SlideShare a Scribd company logo
1 of 4
Download to read offline
มหัศจรรย์
ป่าสาคู
หนังสืออ่านเพิ่มเติม
กันทิมา จารุมา
โรงเรียนสวัสดิ์รัตนาภิมุข
สำ�นักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 13
L a b S c h o o l P r o j e c t
95
มหัศจรรย์ป่าสาคู
มูลค่าต้นสาคูเชิงเศรษฐกิจ
สาคู......เป็นพืชที่มีคุณค่าอย่างอเนกอนันต์ ซึ่งทางโครงการอบรมเกษตรกร
ตามแนวพระราชดำ�รัส“เศรษฐกิจพอเพียง”ได้นำ�มาเป็นสื่อในการปลุกจิตสำ�นึก เพื่อให้
คนในพื้นที่ได้เกิดประกายในการทดแทนรายจ่าย เมื่อไม่ต้องจ่ายก็ไม่ต้องเสียทรัพย์ หรือ
จะนำ�ไปแปรรูปเป็นสินค้าจำ�หน่ายขาย
แสดงภาพ ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่สามารถใช้ประโยชน์จากแป้งสาคู
(ภาพจากอินเทอร์เน็ต)
96
มหัศจรรย์ป่าสาคู
96
	 จากงานวิจัย ของธนิตย์ หนูยิ้ม พบว่าปริมาณแป้ง ที่สกัดจากต้นสาคูจะมีมาก
หรือน้อยขึ้นอยู่กับพื้นที่และอัตราการเจริญเติบโต ตลอดจน การจัดการป่าสาคู หากมีการ
จัดการและดูแลดี ต้นสาคูให้ผลผลิตแป้งสูง ถึง 4 ตัน/ปี/ไร่ แต่หากปล่อยให้เจริญเติบโตเอง
ตามธรรมชาติ ผลผลิตอาจลดลงครึ่งหนึ่งหรือมากกว่า (Vidyatmoko.1960)
นอกจากนี้ การศึกษาในต่างประเทศ พบว่าป่าสาคูที่มีการดูแลอย่างดีและปลูกไว้
เพื่อใช้แป้งอย่างเดียว โดยไม่ตัดเอาใบมาใช้มุงหลังคา สามารถให้ผลผลิตแป้งสูงถึง 175
กิโลกรัม/ต้น แต่ถ้าตัดเอาใบมาใช้มุงหลังคาอย่างต่อเนื่องด้วย จะให้ผลผลิตลดลงเหลือ
เพียง 55 กิโลกรัม คือลดลงมากกว่า 3 เท่า
ผลผลิตแป้ง จากแปลงสาคูที่ให้ปริมาณแป้งสูงถึง 4 ตัน/ไร่/ปี ถือเป็นผลผลิต
ที่สูงมาก เพราะเมื่อเปรียบเทียบกับผลผลิตของพืชชนิดอื่นๆ ดังนี้
—	 ข้าว 0.96 ตัน /ไร่/ปี
—	 ข้าวโพด 0.88 ตัน /ไร่/ปี
—	 ข้าวสาลี 0.8 ตัน /ไร่/ปี
—	 มันฝรั่ง 0.4 ตัน /ไร่/ปี
—	 มันสำ�ปะหลัง 0.24 ตัน /ไร่/ปี
—	 แป้งสาคู 4 ตัน /ไร่/ปี ดังที่กล่าวข้างต้น ( Ishizaki,1996)
	 โดยเฉลี่ยแล้วมนุษย์ รับประทานข้าวสารปีละ 250 กิโลกรัม/คน ดังนั้นสาคู 1 ไร่
ซึ่งถ้าจัดการอย่างดีดังที่กล่าวข้างต้นจะสามารถ ให้ผลผลิตสูง ถึงปีละ 4 ตัน จึงสามารถ
เลี้ยงคนได้ประมาณ 16 คน ถึงแม้ว่า ปัจจุบัน ข้าว จะเป็นอาหารหลักของมนุษย์
	 แต่จากการที่ประชากรโลกเพิ่มขึ้น ในขณะที่พื้นที่ทำ�การเกษตรลดลง ซึ่งอาจ
ทำ�ให้เกิดปัญหาการขาดแคลนอาหารในอนาคต ดังนั้นการเพิ่มผลผลิตต่อพื้นที่ จึงมีความ
จำ�เป็นมาก เมื่อพิจารณาผลผลิตสาคู จึงอาจเป็นทางเลือกที่มนุษย์ใช้ปลูกเป็นแหล่ง
อาหารของคนและสัตว์ในอนาคต
L a b S c h o o l P r o j e c t
97
มหัศจรรย์ป่าสาคู
97
เปรียบเทียบรายได้จากการทำ�สวนยางพารา/การทำ�นา/การใช้ประโยชน์จาก
ต้นสาคู
ชนิดพืช
ระยะเวลา
การผลิต
(วัน/ ปี)
ผลผลิต
(ไร่/วัน)
ผลผลิต/
ไร่/ปี
ต้นทุน
การ
ผลิต
ต้นทุนการ
ผลิต/ไร่/ปี
รายได้จาก
การขาย
ผลผลิต
รายได้สุทธิ/หน่วย รายได้สุทธิ/ปี
กำ�ไร ขาดทุน กำ�ไร ขาดทุน
ยางพารา
181.5
(วัน)
2 ก.ก.
363
ก.ก.
24.12 8,755.56 6,715.50 - 5.62 - 2,040.06
ข้าว 1 ปี/ครั้ง -
450
ก.ก.
5.76 2,313 1,980 - 1.35 - 333
ต้นสาคู
เย็บจาก 85 วัน 24 ตับ 2,048
ตับ
5.91 12,103.68 16,384 2.09 - 4,280.42 -
ทำ�แป้ง 60 วัน
10 ก.ก./
ท่อน
600
ก.ก.
26 15,600 24,000 14 - 8,400
(ที่มา: ศูนย์วิจัยยาง อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา : ศูนย์วิจัยพันธุ์ข้าว อ.เมือง จ.พัทลุง : สุ่มตัวอย่างการ
ใช้ประโยชน์พื้นที่ป่าสาคูอนุรักษ์ หมู่ 10 ต.นาข้าวเสีย อ.นาโยง จ.ตรัง รวบรวมโดย สมาคมหยาดฝน
จังหวัดตรัง)

More Related Content

More from ครู กัน

14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่นครู กัน
 
12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต
12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต
12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคตครู กัน
 
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคูครู กัน
 
10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู
10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู
10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคูครู กัน
 
9การผลิตแป้งสาคู
9การผลิตแป้งสาคู9การผลิตแป้งสาคู
9การผลิตแป้งสาคูครู กัน
 
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคูครู กัน
 
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคูครู กัน
 
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคูครู กัน
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมครู กัน
 
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคูครู กัน
 

More from ครู กัน (11)

14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
14ป่าสาคูแหล่งการเรียนรู้ในท้องถิ่น
 
12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต
12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต
12แป้งสาคูสู่แป้งฝุ่นในอนาคต
 
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู
11ขนมและเครื่องจักสานจากสาคู
 
10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู
10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู
10ส่วนประกอบทางเคมีของแป้งสาคู
 
9การผลิตแป้งสาคู
9การผลิตแป้งสาคู9การผลิตแป้งสาคู
9การผลิตแป้งสาคู
 
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
 
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
 
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
5ความหลากหลายทางชีวภาพพื้นที่ป่าสาคู
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
7ด้วง
7ด้วง7ด้วง
7ด้วง
 
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
6ประโยชน์และคุณค่าขอป่างสาคู
 

13มูลค่าต้นสาคูเชิงเศรษฐกิจ

  • 2. L a b S c h o o l P r o j e c t 95 มหัศจรรย์ป่าสาคู มูลค่าต้นสาคูเชิงเศรษฐกิจ สาคู......เป็นพืชที่มีคุณค่าอย่างอเนกอนันต์ ซึ่งทางโครงการอบรมเกษตรกร ตามแนวพระราชดำ�รัส“เศรษฐกิจพอเพียง”ได้นำ�มาเป็นสื่อในการปลุกจิตสำ�นึก เพื่อให้ คนในพื้นที่ได้เกิดประกายในการทดแทนรายจ่าย เมื่อไม่ต้องจ่ายก็ไม่ต้องเสียทรัพย์ หรือ จะนำ�ไปแปรรูปเป็นสินค้าจำ�หน่ายขาย แสดงภาพ ตัวอย่างผลิตภัณฑ์ที่สามารถใช้ประโยชน์จากแป้งสาคู (ภาพจากอินเทอร์เน็ต)
  • 3. 96 มหัศจรรย์ป่าสาคู 96 จากงานวิจัย ของธนิตย์ หนูยิ้ม พบว่าปริมาณแป้ง ที่สกัดจากต้นสาคูจะมีมาก หรือน้อยขึ้นอยู่กับพื้นที่และอัตราการเจริญเติบโต ตลอดจน การจัดการป่าสาคู หากมีการ จัดการและดูแลดี ต้นสาคูให้ผลผลิตแป้งสูง ถึง 4 ตัน/ปี/ไร่ แต่หากปล่อยให้เจริญเติบโตเอง ตามธรรมชาติ ผลผลิตอาจลดลงครึ่งหนึ่งหรือมากกว่า (Vidyatmoko.1960) นอกจากนี้ การศึกษาในต่างประเทศ พบว่าป่าสาคูที่มีการดูแลอย่างดีและปลูกไว้ เพื่อใช้แป้งอย่างเดียว โดยไม่ตัดเอาใบมาใช้มุงหลังคา สามารถให้ผลผลิตแป้งสูงถึง 175 กิโลกรัม/ต้น แต่ถ้าตัดเอาใบมาใช้มุงหลังคาอย่างต่อเนื่องด้วย จะให้ผลผลิตลดลงเหลือ เพียง 55 กิโลกรัม คือลดลงมากกว่า 3 เท่า ผลผลิตแป้ง จากแปลงสาคูที่ให้ปริมาณแป้งสูงถึง 4 ตัน/ไร่/ปี ถือเป็นผลผลิต ที่สูงมาก เพราะเมื่อเปรียบเทียบกับผลผลิตของพืชชนิดอื่นๆ ดังนี้ — ข้าว 0.96 ตัน /ไร่/ปี — ข้าวโพด 0.88 ตัน /ไร่/ปี — ข้าวสาลี 0.8 ตัน /ไร่/ปี — มันฝรั่ง 0.4 ตัน /ไร่/ปี — มันสำ�ปะหลัง 0.24 ตัน /ไร่/ปี — แป้งสาคู 4 ตัน /ไร่/ปี ดังที่กล่าวข้างต้น ( Ishizaki,1996) โดยเฉลี่ยแล้วมนุษย์ รับประทานข้าวสารปีละ 250 กิโลกรัม/คน ดังนั้นสาคู 1 ไร่ ซึ่งถ้าจัดการอย่างดีดังที่กล่าวข้างต้นจะสามารถ ให้ผลผลิตสูง ถึงปีละ 4 ตัน จึงสามารถ เลี้ยงคนได้ประมาณ 16 คน ถึงแม้ว่า ปัจจุบัน ข้าว จะเป็นอาหารหลักของมนุษย์ แต่จากการที่ประชากรโลกเพิ่มขึ้น ในขณะที่พื้นที่ทำ�การเกษตรลดลง ซึ่งอาจ ทำ�ให้เกิดปัญหาการขาดแคลนอาหารในอนาคต ดังนั้นการเพิ่มผลผลิตต่อพื้นที่ จึงมีความ จำ�เป็นมาก เมื่อพิจารณาผลผลิตสาคู จึงอาจเป็นทางเลือกที่มนุษย์ใช้ปลูกเป็นแหล่ง อาหารของคนและสัตว์ในอนาคต
  • 4. L a b S c h o o l P r o j e c t 97 มหัศจรรย์ป่าสาคู 97 เปรียบเทียบรายได้จากการทำ�สวนยางพารา/การทำ�นา/การใช้ประโยชน์จาก ต้นสาคู ชนิดพืช ระยะเวลา การผลิต (วัน/ ปี) ผลผลิต (ไร่/วัน) ผลผลิต/ ไร่/ปี ต้นทุน การ ผลิต ต้นทุนการ ผลิต/ไร่/ปี รายได้จาก การขาย ผลผลิต รายได้สุทธิ/หน่วย รายได้สุทธิ/ปี กำ�ไร ขาดทุน กำ�ไร ขาดทุน ยางพารา 181.5 (วัน) 2 ก.ก. 363 ก.ก. 24.12 8,755.56 6,715.50 - 5.62 - 2,040.06 ข้าว 1 ปี/ครั้ง - 450 ก.ก. 5.76 2,313 1,980 - 1.35 - 333 ต้นสาคู เย็บจาก 85 วัน 24 ตับ 2,048 ตับ 5.91 12,103.68 16,384 2.09 - 4,280.42 - ทำ�แป้ง 60 วัน 10 ก.ก./ ท่อน 600 ก.ก. 26 15,600 24,000 14 - 8,400 (ที่มา: ศูนย์วิจัยยาง อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา : ศูนย์วิจัยพันธุ์ข้าว อ.เมือง จ.พัทลุง : สุ่มตัวอย่างการ ใช้ประโยชน์พื้นที่ป่าสาคูอนุรักษ์ หมู่ 10 ต.นาข้าวเสีย อ.นาโยง จ.ตรัง รวบรวมโดย สมาคมหยาดฝน จังหวัดตรัง)