SlideShare a Scribd company logo
1 of 6
Download to read offline
มหัศจรรย์
ป่าสาคู
หนังสืออ่านเพิ่มเติม
กันทิมา จารุมา
โรงเรียนสวัสดิ์รัตนาภิมุข
สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 13
90
มหัศจรรย์ป่าสาคู
90
แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต
	 งานวิจัยนวัตกรรมใหม่ การผลิตแป้งฝุ่นโรยตัวโดย ใช้แป้งสาคู เป็นวัตถุดิบ
กลุ่มคนประมงชายฝั่ง จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้ศึกษาการเพิ่มมูลค่าแป้งสาคูเพื่อพัฒนา
เป็นแป้งฝุ่น ซึ่งปัจจุบัน (พุทธศักราช 2551) อยู่ในระหว่างการดำ�เนินงานวิจัย โดยมีขั้น
ตอนการสกัดแป้งเช่นเดียวกับการสกัดแป้งสาคูเพื่อใช้เป็นอาหาร
	 หนึ่งในโครงการพระราชดำ�ริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ที่ทรงเห็นคุณค่า
ของผลผลิตในท้องถิ่นลุ่มน้ำ�ปากพนัง ทำ�การวิจัยโดย สถาบันทรัพยากรชายฝั่งเพื่อพัฒนา
แป้งสาคูไปเป็นแป้งฝุ่น
แสดงภาพ ต้นสาคูกำ�ลังออกดอก : กำ�ลังวิจัยแป้งเพื่อพัฒนาเป็นแป้งฝุ่นโรยตัว
(กำ�ลังอยู่ระหว่างการศึกษาวิจัย)
L a b S c h o o l P r o j e c t
91
มหัศจรรย์ป่าสาคู
91
แสดงภาพขั้นตอน
การวิจัยแป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นเหมือนการทำ�แป้งสาคูทั่วไป
แสดงภาพ ลักษณะเซลล์ และ
เม็ดแป้งในลำ�ต้นสาคู
92
มหัศจรรย์ป่าสาคู
92
แสดงภาพ ขั้นตอนการทำ�แป้งสาคู
เพื่อผลิตเป็นแป้งฝุ่นโรยตัว
แสดงภาพ เม็ดแป้งในเนื้อสาคูผ่านกล้องจุลทรรศน์
A = ผ่านกล้องจุลทรรศน์แบบใช้แสง B = ผ่านกล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอน
ทีมา : (Schuiling and Flach,1985)
A B
L a b S c h o o l P r o j e c t
93
มหัศจรรย์ป่าสาคู
แสดงภาพ ทีมงานวิจัยแป้งสาคู พัฒนาเป็นแป้งฝุ่น
	 จากลักษณะภายนอก ของแป้งสาคู ซึ่งเป็นผงละเอียดสีขาว และ มีคุณสมบัติที่มี
ความเป็นไปได้สูงในการนำ�มาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเครื่องสำ�อางประเภทแป้งฝุ่นโรยตัว
	 ในประเทศไทย แป้งฝุ่นโรยตัวประกอบด้วย ผงทัลคัม (Talcum) เป็นส่วนใหญ่
แต่ในสหรัฐอเมริกานิยมใช้แป้งจากพืช เช่น แป้งข้าวโพด และแป้งข้าวเจ้า การใช้แป้งจาก
พืชมีข้อดีกว่าการใช้ผงทัลคัม เพราะผงทัลคัมเป็นสารที่ไม่สลายตัว
94
มหัศจรรย์ป่าสาคู
94
	 หากผู้บริโภคสูดเอาผงทัลคัม เข้าไปในปริมาณมากอาจเกิด Solicosis ในปอดได้ใน
ขณะที่แป้งจากพืชสามารถสลายตัวได้ อย่างไรก็ตามแป้งจากพืชมีข้อเสีย เนื่องจากความ
เหนียวหนืด เวลาผสมแร่งและเทออกจากภาชนะบรรจุ ซึ่งปัญหาดังกล่าวสามารถแก้ไข
ได้โดยการตั้งสูตรตำ�รับที่เหมาะสมโดยการคัดเลือกส่วนประกอบที่เหมาะสมได้แก่ ทัลคัม
แคลเซียมคาร์บอเนตชนิดผงเบาละเอียด แมกนีเซียมคาร์บอเนตชนิดผงเบาละเอียด
คาโอลินชนิดผงเบา ซิงค์ออกไซด์ เป็นต้น มาผสมกับแป้งจากพืชในปริมาณที่เหมาะสม
ก่อนการนำ�ไปแร่งและบรรจุ
	 นอกจากนี้ในตำ�รับอาจเติมสารแต่งกลิ่น เพื่อเพิ่มความน่าใช้ หรือเติมสารช่วย
ทำ�ให้ผิวเย็นเพื่อให้ทาแล้วเกิดความรู้สึกเย็นสดชื่น ดังนั้น ส่วนต่างๆ ของต้นสาคูจึง
สามารถนำ�มาใช้ประโยชน์ได้ทั้งหมด เช่น ใบ (Leaflets) นำ�ไปเย็บเพื่อใช้มุงหลังคา,
เปลือกต้น (Cortex of trunk) นำ�ไปเผาทำ�ถ่าน, แก่นเนื้อไม้ (Pith) นำ�ไปสกัดแป้งสาคู
(Sago starch) เพื่อทำ�ขนมและอาหาร เป็นต้น
แสดงภาพ ป่าสาคู ที่ป่าพรุสิรินธร (พรุโต๊ะแดง)
ที่มา : http://www.manager.co.th/Travel/ViewNews.aspx?NewsID=9530000144210

More Related Content

More from ครู กัน

13มูลค่าต้นสาคูเชิงเศรษฐกิจ
13มูลค่าต้นสาคูเชิงเศรษฐกิจ13มูลค่าต้นสาคูเชิงเศรษฐกิจ
13มูลค่าต้นสาคูเชิงเศรษฐกิจครู กัน
 
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคูครู กัน
 
10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู
10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู
10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคูครู กัน
 
9การผลิตแป้งสาคู
9การผลิตแป้งสาคู9การผลิตแป้งสาคู
9การผลิตแป้งสาคูครู กัน
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมครู กัน
 
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคูครู กัน
 
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคูครู กัน
 
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคูครู กัน
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมครู กัน
 
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคูครู กัน
 

More from ครู กัน (12)

13มูลค่าต้นสาคูเชิงเศรษฐกิจ
13มูลค่าต้นสาคูเชิงเศรษฐกิจ13มูลค่าต้นสาคูเชิงเศรษฐกิจ
13มูลค่าต้นสาคูเชิงเศรษฐกิจ
 
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู
 
10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู
10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู
10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู
 
9การผลิตแป้งสาคู
9การผลิตแป้งสาคู9การผลิตแป้งสาคู
9การผลิตแป้งสาคู
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
7ด้วง
7ด้วง7ด้วง
7ด้วง
 
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
 
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
 
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
7ด้วง
7ด้วง7ด้วง
7ด้วง
 
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
 

12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต

  • 2. 90 มหัศจรรย์ป่าสาคู 90 แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต งานวิจัยนวัตกรรมใหม่ การผลิตแป้งฝุ่นโรยตัวโดย ใช้แป้งสาคู เป็นวัตถุดิบ กลุ่มคนประมงชายฝั่ง จังหวัดนครศรีธรรมราช ได้ศึกษาการเพิ่มมูลค่าแป้งสาคูเพื่อพัฒนา เป็นแป้งฝุ่น ซึ่งปัจจุบัน (พุทธศักราช 2551) อยู่ในระหว่างการดำ�เนินงานวิจัย โดยมีขั้น ตอนการสกัดแป้งเช่นเดียวกับการสกัดแป้งสาคูเพื่อใช้เป็นอาหาร หนึ่งในโครงการพระราชดำ�ริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวฯ ที่ทรงเห็นคุณค่า ของผลผลิตในท้องถิ่นลุ่มน้ำ�ปากพนัง ทำ�การวิจัยโดย สถาบันทรัพยากรชายฝั่งเพื่อพัฒนา แป้งสาคูไปเป็นแป้งฝุ่น แสดงภาพ ต้นสาคูกำ�ลังออกดอก : กำ�ลังวิจัยแป้งเพื่อพัฒนาเป็นแป้งฝุ่นโรยตัว (กำ�ลังอยู่ระหว่างการศึกษาวิจัย)
  • 3. L a b S c h o o l P r o j e c t 91 มหัศจรรย์ป่าสาคู 91 แสดงภาพขั้นตอน การวิจัยแป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นเหมือนการทำ�แป้งสาคูทั่วไป แสดงภาพ ลักษณะเซลล์ และ เม็ดแป้งในลำ�ต้นสาคู
  • 5. L a b S c h o o l P r o j e c t 93 มหัศจรรย์ป่าสาคู แสดงภาพ ทีมงานวิจัยแป้งสาคู พัฒนาเป็นแป้งฝุ่น จากลักษณะภายนอก ของแป้งสาคู ซึ่งเป็นผงละเอียดสีขาว และ มีคุณสมบัติที่มี ความเป็นไปได้สูงในการนำ�มาใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิตเครื่องสำ�อางประเภทแป้งฝุ่นโรยตัว ในประเทศไทย แป้งฝุ่นโรยตัวประกอบด้วย ผงทัลคัม (Talcum) เป็นส่วนใหญ่ แต่ในสหรัฐอเมริกานิยมใช้แป้งจากพืช เช่น แป้งข้าวโพด และแป้งข้าวเจ้า การใช้แป้งจาก พืชมีข้อดีกว่าการใช้ผงทัลคัม เพราะผงทัลคัมเป็นสารที่ไม่สลายตัว
  • 6. 94 มหัศจรรย์ป่าสาคู 94 หากผู้บริโภคสูดเอาผงทัลคัม เข้าไปในปริมาณมากอาจเกิด Solicosis ในปอดได้ใน ขณะที่แป้งจากพืชสามารถสลายตัวได้ อย่างไรก็ตามแป้งจากพืชมีข้อเสีย เนื่องจากความ เหนียวหนืด เวลาผสมแร่งและเทออกจากภาชนะบรรจุ ซึ่งปัญหาดังกล่าวสามารถแก้ไข ได้โดยการตั้งสูตรตำ�รับที่เหมาะสมโดยการคัดเลือกส่วนประกอบที่เหมาะสมได้แก่ ทัลคัม แคลเซียมคาร์บอเนตชนิดผงเบาละเอียด แมกนีเซียมคาร์บอเนตชนิดผงเบาละเอียด คาโอลินชนิดผงเบา ซิงค์ออกไซด์ เป็นต้น มาผสมกับแป้งจากพืชในปริมาณที่เหมาะสม ก่อนการนำ�ไปแร่งและบรรจุ นอกจากนี้ในตำ�รับอาจเติมสารแต่งกลิ่น เพื่อเพิ่มความน่าใช้ หรือเติมสารช่วย ทำ�ให้ผิวเย็นเพื่อให้ทาแล้วเกิดความรู้สึกเย็นสดชื่น ดังนั้น ส่วนต่างๆ ของต้นสาคูจึง สามารถนำ�มาใช้ประโยชน์ได้ทั้งหมด เช่น ใบ (Leaflets) นำ�ไปเย็บเพื่อใช้มุงหลังคา, เปลือกต้น (Cortex of trunk) นำ�ไปเผาทำ�ถ่าน, แก่นเนื้อไม้ (Pith) นำ�ไปสกัดแป้งสาคู (Sago starch) เพื่อทำ�ขนมและอาหาร เป็นต้น แสดงภาพ ป่าสาคู ที่ป่าพรุสิรินธร (พรุโต๊ะแดง) ที่มา : http://www.manager.co.th/Travel/ViewNews.aspx?NewsID=9530000144210