SlideShare a Scribd company logo
1 of 10
Download to read offline
โครงการปลูกหญ้าแฝก




พระราชดารั ส
“...การปลูกหญ้ าแฝกเหนือแหล่ งนา เพื่อเป็ นแนวปองกันตะกอนและดูด
                                  ้            ้
ซับสารเคมีตลอดจนของเสีย
ต่ างๆ ที่ไหลลงในแหล่ งนา เพราะหญ้ าแฝกจะดูดซึมสารพิษต่ างๆ ไว้ ใน
                        ้
รากและลาต้ นได้ นาน จนสารเคมี
ีีนันสลายตัวเป็ นปุยสาหรั บพืชต่ อไป...”
     ้            ๋
ความเป็ นมา

            การชะล้ างพังทลายของดินเป็ นปั ญหาที่สาคัญอย่ างหนึ่งของประเทศ มีผลต่ อความ
เสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวทรงตระหนักถึงความสาคัญและ
                                                          ั
ความจาเป็ นในการปองกันและแก้ ไขปั ญหา จึงพระราชทานพระราชดาริให้ มีการนาหญ้ าแฝก
                      ้
มาใช้ ในการอนุรักษ์ ดนและนา
                        ิ    ้
              เพื่อปองกันการชะล้ างพังทลายของดินและปรับปรุ งสภาพแวดล้ อมให้ ดีขีน
                    ้                                                              ้
เนื่องจากหญ้ าแฝกเป็ นพืชที่สามารถนามาใช้ ประโยชน์ ได้ ง่าย มีรากที่ยาว แผ่ กระจายลงไปใน
ดินตรง ๆ เป็ นแผง และง่ ายต่ อการรักษา เมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๓๔ พระบาทสมเด็จพระ
เจ้ าอยู่หวทรงมีพระราชดาริเป็ นครั งแรกให้ หน่ วยงานต่ าง ๆ ทาการศึกษา ทดลอง และ
          ั                        ้
ดาเนินการปลูกหญ้ าแฝกเพื่อเป็ นการปองกันการชะล้ างพังทลายของดินและเพื่อประโยชน์ อ่ ืน
                                      ้
ๆ หน่ วยงานทังหลายจึงได้ รับสนองพระราชดาริตังแต่ นันเป็ นต้ นมาโดยมีสานักงาน
               ้                                  ้     ้
คณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ (สานักงาน กปร.)
เป็ นผู้ประสานงาน
หญ้ าแฝก
จัดเป็ นหญ้ าเขตร้ อนที่ขึนอยู่ตามธรรมชาติ กระจัดกระจายทั่วไปใน
                          ้
สภาพแวดล้ อมต่ างๆ
ซึ่งในประเทศไทยจะพบหญ้ าแฝกขึนอยู่ตามธรรมชาติในพืนที่ท่ วไปจาก
                                    ้                    ้ ั
ที่ล่ ุมจนถึงที่ดอน สามารถขึน้
ได้ ในดินเกือบทุกชนิด มีช่ ือวิทยาศาสตร์ ว่า Vetiveria zizanioides
เป็ นพืชตระกูลหญ้ าขึนเป็ นกอหนา
                       ้

แน่ น เจริญเติบโตโดยการแตกกออย่ างรวดเร็ว ไม่ เป็ นอุปสรรคต่ อพืชที่ปลูกข้ างเคียงจัดเป็ นมาตรการ
อนุรักษ์ ดนและนาวิธีหนึ่งที่สามารถช่ วยให้ ดนมีความชืนและรักษาหน้ าดิน เพื่อใช้ สาหรับปลูกพืช
            ิ      ้                        ิ        ้
เศรษฐกิจซึ่งการใช้ หญ้ าแฝกในการอนุรักษ์ ดนและนาดังกล่ าวเป็ นวิธีการที่ง่ายน้ อยมาก ซึ่งจะเป็ นการ
                                              ิ    ้
นาไปสู่การพัฒนาระบบเกษตรกรรมในเขตพืนที่การเกษตรนาฝนให้ มีความมั่นคงและยั่งยืนสามารถนา
                                                ้         ้                                         ้
วิธีการนีไปใช้ ในพืนที่อ่ น ๆเพื่อรักษาสภาพแวดล้ อมและอนุรักษ์ สภาพแวดล้ อมและอนุรักษ์ ทรัพยากร
          ้          ้ ื
ธรรมชาติเช่ น พืนที่สองข้ างของทางคลองชลประทานอ่ างเก็บนา บ่ อนา ป่ าไม้ ปองกันขอบตลิ่งคอ
                 ้                                          ้      ้         ้
สะพาน ไหล่ ถนนเป็ นต้ น
การใช้ ประโยชน์
จากใบหญ้ าแฝกสาหรับงานศิลปหัตถกรรมและ งานหัตถกรรมเครื่อง
จักสาน ชนิดของหญ้ าแฝกทีมใบเหมาะสมจะนามาทางานหัตถกรรมเป็ นกลุ่มหญ้ าแฝกหอม
                               ่ ี
(Vetiveria zizanioides Nash ) ได้ แก่ สายพันธุ์ศรีลงกากาแพงเพชร 2 สุ ราษฎร์ ธานี และสงขลา 3
                                                   ั
เป็ นต้ น ลักษณะใบของหญ้ าแฝกหอมนีจะมีใบมันและยาวเมื่อโดนนาใบจะนิ่ม จึงเหมาะจะนามา
                                       ้                        ้
ทางานหัตถกรรมได้ งานหัตถกรรมทีสามารถใช้ ใบหญ้ าแฝกมาประดิษฐ์ ได้ แก่งานหัตถกรรม
                                    ่
ประเภทเครื่องจักสาน เครื่องจักสานเป็ นงานหัตถกรรมทีเ่ ป็ นทีนิยมและใช้ ได้ ทุกสถานทีทุก
                                                            ่                       ่
โอกาสสามารถนา
มาเป็ นของใช้ ได้ หลากหลาย เช่ น
     - ทาเป็ นตะกร้ าและภาชนะ
     - ทาเป็ นเครื่องตกแต่ งบ้ าน
     - ทาเป็ นเครื่องประดับ
ลักษณะของหญ้ าแฝก

หญ้าแฝกมีชอสามัญเป็ นภาษาอังกฤษว่า “Vetiver Grass” มีดวยกัน ๒ สายพันธุ์ คือ หญ้าแฝกดอน
            ื่                                           ้
(Vetiver nemoralis A. Camus) และหญ้าแฝกหอม (Vetiveria ziznioides Nash) เป็ นพืชที่มี
อายุได้หลายปี ขึนเป็ นกอแน่น มีใบรูปขอบขนานแคบปลายสอบแหลม ยาว ๓๕-๘๐ ซม. มีสวนกว้าง
                ้                                                                    ่
ประมาณ ๕-๙ มม.สามารถขยายพันธุไ์ ด้ทงแบบไม่อาศัยเพศ โดยการแตกหน่อจากส่วนลาต้นใต้ดิน
                                       ั้
หรือแบบอาศัยเพศโดยการให้ดอกและเมล็ดได้เช่นกัน ช่อดอกที่พบในประเทศไทยสูงประมาณ ๒๐-๓๐
ซม. แต่การขยายพันธุโ์ ดยดอกและเมล็ดเป็ นไปค่อนข้างยาก หญ้าแฝกจึงไม้ใช้วชพืชเช่นหญ้าคา
                                                                            ั

ปกติหญ้าแฝกจะมีการขยายพันธุที่ได้ผลรวดเร็วโดยการแตกหน่อจากลาต้นใต้ดิน นอกจากนีจากกา
                               ์                                                ้
ศึกษาพบว่า หญ้าแฝกในบางโอกาสสามารถแตกแขนงและรากออกในส่วนของก้านช่อดอกได้ เมือ      ่
แขนง
ดังกล่าวมีการเจริญเติบโตจะเพิ่มนาหนักมากขึน ทาให้หญ้าแฝกโน้มลงดินและสามารถเจริญเติบโต
                                 ้        ้
เป็ น
กอหญ้าแฝกใหม่ได้
การเสื่อมโทรมและการพังทลายของดินเกิดจากปั จจัยหลายประการ เช่ น

๑. การถูกกัดเซาะของผิวหน้ าดินไม่ ว่าจากฝนที่ตกลงมา หรื อนาที่ไหลบ่ าเป็ น
                                                          ้
จานวนมากเป็ นจานวนมาก
ทาให้ หน้ าดินสูญเสียความอุดมสมบูรณ์

๒. นาฝนและนาที่ไหลบ่ าก่ อให้ เกิดปั ญหาดินพังทลาย สร้ างความเสียหายต่ อ
    ้         ้
พืนที่ทางการเกษตรกรรม
  ้
ทาให้ ผลผลิตลดลง แม้ จะเป็ นพืนที่ท่ ีได้ รับปริมาณนาฝนมากเพียงพอ
                               ้                    ้

๓. พืนดินไม่ สามารถเก็บกักนาฝนได้ เต็มที่เนื่องจากไม่ มีส่ งใดมาชะลอกันไว้
     ้                     ้                               ิ          ้
นอกจากจะทาให้ เกิดการพัง
ทลายของหน้ าดินแล้ ว ยังทาให้ พนดินขาดความชุ่มชืนไม่ สามารถเก็บกักนาไว้
                               ื้                  ้                    ้
ในผืนดินได้
การเสื่อมโทรม
พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวทรงตระหนักถึงสภาพ
ปั ญหาและสาเหตุท่ เกิดขึน โดยทรงศึกษาถึง
                    ี      ้
ศักยภาพ
“หญ้ าแฝก” ซึ่งเป็ นพืชที่มีคุณสมบัตพเศษในการช่ วย
                                    ิ ิ
ปองกันการ ชะล้ างพังทลายของหน้ าดินและอนุรักษ์
 ้
ความชุ่มชืนใต้ ดนไว้ อีกทังเป็ นพืชพืนบ้ านของไทย
            ้    ิ           ้        ้
วิธีการปลูกใช้ เทคโนโลยีแบบง่ ายๆเกษตรกร
สามารถ
ดาเนินการได้ เองโดยไม่ ต้องให้ การดูแลหลังการปลูก
มากนัก อีกทังประหยัดค่ าใช้ จ่ายกว่ าวิธีอ่ ืนๆอีกด้ วย
              ้
จึงได้ มีพระมหากรุ ณาธิคุณพระราชทานพระราชดาริ
ให้ ดาเนินการศึกษาทดลองเกี่ยวกับหญ้ าแฝกเป็ น
ครั ง
    ้
ลักษณะเด่นของหญ้าแฝก
1.มีการแตกหน่อรวมเป็ นกอ เบียดกันแน่น ไม่แผ่ขยายด้านข้าง
 2. มีการแตกหน่อและใบใหม่ ไม่ตองดูแลมาก
                                      ้
 3. หญ้าแฝกมีขอที่ลาต้นถี่ ขยายพันธุ์โดยใช้หน่อได้ตลอดปี
                  ้
4. ส่ วนใหญ่ไม่ขยายพันธุ์ดวยเมล็ด ทาให้ควบคุมการแพร่ ขยายได้
                              ้
5. มีใบยาว ตัดและแตกใหม่ง่าย แข็งแรง และทนต่อการย่อยสลาย
6. ระบบรากยาว สานกันแน่น และช่วยอุมน้ า    ้
7. บริ เวณรากเป็ นที่อาศัยของจุลินทรี ย ์
8. ปรับตัวกับสภาพต่าง ๆ ได้ดี ทนทานต่อโรคพืชทัวไป ่
                                         ่
9. ส่ วนที่เจริ ญต่ากว่าผิวดิน ช่วยให้อยูรอดได้ดี
การรักษาสภาพแวดล้ อม
    หญ้ าแฝกเป็ นพืชที่มีระบบรากหนาแน่นจานวนมาก และเจริ ญในแนวลึกมากกว่าด้ านข้ าง
ประกอบกับหญ้ าแฝกเจริ ญเติบโตได้ ในสภาพที่มีโลหะหนัก ลักษณะดังกล่าว จึงมีการนาหญ้ า
แฝกมาปลูกเพื่อใช้ บาบัดน ้าทิ ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมบางประเภท และดูดซับโลหะหนักจากดิน
สาหรับวิธีการที่นาหญ้ าแฝกไปปลูกเพื่อจุดประสงค์ในการรักษาสภาพแวดล้ อม ได้ แก่

   1. การปลูกหญ้ าแฝกรอบขอบบ่อบาบัดน ้าทิ ้ง เพื่อให้ หญ้ าแฝกช่วยดูดโลหะหนักบางชนิด

   2. การปลูกหญ้ าแฝกในดินเพื่อดูดโลหะหนักจากดิน

   3. การปลูกหญ้ าแฝก แล้ วให้ น ้าทิ ้งไหลผ่านในอัตราการไหลที่เหมาะสม

   อย่างไรก็ตาม ในปั จจุบนยังมีนกวิจยดาเนินการ เพื่อศึกษาวิจยการนาหญ้ าแฝกมาใช้
                         ั      ั ั                         ั
ประโยชน์ในการรักษาสภาพแวดล้ อม และบาบัดน ้าทิ ้งในรูปแบบต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง
การฟื ้ นฟูทรั พยากรดิน
การปลูกหญ้ าแฝกในพืนที่ทาการเกษตรส่ วนใหญ่ จะมุ่งเน้ นในเรื่ องของการ
                           ้
อนุรักษ์ ดนและนา ลดการชะล้ างพังทลายของหน้ าดิน การช่ วยเก็บกักตะกอน
              ิ      ้
ดินในพืนที่ลาดชัน แต่ จากผลของการศึกษาวิจัยพบว่ า หญ้ าแฝกยังมีลักษณะ
            ้
ในด้ านการฟื ้ นฟูทรั พยากรดินด้ วย ซึ่งช่ วยให้ ดนมีศักยภาพในการให้ ผลผลิต
                                                     ิ
เพิ่มขึน ได้ แก่
          ้
     1. การเพิ่มปริมาณอินทรี ยวัตถุ
     2. การเพิ่มปริมาณความชืนใน    ้
     3. การเพิ่มอัตราการระบายนาและอากาศ
                                      ้
     4. การเพิ่มกิจกรรมของจุลินทรี ย์ดน     ิ
      จากปั จจัยดังกล่ าว การปลูกหญ้ าแฝกในพืนที่ดนเสื่อมโทรม หรื อพืนที่ดนมี
                                                    ้ ิ                  ้ ิ
ปั ญหา จึงมีส่วนช่ วยฟื ้ นฟู และปรั บปรุ งดินมห้ มีสภาพดีขน เนื่องจากผลของ
                                                           ึ้
อินทรี ยวัตถุท่ เพิ่มขึน และกิจกรรมของเชือจุลินทรี ย์บริเวณรากหญ้ าแฝก รวมทัง
                  ี    ้                      ้                              ้
การมีความชืนที่ยาวนานขึน สภาพดินจึงมีการพัฒนา และความอุดมสมบูรณ์
                ้             ้
เพิ่มขึนเป็ นลาดับ
        ้                       *** นางสาวนัฐตยาพร ศรีนวล ชัน ม.4/7 เลขที่ 23
                                                                  ้

More Related Content

What's hot

โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวnam--nam-thanaporn
 
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝกโครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝกBeam_Kantaporn
 
งานSh
งานShงานSh
งานShdekbao
 
โครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดินโครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดินlalipat
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1mingpimon
 
เรื่อง โครงการแก้ปัญหาดินเปรี้ยว
เรื่อง โครงการแก้ปัญหาดินเปรี้ยวเรื่อง โครงการแก้ปัญหาดินเปรี้ยว
เรื่อง โครงการแก้ปัญหาดินเปรี้ยว123456nn1
 
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวJuthaporn Lekwong
 
เพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดินเพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดินPassakorn TheJung
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อมครู กัน
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูโครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูpoo_28088
 
โครงการฝายชลอน้ำ
โครงการฝายชลอน้ำโครงการฝายชลอน้ำ
โครงการฝายชลอน้ำNunziiz Cosmo
 
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวchkchp
 
โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเศรษฐกิจพอเพียงsupanuch
 
โครงการฝายชะลอน้ำ ตามพระราชดำรัส
โครงการฝายชะลอน้ำ ตามพระราชดำรัสโครงการฝายชะลอน้ำ ตามพระราชดำรัส
โครงการฝายชะลอน้ำ ตามพระราชดำรัสLuksika
 

What's hot (17)

โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
 
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝกโครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก
 
งานSh
งานShงานSh
งานSh
 
โครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดินโครงการแกล้งดิน
โครงการแกล้งดิน
 
254 8
254 8254 8
254 8
 
เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1เศรษฐกิจพอเพียง1
เศรษฐกิจพอเพียง1
 
เรื่อง โครงการแก้ปัญหาดินเปรี้ยว
เรื่อง โครงการแก้ปัญหาดินเปรี้ยวเรื่อง โครงการแก้ปัญหาดินเปรี้ยว
เรื่อง โครงการแก้ปัญหาดินเปรี้ยว
 
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
 
เพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดินเพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดิน
 
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
8ความสำคัญต่อระบบนิเวศและสิ่งแวดล้อม
 
เพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดินเพียงก้อนดิน
เพียงก้อนดิน
 
Is 3 (1)
Is 3 (1)Is 3 (1)
Is 3 (1)
 
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปูโครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
โครงการพัฒนาแหล่งน้ำปู
 
โครงการฝายชลอน้ำ
โครงการฝายชลอน้ำโครงการฝายชลอน้ำ
โครงการฝายชลอน้ำ
 
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยวโครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
โครงการศึกษาทดลองการแก้ไขปัญหาดินเปรี้ยว
 
โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเศรษฐกิจพอเพียงโครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
โครงงานเศรษฐกิจพอเพียง
 
โครงการฝายชะลอน้ำ ตามพระราชดำรัส
โครงการฝายชะลอน้ำ ตามพระราชดำรัสโครงการฝายชะลอน้ำ ตามพระราชดำรัส
โครงการฝายชะลอน้ำ ตามพระราชดำรัส
 

Similar to โครงการปลูกหญ้าแฝก1

การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนpangminpm
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝกโครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝกpeerapeepan
 
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝกโครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝกBeam_Kantaporn
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชHataitip Suwanachote
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2Wan Ngamwongwan
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Napalai Jaibaneum
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์Duangsuwun Lasadang
 
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชหน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชvarut
 
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรvarut
 
ความลับของดิน
ความลับของดินความลับของดิน
ความลับของดินKomgid
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีอาภัสรา ยิ่งคำแหง
 
โครงการจัดการดูแลภูมิทัศน์สนามกอล์ฟแม่
โครงการจัดการดูแลภูมิทัศน์สนามกอล์ฟแม่โครงการจัดการดูแลภูมิทัศน์สนามกอล์ฟแม่
โครงการจัดการดูแลภูมิทัศน์สนามกอล์ฟแม่charm_ser
 
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชหน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชHataitip Suwanachote
 
โครงการพระราชดำริ 32.
โครงการพระราชดำริ 32.โครงการพระราชดำริ 32.
โครงการพระราชดำริ 32.muk290140
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำsedwong Pam
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำsedwong Pam
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำsedwong Pam
 

Similar to โครงการปลูกหญ้าแฝก1 (20)

หญ้าแฝก
หญ้าแฝกหญ้าแฝก
หญ้าแฝก
 
การปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลนการปลูกป่าชายเลน
การปลูกป่าชายเลน
 
โครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝกโครงการปลูกหญ้าแฝก
โครงการปลูกหญ้าแฝก
 
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝกโครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก
โครงการพระราชดำริ หญ้าแฝก
 
การขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืชการขยายพันธุ์พืช
การขยายพันธุ์พืช
 
หน่วยที่2
หน่วยที่2หน่วยที่2
หน่วยที่2
 
Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2Landscape maintenance and management2
Landscape maintenance and management2
 
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
ใบความรู้เรื่องงานประดิษฐ์
 
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชหน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
 
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตรหน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
หน่วยที่1ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเกษตร
 
ความลับของดิน
ความลับของดินความลับของดิน
ความลับของดิน
 
ฝายแม้ว
ฝายแม้วฝายแม้ว
ฝายแม้ว
 
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดีPowerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
Powerpoint โครงงานสำรวจป่าไม้ในตำบลคำนาดี
 
โครงการจัดการดูแลภูมิทัศน์สนามกอล์ฟแม่
โครงการจัดการดูแลภูมิทัศน์สนามกอล์ฟแม่โครงการจัดการดูแลภูมิทัศน์สนามกอล์ฟแม่
โครงการจัดการดูแลภูมิทัศน์สนามกอล์ฟแม่
 
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืชหน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
หน่วยที่3การขยายพันธุ์พืช
 
ดิน มัทนา ป.4
ดิน มัทนา ป.4ดิน มัทนา ป.4
ดิน มัทนา ป.4
 
โครงการพระราชดำริ 32.
โครงการพระราชดำริ 32.โครงการพระราชดำริ 32.
โครงการพระราชดำริ 32.
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำPowerpoint ทรัพยากรน้ำ
Powerpoint ทรัพยากรน้ำ
 

โครงการปลูกหญ้าแฝก1

  • 1. โครงการปลูกหญ้าแฝก พระราชดารั ส “...การปลูกหญ้ าแฝกเหนือแหล่ งนา เพื่อเป็ นแนวปองกันตะกอนและดูด ้ ้ ซับสารเคมีตลอดจนของเสีย ต่ างๆ ที่ไหลลงในแหล่ งนา เพราะหญ้ าแฝกจะดูดซึมสารพิษต่ างๆ ไว้ ใน ้ รากและลาต้ นได้ นาน จนสารเคมี ีีนันสลายตัวเป็ นปุยสาหรั บพืชต่ อไป...” ้ ๋
  • 2. ความเป็ นมา การชะล้ างพังทลายของดินเป็ นปั ญหาที่สาคัญอย่ างหนึ่งของประเทศ มีผลต่ อความ เสื่อมโทรมของทรัพยากรดิน พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หวทรงตระหนักถึงความสาคัญและ ั ความจาเป็ นในการปองกันและแก้ ไขปั ญหา จึงพระราชทานพระราชดาริให้ มีการนาหญ้ าแฝก ้ มาใช้ ในการอนุรักษ์ ดนและนา ิ ้ เพื่อปองกันการชะล้ างพังทลายของดินและปรับปรุ งสภาพแวดล้ อมให้ ดีขีน ้ ้ เนื่องจากหญ้ าแฝกเป็ นพืชที่สามารถนามาใช้ ประโยชน์ ได้ ง่าย มีรากที่ยาว แผ่ กระจายลงไปใน ดินตรง ๆ เป็ นแผง และง่ ายต่ อการรักษา เมื่อวันที่ ๒๒ มิถุนายน ๒๕๓๔ พระบาทสมเด็จพระ เจ้ าอยู่หวทรงมีพระราชดาริเป็ นครั งแรกให้ หน่ วยงานต่ าง ๆ ทาการศึกษา ทดลอง และ ั ้ ดาเนินการปลูกหญ้ าแฝกเพื่อเป็ นการปองกันการชะล้ างพังทลายของดินและเพื่อประโยชน์ อ่ ืน ้ ๆ หน่ วยงานทังหลายจึงได้ รับสนองพระราชดาริตังแต่ นันเป็ นต้ นมาโดยมีสานักงาน ้ ้ ้ คณะกรรมการพิเศษเพื่อประสานงานโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดาริ (สานักงาน กปร.) เป็ นผู้ประสานงาน
  • 3. หญ้ าแฝก จัดเป็ นหญ้ าเขตร้ อนที่ขึนอยู่ตามธรรมชาติ กระจัดกระจายทั่วไปใน ้ สภาพแวดล้ อมต่ างๆ ซึ่งในประเทศไทยจะพบหญ้ าแฝกขึนอยู่ตามธรรมชาติในพืนที่ท่ วไปจาก ้ ้ ั ที่ล่ ุมจนถึงที่ดอน สามารถขึน้ ได้ ในดินเกือบทุกชนิด มีช่ ือวิทยาศาสตร์ ว่า Vetiveria zizanioides เป็ นพืชตระกูลหญ้ าขึนเป็ นกอหนา ้ แน่ น เจริญเติบโตโดยการแตกกออย่ างรวดเร็ว ไม่ เป็ นอุปสรรคต่ อพืชที่ปลูกข้ างเคียงจัดเป็ นมาตรการ อนุรักษ์ ดนและนาวิธีหนึ่งที่สามารถช่ วยให้ ดนมีความชืนและรักษาหน้ าดิน เพื่อใช้ สาหรับปลูกพืช ิ ้ ิ ้ เศรษฐกิจซึ่งการใช้ หญ้ าแฝกในการอนุรักษ์ ดนและนาดังกล่ าวเป็ นวิธีการที่ง่ายน้ อยมาก ซึ่งจะเป็ นการ ิ ้ นาไปสู่การพัฒนาระบบเกษตรกรรมในเขตพืนที่การเกษตรนาฝนให้ มีความมั่นคงและยั่งยืนสามารถนา ้ ้ ้ วิธีการนีไปใช้ ในพืนที่อ่ น ๆเพื่อรักษาสภาพแวดล้ อมและอนุรักษ์ สภาพแวดล้ อมและอนุรักษ์ ทรัพยากร ้ ้ ื ธรรมชาติเช่ น พืนที่สองข้ างของทางคลองชลประทานอ่ างเก็บนา บ่ อนา ป่ าไม้ ปองกันขอบตลิ่งคอ ้ ้ ้ ้ สะพาน ไหล่ ถนนเป็ นต้ น
  • 4. การใช้ ประโยชน์ จากใบหญ้ าแฝกสาหรับงานศิลปหัตถกรรมและ งานหัตถกรรมเครื่อง จักสาน ชนิดของหญ้ าแฝกทีมใบเหมาะสมจะนามาทางานหัตถกรรมเป็ นกลุ่มหญ้ าแฝกหอม ่ ี (Vetiveria zizanioides Nash ) ได้ แก่ สายพันธุ์ศรีลงกากาแพงเพชร 2 สุ ราษฎร์ ธานี และสงขลา 3 ั เป็ นต้ น ลักษณะใบของหญ้ าแฝกหอมนีจะมีใบมันและยาวเมื่อโดนนาใบจะนิ่ม จึงเหมาะจะนามา ้ ้ ทางานหัตถกรรมได้ งานหัตถกรรมทีสามารถใช้ ใบหญ้ าแฝกมาประดิษฐ์ ได้ แก่งานหัตถกรรม ่ ประเภทเครื่องจักสาน เครื่องจักสานเป็ นงานหัตถกรรมทีเ่ ป็ นทีนิยมและใช้ ได้ ทุกสถานทีทุก ่ ่ โอกาสสามารถนา มาเป็ นของใช้ ได้ หลากหลาย เช่ น - ทาเป็ นตะกร้ าและภาชนะ - ทาเป็ นเครื่องตกแต่ งบ้ าน - ทาเป็ นเครื่องประดับ
  • 5. ลักษณะของหญ้ าแฝก หญ้าแฝกมีชอสามัญเป็ นภาษาอังกฤษว่า “Vetiver Grass” มีดวยกัน ๒ สายพันธุ์ คือ หญ้าแฝกดอน ื่ ้ (Vetiver nemoralis A. Camus) และหญ้าแฝกหอม (Vetiveria ziznioides Nash) เป็ นพืชที่มี อายุได้หลายปี ขึนเป็ นกอแน่น มีใบรูปขอบขนานแคบปลายสอบแหลม ยาว ๓๕-๘๐ ซม. มีสวนกว้าง ้ ่ ประมาณ ๕-๙ มม.สามารถขยายพันธุไ์ ด้ทงแบบไม่อาศัยเพศ โดยการแตกหน่อจากส่วนลาต้นใต้ดิน ั้ หรือแบบอาศัยเพศโดยการให้ดอกและเมล็ดได้เช่นกัน ช่อดอกที่พบในประเทศไทยสูงประมาณ ๒๐-๓๐ ซม. แต่การขยายพันธุโ์ ดยดอกและเมล็ดเป็ นไปค่อนข้างยาก หญ้าแฝกจึงไม้ใช้วชพืชเช่นหญ้าคา ั ปกติหญ้าแฝกจะมีการขยายพันธุที่ได้ผลรวดเร็วโดยการแตกหน่อจากลาต้นใต้ดิน นอกจากนีจากกา ์ ้ ศึกษาพบว่า หญ้าแฝกในบางโอกาสสามารถแตกแขนงและรากออกในส่วนของก้านช่อดอกได้ เมือ ่ แขนง ดังกล่าวมีการเจริญเติบโตจะเพิ่มนาหนักมากขึน ทาให้หญ้าแฝกโน้มลงดินและสามารถเจริญเติบโต ้ ้ เป็ น กอหญ้าแฝกใหม่ได้
  • 6. การเสื่อมโทรมและการพังทลายของดินเกิดจากปั จจัยหลายประการ เช่ น ๑. การถูกกัดเซาะของผิวหน้ าดินไม่ ว่าจากฝนที่ตกลงมา หรื อนาที่ไหลบ่ าเป็ น ้ จานวนมากเป็ นจานวนมาก ทาให้ หน้ าดินสูญเสียความอุดมสมบูรณ์ ๒. นาฝนและนาที่ไหลบ่ าก่ อให้ เกิดปั ญหาดินพังทลาย สร้ างความเสียหายต่ อ ้ ้ พืนที่ทางการเกษตรกรรม ้ ทาให้ ผลผลิตลดลง แม้ จะเป็ นพืนที่ท่ ีได้ รับปริมาณนาฝนมากเพียงพอ ้ ้ ๓. พืนดินไม่ สามารถเก็บกักนาฝนได้ เต็มที่เนื่องจากไม่ มีส่ งใดมาชะลอกันไว้ ้ ้ ิ ้ นอกจากจะทาให้ เกิดการพัง ทลายของหน้ าดินแล้ ว ยังทาให้ พนดินขาดความชุ่มชืนไม่ สามารถเก็บกักนาไว้ ื้ ้ ้ ในผืนดินได้
  • 7. การเสื่อมโทรม พระบาทสมเด็จพระเจ้ าอยู่หัวทรงตระหนักถึงสภาพ ปั ญหาและสาเหตุท่ เกิดขึน โดยทรงศึกษาถึง ี ้ ศักยภาพ “หญ้ าแฝก” ซึ่งเป็ นพืชที่มีคุณสมบัตพเศษในการช่ วย ิ ิ ปองกันการ ชะล้ างพังทลายของหน้ าดินและอนุรักษ์ ้ ความชุ่มชืนใต้ ดนไว้ อีกทังเป็ นพืชพืนบ้ านของไทย ้ ิ ้ ้ วิธีการปลูกใช้ เทคโนโลยีแบบง่ ายๆเกษตรกร สามารถ ดาเนินการได้ เองโดยไม่ ต้องให้ การดูแลหลังการปลูก มากนัก อีกทังประหยัดค่ าใช้ จ่ายกว่ าวิธีอ่ ืนๆอีกด้ วย ้ จึงได้ มีพระมหากรุ ณาธิคุณพระราชทานพระราชดาริ ให้ ดาเนินการศึกษาทดลองเกี่ยวกับหญ้ าแฝกเป็ น ครั ง ้
  • 8. ลักษณะเด่นของหญ้าแฝก 1.มีการแตกหน่อรวมเป็ นกอ เบียดกันแน่น ไม่แผ่ขยายด้านข้าง 2. มีการแตกหน่อและใบใหม่ ไม่ตองดูแลมาก ้ 3. หญ้าแฝกมีขอที่ลาต้นถี่ ขยายพันธุ์โดยใช้หน่อได้ตลอดปี ้ 4. ส่ วนใหญ่ไม่ขยายพันธุ์ดวยเมล็ด ทาให้ควบคุมการแพร่ ขยายได้ ้ 5. มีใบยาว ตัดและแตกใหม่ง่าย แข็งแรง และทนต่อการย่อยสลาย 6. ระบบรากยาว สานกันแน่น และช่วยอุมน้ า ้ 7. บริ เวณรากเป็ นที่อาศัยของจุลินทรี ย ์ 8. ปรับตัวกับสภาพต่าง ๆ ได้ดี ทนทานต่อโรคพืชทัวไป ่ ่ 9. ส่ วนที่เจริ ญต่ากว่าผิวดิน ช่วยให้อยูรอดได้ดี
  • 9. การรักษาสภาพแวดล้ อม หญ้ าแฝกเป็ นพืชที่มีระบบรากหนาแน่นจานวนมาก และเจริ ญในแนวลึกมากกว่าด้ านข้ าง ประกอบกับหญ้ าแฝกเจริ ญเติบโตได้ ในสภาพที่มีโลหะหนัก ลักษณะดังกล่าว จึงมีการนาหญ้ า แฝกมาปลูกเพื่อใช้ บาบัดน ้าทิ ้งจากโรงงานอุตสาหกรรมบางประเภท และดูดซับโลหะหนักจากดิน สาหรับวิธีการที่นาหญ้ าแฝกไปปลูกเพื่อจุดประสงค์ในการรักษาสภาพแวดล้ อม ได้ แก่ 1. การปลูกหญ้ าแฝกรอบขอบบ่อบาบัดน ้าทิ ้ง เพื่อให้ หญ้ าแฝกช่วยดูดโลหะหนักบางชนิด 2. การปลูกหญ้ าแฝกในดินเพื่อดูดโลหะหนักจากดิน 3. การปลูกหญ้ าแฝก แล้ วให้ น ้าทิ ้งไหลผ่านในอัตราการไหลที่เหมาะสม อย่างไรก็ตาม ในปั จจุบนยังมีนกวิจยดาเนินการ เพื่อศึกษาวิจยการนาหญ้ าแฝกมาใช้ ั ั ั ั ประโยชน์ในการรักษาสภาพแวดล้ อม และบาบัดน ้าทิ ้งในรูปแบบต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง
  • 10. การฟื ้ นฟูทรั พยากรดิน การปลูกหญ้ าแฝกในพืนที่ทาการเกษตรส่ วนใหญ่ จะมุ่งเน้ นในเรื่ องของการ ้ อนุรักษ์ ดนและนา ลดการชะล้ างพังทลายของหน้ าดิน การช่ วยเก็บกักตะกอน ิ ้ ดินในพืนที่ลาดชัน แต่ จากผลของการศึกษาวิจัยพบว่ า หญ้ าแฝกยังมีลักษณะ ้ ในด้ านการฟื ้ นฟูทรั พยากรดินด้ วย ซึ่งช่ วยให้ ดนมีศักยภาพในการให้ ผลผลิต ิ เพิ่มขึน ได้ แก่ ้ 1. การเพิ่มปริมาณอินทรี ยวัตถุ 2. การเพิ่มปริมาณความชืนใน ้ 3. การเพิ่มอัตราการระบายนาและอากาศ ้ 4. การเพิ่มกิจกรรมของจุลินทรี ย์ดน ิ จากปั จจัยดังกล่ าว การปลูกหญ้ าแฝกในพืนที่ดนเสื่อมโทรม หรื อพืนที่ดนมี ้ ิ ้ ิ ปั ญหา จึงมีส่วนช่ วยฟื ้ นฟู และปรั บปรุ งดินมห้ มีสภาพดีขน เนื่องจากผลของ ึ้ อินทรี ยวัตถุท่ เพิ่มขึน และกิจกรรมของเชือจุลินทรี ย์บริเวณรากหญ้ าแฝก รวมทัง ี ้ ้ ้ การมีความชืนที่ยาวนานขึน สภาพดินจึงมีการพัฒนา และความอุดมสมบูรณ์ ้ ้ เพิ่มขึนเป็ นลาดับ ้ *** นางสาวนัฐตยาพร ศรีนวล ชัน ม.4/7 เลขที่ 23 ้