SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 5
ภาษามือหมวด ครอบครัว
ครอบครัว เป็นสถาบันที่สาคัญที่สุดของสังคม เป็นหน่วยย่อยของสังคมที่มีความสัมพันธ์และ
ร่วมมือกันอย่างใกล้ชิด การใช้ภาษามือเพื่อสื่อสารกับครอบครัวทาให้มีการถ่ายทอดประสบการณ์
ต่างๆ และสร้างเสริมประสบการณ์ต่างๆ ให้กับเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินได้เช่นกัน
1. ภาษามือหมวดครอบครัวและความสัมพันธ์
ภาษามือหมวดครอบครัวประกอบไปด้วยคาศัพท์ที่เรียกคนในครอบครัว ซึ่งในครอบครัว
ประกอบด้วยคนหลายๆ คน ห้อมล้อมกันอยู่เป็นกลุ่ม ดังนั้น ภาษามือ คาว่า ครอบครัว จึงต้องแบมือ
ทั้งสองข้างชิดกันและโค้งมือเป็นวงกลม เหมือนคนมายืนกันเป็นวงกลม ดังภาพ
ครอบครัว
แบมือทั้งสองข้างชิดกันและโค้งมือเป็นวงกลม
ในครอบครัวแต่ละครอบครัวประกอบไปด้วย พ่อ แม่ พี่ น้อง ซึ่งเป็นบุคคลในครอบครัว
ขั้นพื้นฐานที่พบเจอกันอยู่ในปัจจุบัน ภาษามือหมวดครอบครัว จะใช้มือทั้งสองข้าง การชี้ การหมุนมือ
เพื่อให้ได้คาศัพท์ที่ต้องการ ดังภาพ
พ่อ
แบมือข้างหูและกามือ
แม่
ทาท่ามือ L และเก็บนิ้วชี้ลง
41
พี่
ความือระดับหูและดึงมือขึ้น
น้อง
ความือระดับเอวและเลือนลง
นอกจากคนในครอบครัวที่มี พ่อ แม่ พี่ น้อง ยังมีบุคคลที่มีความสาคัญอีกมากมายใน
ชีวิตซึ่งมีความสัมพันธ์กันเกี่ยวข้องกัน และส่งเสริมให้ครอบครัวแต่ละครอบครัวสมบูรณ์แบบมากขึ้น
ได้แก่ บุคคลที่เป็น ปู่ ย่า ตา ยาย ลุง ป้า น้า อา บุคคลดังกล่าวดุจญาติมิตรที่ดีและช่วยเหลือเกื้อกูล
ซึ่งกันและกันเราเรียกว่า ญาติ สามารถทาภาษามือได้ ดังภาพ
ญาติ
ทาท่ามือ ย และหมุน
ในครอบครัวที่มีบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินนั้น ต้องเรียนรู้ภาษามือเพื่อการ
สื่อสารกันในครอบครัว ควรจะเรียกหรือใช้ภาษามือญาติทุกคนได้ เช่น ปู่ (กามือขยับขึ้นลงใต้คางและ
ชี้ที่ตา ทาท่ามือ ป) เพื่อให้ทราบว่าเค้าเรียก ปู่ บางบ้านใช้การตั้งชื่อเป็นภาษามือก็จะง่ายขึ้น แต่ต้องมี
การเรียนรู้คาศัพท์ในหมวดนี้เพื่อให้การสื่อสารได้ดียิ่งขึ้น ดังภาพ
42
ปู่
กามือขยับขึ้นลงใต้คางและชี้ทีตา ทาท่ามือ ป
ย่า
กามือขยับขึ้นลงใต้คางและชี้ทีตา ทาท่ามือ ย
ตา
กามือขยับขึ้นลงใต้คางและชี้ทีตา ทาท่ามือ ต
ยาย
กามือขยับขึ้นลงใต้คางและทาท่ามือ ย และวน
ลุง
ทาท่ามือ L และวน
ป้า
ทาท่ามือ ป
น้า
ทาท่ามือ น และวน
อา
ทาท่ามือ อ และวน
2. ภาษามือหมวดบุคคล
43
ภาษามือหมวดบุคคลเป็นภาษามือที่บอกถึงสรรพนามของคน เช่น ฉัน เธอ คุณ เขา ซึ่ง
เป็นสรรพนามที่ใช้ในการสื่อสาร และบอกถึงลักษณะ เพศ วัย สถานะที่บุคคลเป็นอยู่ เช่น ผู้หญิง
ผู้ชาย โสด แต่งงาน สามี ภรรยา เป็นต้น
การทาภาษามือสรรพนามใช้การชี้เปลี่ยนตาแหน่งและทิศทางของมือ เพื่อเปลี่ยน
ความหมายของคา ดังภาพ
ฉัน/ดิฉัน
ทาท่ามือ เลขหนึง และชี้ทีหน้าอก
เธอ/ คุณ
ทาท่ามือ เลขหนึง และชี้ออกไป
พวกเรา
แบมือและหมุนเป็นวงกลมเข้าหาตัว โดยมือทีหมุน
อยู่ในลาตัว
พวกเขา
แบมือและหมุนเป็นวงกลมออกนอกลาตัว โดยมือทีหมุน
ออกนอกลาตัว
การทาภาษามือบอกถึงเพศ วัย นั้นใช้ท่ามือ ตาแหน่งของมือและทิศทางของมือ เพื่อให้
ได้คาศัพท์ที่ต้องการใช้งาน เช่น คาว่า ผู้ชาย (แบมือข้างหูและขยับไปมา) คาว่า ชรา (กามือและขยับ
ขึ้นลงใต้คาง) ซึ่งการทาท่ามือต้องประกอบกับการสีหน้าท่าทางเพื่อให้เข้าใจความหมายของคานั้นๆ
เพิ่มมากขึ้น ตามภาพ
44
ผู้ชาย
แบมือข้างหูและขยับไปมา
ผู้หญิง
ทาท่ามือ เลขหนึงและชี้ทีใบหูวนออก
หนุ่ม/สาว
กามือทั้งสองข้างและขยับลง
ชรา /คนแก่
กามือและขยับขึ้นลงใต้คาง
ภาษามือที่แสดงถึงสถานะของบุคคลใช้ตาแหน่ง ทิศทางของมือและการประกอบคา
เช่น คาว่า สามี ท่ามือที่ 1 ทาภาษามือคาว่าผู้ชาย ท่ามือที่ 2 ทาท่ามือคาว่าแต่งงาน ตามภาพ
สามี
ทาท่ามือผู้ชาย และทาท่ามือแต่งงาน
ภรรยา
ทาท่ามือผู้หญิง และทาท่ามือแต่งงาน
45
ลูก
ห่อมือทั้งสองข้างระดับหน้าอกเหมือนการอุ้มลูกขยับ
แต่งงาน / สมรส
มือซ้ายกับมือขวาทับกัน
โสด
ทาท่ามือ เลขหนึง วางทีหน้าอกขยับขึ้นลง
หย่า
แบมือแล้วตั้งผ่ามือในระดับหน้าอกนาปลายนิ้วมาแตะ
กันค่อยๆลากมือออกขนานกับบ่า
3. การสนทนาในหมวดครอบครัว
ภาษามือหมวดครอบครัวนี้มีการสนทนาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ในครอบครัว หรือ
การสนทนากันเกี่ยวกับสถานะของบุคคล ดังตัวอย่างต่อไปนี้
ก : ลูกคุณสบายดีไหม ข : สบายดีคะ
46
ข : ลูกคุณหละสบายดีไหม ก : สบายดีครับ
สรุป
ภาษามือหมวดครอบครัวประกอบด้วยคาศัพท์หมวดย่อยๆ ได้แก่ คาศัพท์ที่ใช้ในครอบครัว
คาศัพท์เกี่ยวกับบุคคลที่เราจะต้องพบเจอในชีวิตประจาวัน คาศัพท์ความสัมพันธ์ในครอบครัว
ตลอดจนญาติและเพื่อน ซึ่งคาศัพท์ดังกล่าวเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กันเวลาใช้ ภาษามือในหมวดนี้ใช้การชี้
การเปลี่ยนตาแหน่งของมือ การเคลื่อนไหวทิศทางของมือ เพื่อเปลี่ยนความหมายของคาและ
การประกอบคาสองคาเพื่อให้เกิดความหมายและใช้สนทนาในชีวิตประจาวัน
แบบฝึกท้ายบท
1. นักศึกษาทาภาษามือคาศัพท์ต่อไปนี้
1.1 ครอบครัว
1.2 พ่อ
1.3 น้องชาย
1.4 หลาน
1.5 ปู่
1.6 ญาติ
1.7 ยาย
1.8 เขา
1.9 ผู้หญิง
1.10 พวกเรา
1.11 สามี
1.12 โสด
47
2. นักศึกษาจับคู่และคิดบทสนทนาเกี่ยวกับครอบครัว
เอกสารอ้างอิง
กรมสามัญศึกษา. (2547). เอกสารประกอบการสอนภาษามือไทย ระดับ 1. กรุงเทพฯ :
48
โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว .
กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). เอกสารประกอบการอบรมครูการศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ :
โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว.
ปทานุกรมภาษามือไทย. (2533). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษามือไทย เล่ม 1.
กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.

More Related Content

What's hot

บทที่ 16
บทที่ 16บทที่ 16
บทที่ 16
pop Jaturong
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
pop Jaturong
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
pop Jaturong
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
pop Jaturong
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
pop Jaturong
 
บทที่ 13
บทที่ 13บทที่ 13
บทที่ 13
pop Jaturong
 
บทที่ 14
บทที่ 14บทที่ 14
บทที่ 14
pop Jaturong
 
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
Wilawun Wisanuvekin
 
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทยหน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
Wilawun Wisanuvekin
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินKhuanruthai Pomjun
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษา
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษาเอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษา
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษา
Chinnapat Noosong
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำNook Kanokwan
 
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
Wilawun Wisanuvekin
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
Wilawun Wisanuvekin
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Princess Chulabhorn's College, Chiang Rai Thailand
 
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานคำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
Ku'kab Ratthakiat
 

What's hot (20)

บทที่ 16
บทที่ 16บทที่ 16
บทที่ 16
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 6
บทที่ 6บทที่ 6
บทที่ 6
 
บทที่ 10
บทที่ 10บทที่ 10
บทที่ 10
 
บทที่ 13
บทที่ 13บทที่ 13
บทที่ 13
 
บทที่ 14
บทที่ 14บทที่ 14
บทที่ 14
 
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
บทที่ 2 ภาษาศาสตร์
 
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทยใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
ใบความรู้ ลักษณะภาษาไทย
 
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทยหน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
 
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
เด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยิน
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษา
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษาเอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษา
เอกสารประกอบการเรียนรู้ เรื่อง พันธกิจของภาษา
 
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำสื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
สื่อการสอนวิชาภาษาไทย เรื่อง การเขียนสะกดคำ
 
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
คำประสม
คำประสมคำประสม
คำประสม
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
 
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
 
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
Unit4 ความขัดแย้งและความร่วมมือในคริสต์ศตวรรษที่ 20
 
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทานคำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
คำอุทานงานนำเสนอคำอุทาน
 

Similar to บทที่ 5

9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610
CUPress
 
ปฐมวัย
ปฐมวัยปฐมวัย
ปฐมวัย
roadjanalucksawut
 
03 modelof integration+188
03 modelof integration+18803 modelof integration+188
03 modelof integration+188
Prachoom Rangkasikorn
 
การพิจารณาในมุมกว้าง
การพิจารณาในมุมกว้างการพิจารณาในมุมกว้าง
การพิจารณาในมุมกว้างnattaya
 
เด็ก2
เด็ก2เด็ก2
เด็ก2yungpuy
 
ใบความรู้+การสอนแบบบูรณาการ(A model of Integration)+ป.1+103+dltvengp1+21 inte...
ใบความรู้+การสอนแบบบูรณาการ(A model of Integration)+ป.1+103+dltvengp1+21 inte...ใบความรู้+การสอนแบบบูรณาการ(A model of Integration)+ป.1+103+dltvengp1+21 inte...
ใบความรู้+การสอนแบบบูรณาการ(A model of Integration)+ป.1+103+dltvengp1+21 inte...
Prachoom Rangkasikorn
 
การสอนแบบบูรณาการ+ป.2+120+dltvengp2+21 integration
การสอนแบบบูรณาการ+ป.2+120+dltvengp2+21 integrationการสอนแบบบูรณาการ+ป.2+120+dltvengp2+21 integration
การสอนแบบบูรณาการ+ป.2+120+dltvengp2+21 integration
Prachoom Rangkasikorn
 
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
aphithak
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
Ruangrat Watthanasaowalak
 
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
กัลยณัฏฐ์ สุวรรณไตรย์
 
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupationsเล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
Chamchuree88
 
Portfolio
PortfolioPortfolio
Portfolio
Bantita pitakrat
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
Aj.Mallika Phongphaew
 
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
Thidarat Termphon
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
Natthapon Inhom
 

Similar to บทที่ 5 (20)

9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610
 
ปฐมวัย
ปฐมวัยปฐมวัย
ปฐมวัย
 
1
11
1
 
03 modelof integration+188
03 modelof integration+18803 modelof integration+188
03 modelof integration+188
 
การพิจารณาในมุมกว้าง
การพิจารณาในมุมกว้างการพิจารณาในมุมกว้าง
การพิจารณาในมุมกว้าง
 
เด็ก2
เด็ก2เด็ก2
เด็ก2
 
ใบความรู้+การสอนแบบบูรณาการ(A model of Integration)+ป.1+103+dltvengp1+21 inte...
ใบความรู้+การสอนแบบบูรณาการ(A model of Integration)+ป.1+103+dltvengp1+21 inte...ใบความรู้+การสอนแบบบูรณาการ(A model of Integration)+ป.1+103+dltvengp1+21 inte...
ใบความรู้+การสอนแบบบูรณาการ(A model of Integration)+ป.1+103+dltvengp1+21 inte...
 
การสอนแบบบูรณาการ+ป.2+120+dltvengp2+21 integration
การสอนแบบบูรณาการ+ป.2+120+dltvengp2+21 integrationการสอนแบบบูรณาการ+ป.2+120+dltvengp2+21 integration
การสอนแบบบูรณาการ+ป.2+120+dltvengp2+21 integration
 
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
 
1 ก่อนเรียน(1-4)
1 ก่อนเรียน(1-4)1 ก่อนเรียน(1-4)
1 ก่อนเรียน(1-4)
 
ก่อนเรียน
ก่อนเรียนก่อนเรียน
ก่อนเรียน
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
 
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
ภาษาอังกฤษ ม.ต้น
 
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupationsเล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
เล่มที่ 1 เรื่อง Occupations
 
ภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมดภาษาถิ่นตะโหมด
ภาษาถิ่นตะโหมด
 
Portfolio
PortfolioPortfolio
Portfolio
 
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่องบทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
บทที่ 5 ปัญหาและข้อบกพร่อง
 
บทที่ ๒.๒
บทที่ ๒.๒บทที่ ๒.๒
บทที่ ๒.๒
 
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
ภาษาอังกฤษเพื่อชีวิตและสังคม ม.ปลาย พต31001
 
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
ส่งวิจัยในชั้นเรียน1.59
 

More from pop Jaturong

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
pop Jaturong
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
pop Jaturong
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
pop Jaturong
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
pop Jaturong
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
pop Jaturong
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
pop Jaturong
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
pop Jaturong
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
pop Jaturong
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
pop Jaturong
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
pop Jaturong
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law
pop Jaturong
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security
pop Jaturong
 

More from pop Jaturong (20)

3
33
3
 
5
55
5
 
4
44
4
 
2
22
2
 
1
11
1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security
 

Recently uploaded

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
NitayataNuansri
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (9)

3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdfรายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
รายงานโครงงานการออกแบบลายเสื่อโดยใช้รูปเรขาคณิต ระดับประเทศ.pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 

บทที่ 5

  • 1. บทที่ 5 ภาษามือหมวด ครอบครัว ครอบครัว เป็นสถาบันที่สาคัญที่สุดของสังคม เป็นหน่วยย่อยของสังคมที่มีความสัมพันธ์และ ร่วมมือกันอย่างใกล้ชิด การใช้ภาษามือเพื่อสื่อสารกับครอบครัวทาให้มีการถ่ายทอดประสบการณ์ ต่างๆ และสร้างเสริมประสบการณ์ต่างๆ ให้กับเด็กที่มีความบกพร่องทางการได้ยินได้เช่นกัน 1. ภาษามือหมวดครอบครัวและความสัมพันธ์ ภาษามือหมวดครอบครัวประกอบไปด้วยคาศัพท์ที่เรียกคนในครอบครัว ซึ่งในครอบครัว ประกอบด้วยคนหลายๆ คน ห้อมล้อมกันอยู่เป็นกลุ่ม ดังนั้น ภาษามือ คาว่า ครอบครัว จึงต้องแบมือ ทั้งสองข้างชิดกันและโค้งมือเป็นวงกลม เหมือนคนมายืนกันเป็นวงกลม ดังภาพ ครอบครัว แบมือทั้งสองข้างชิดกันและโค้งมือเป็นวงกลม ในครอบครัวแต่ละครอบครัวประกอบไปด้วย พ่อ แม่ พี่ น้อง ซึ่งเป็นบุคคลในครอบครัว ขั้นพื้นฐานที่พบเจอกันอยู่ในปัจจุบัน ภาษามือหมวดครอบครัว จะใช้มือทั้งสองข้าง การชี้ การหมุนมือ เพื่อให้ได้คาศัพท์ที่ต้องการ ดังภาพ พ่อ แบมือข้างหูและกามือ แม่ ทาท่ามือ L และเก็บนิ้วชี้ลง
  • 2. 41 พี่ ความือระดับหูและดึงมือขึ้น น้อง ความือระดับเอวและเลือนลง นอกจากคนในครอบครัวที่มี พ่อ แม่ พี่ น้อง ยังมีบุคคลที่มีความสาคัญอีกมากมายใน ชีวิตซึ่งมีความสัมพันธ์กันเกี่ยวข้องกัน และส่งเสริมให้ครอบครัวแต่ละครอบครัวสมบูรณ์แบบมากขึ้น ได้แก่ บุคคลที่เป็น ปู่ ย่า ตา ยาย ลุง ป้า น้า อา บุคคลดังกล่าวดุจญาติมิตรที่ดีและช่วยเหลือเกื้อกูล ซึ่งกันและกันเราเรียกว่า ญาติ สามารถทาภาษามือได้ ดังภาพ ญาติ ทาท่ามือ ย และหมุน ในครอบครัวที่มีบุคคลที่มีความบกพร่องทางการได้ยินนั้น ต้องเรียนรู้ภาษามือเพื่อการ สื่อสารกันในครอบครัว ควรจะเรียกหรือใช้ภาษามือญาติทุกคนได้ เช่น ปู่ (กามือขยับขึ้นลงใต้คางและ ชี้ที่ตา ทาท่ามือ ป) เพื่อให้ทราบว่าเค้าเรียก ปู่ บางบ้านใช้การตั้งชื่อเป็นภาษามือก็จะง่ายขึ้น แต่ต้องมี การเรียนรู้คาศัพท์ในหมวดนี้เพื่อให้การสื่อสารได้ดียิ่งขึ้น ดังภาพ
  • 3. 42 ปู่ กามือขยับขึ้นลงใต้คางและชี้ทีตา ทาท่ามือ ป ย่า กามือขยับขึ้นลงใต้คางและชี้ทีตา ทาท่ามือ ย ตา กามือขยับขึ้นลงใต้คางและชี้ทีตา ทาท่ามือ ต ยาย กามือขยับขึ้นลงใต้คางและทาท่ามือ ย และวน ลุง ทาท่ามือ L และวน ป้า ทาท่ามือ ป น้า ทาท่ามือ น และวน อา ทาท่ามือ อ และวน 2. ภาษามือหมวดบุคคล
  • 4. 43 ภาษามือหมวดบุคคลเป็นภาษามือที่บอกถึงสรรพนามของคน เช่น ฉัน เธอ คุณ เขา ซึ่ง เป็นสรรพนามที่ใช้ในการสื่อสาร และบอกถึงลักษณะ เพศ วัย สถานะที่บุคคลเป็นอยู่ เช่น ผู้หญิง ผู้ชาย โสด แต่งงาน สามี ภรรยา เป็นต้น การทาภาษามือสรรพนามใช้การชี้เปลี่ยนตาแหน่งและทิศทางของมือ เพื่อเปลี่ยน ความหมายของคา ดังภาพ ฉัน/ดิฉัน ทาท่ามือ เลขหนึง และชี้ทีหน้าอก เธอ/ คุณ ทาท่ามือ เลขหนึง และชี้ออกไป พวกเรา แบมือและหมุนเป็นวงกลมเข้าหาตัว โดยมือทีหมุน อยู่ในลาตัว พวกเขา แบมือและหมุนเป็นวงกลมออกนอกลาตัว โดยมือทีหมุน ออกนอกลาตัว การทาภาษามือบอกถึงเพศ วัย นั้นใช้ท่ามือ ตาแหน่งของมือและทิศทางของมือ เพื่อให้ ได้คาศัพท์ที่ต้องการใช้งาน เช่น คาว่า ผู้ชาย (แบมือข้างหูและขยับไปมา) คาว่า ชรา (กามือและขยับ ขึ้นลงใต้คาง) ซึ่งการทาท่ามือต้องประกอบกับการสีหน้าท่าทางเพื่อให้เข้าใจความหมายของคานั้นๆ เพิ่มมากขึ้น ตามภาพ
  • 5. 44 ผู้ชาย แบมือข้างหูและขยับไปมา ผู้หญิง ทาท่ามือ เลขหนึงและชี้ทีใบหูวนออก หนุ่ม/สาว กามือทั้งสองข้างและขยับลง ชรา /คนแก่ กามือและขยับขึ้นลงใต้คาง ภาษามือที่แสดงถึงสถานะของบุคคลใช้ตาแหน่ง ทิศทางของมือและการประกอบคา เช่น คาว่า สามี ท่ามือที่ 1 ทาภาษามือคาว่าผู้ชาย ท่ามือที่ 2 ทาท่ามือคาว่าแต่งงาน ตามภาพ สามี ทาท่ามือผู้ชาย และทาท่ามือแต่งงาน ภรรยา ทาท่ามือผู้หญิง และทาท่ามือแต่งงาน
  • 6. 45 ลูก ห่อมือทั้งสองข้างระดับหน้าอกเหมือนการอุ้มลูกขยับ แต่งงาน / สมรส มือซ้ายกับมือขวาทับกัน โสด ทาท่ามือ เลขหนึง วางทีหน้าอกขยับขึ้นลง หย่า แบมือแล้วตั้งผ่ามือในระดับหน้าอกนาปลายนิ้วมาแตะ กันค่อยๆลากมือออกขนานกับบ่า 3. การสนทนาในหมวดครอบครัว ภาษามือหมวดครอบครัวนี้มีการสนทนาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ในครอบครัว หรือ การสนทนากันเกี่ยวกับสถานะของบุคคล ดังตัวอย่างต่อไปนี้ ก : ลูกคุณสบายดีไหม ข : สบายดีคะ
  • 7. 46 ข : ลูกคุณหละสบายดีไหม ก : สบายดีครับ สรุป ภาษามือหมวดครอบครัวประกอบด้วยคาศัพท์หมวดย่อยๆ ได้แก่ คาศัพท์ที่ใช้ในครอบครัว คาศัพท์เกี่ยวกับบุคคลที่เราจะต้องพบเจอในชีวิตประจาวัน คาศัพท์ความสัมพันธ์ในครอบครัว ตลอดจนญาติและเพื่อน ซึ่งคาศัพท์ดังกล่าวเกี่ยวเนื่องสัมพันธ์กันเวลาใช้ ภาษามือในหมวดนี้ใช้การชี้ การเปลี่ยนตาแหน่งของมือ การเคลื่อนไหวทิศทางของมือ เพื่อเปลี่ยนความหมายของคาและ การประกอบคาสองคาเพื่อให้เกิดความหมายและใช้สนทนาในชีวิตประจาวัน แบบฝึกท้ายบท 1. นักศึกษาทาภาษามือคาศัพท์ต่อไปนี้ 1.1 ครอบครัว 1.2 พ่อ 1.3 น้องชาย 1.4 หลาน 1.5 ปู่ 1.6 ญาติ 1.7 ยาย 1.8 เขา 1.9 ผู้หญิง 1.10 พวกเรา 1.11 สามี 1.12 โสด
  • 9. 48 โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว . กระทรวงศึกษาธิการ. (2544). เอกสารประกอบการอบรมครูการศึกษาพิเศษ. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์คุรุสภา ลาดพร้าว. ปทานุกรมภาษามือไทย. (2533). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษามือไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช.