่งต้นจะมีตัวด้วงประมาณ 3 - 5 กิโลกรัม ราคาในท้องตลาดกิโลกรัมละ 250 บาท ปัจจุบันมีการเพาะเลี้ยง ด้วงสาคูเป็นรายได้เสริมและวิธีรับประทานคือนำ�ไปคั่วเกลือหรือทอดกรอบ แสดงภาพ ด้วงสาคูคั่วเกลือ บ้านนางจิต ชุมเชื้อ อ.นาโยง จ.ตรัง
  • 9. L a b S c h o o l P r o j e c t 67 มหัศจรรย์ป่าสาคู 67 แสดงภาพ นักเรียนสำ�รวจและ ศึกษาวงจรชีวิตด้วงสาคูในท้องถิ่น ต.โคกสะบ้า อ.นาโยง จ.ตรัง วิชาโครงงานวิทยาศาสตร์ แสดงภาพ วงชีวิตด้วงสาคู ตัวเต็มวัย (Adult) ดักแด้ (Pupa) ไข่ (Egg หนอน (Larva)