SlideShare a Scribd company logo
ภาษาศาสตร์
ภาษาศาสตร์เป็ นศาสตร์เอกเทศ
ภาษาศาสตร์สามารถประยุกต์กับศาสตร์อื่นได้
ภาษาศาสตร์เป็ นศาสตร์เอกเทศ
• ภาษาศาสตร์วรรณนา (Descriptive Linguistics)
• ภาษาศาสตร์เชิงประวัติและเปรียบเทียบ (Historical and
Comparative Linguistics)
ภาษาศาสตร์วรรณนา
ภาษาศาสตร์วรรณนา
(Descriptive Linguistics)
• ศึกษาภาษาใดภาษาหนึ่ง ในช่วงระยะเวลาหนึ่งโดยเฉพาะ
• ผู้ให้กาเนิด เฟอร์ดินานต์ เดอ โซซูร์ (Ferdinand de Saussure)
อาจารย์วิชาภาษาศาสตร์มหาวิทยาลัยเจนิวา (1906-1911)
• ภาษาศาสตร์วรรณนามีหลายกลุ่มแนวคิด
1) ทฤษฎีโครงสร้าง
(Structural School)
• นักภาษาศาสตร์กลุ่มแรกที่พยายามศึกษาภาษาตามแนววิทยาศาสตร์
• ศึกษาภาษาพูด โดยฟังแล้วจดบันทึกหรือบันทึกเสียง แล้วนามาเป็ นข้อมูลเพื่อ
ศึกษาวิเคราะห์ต่อไป
• พิจารณารูปภาษา (Form) = รูปลักษณะ ตาแหน่งและหน้าที่ของเสียง พยางค์
หน่วยคา วลี อนุพากย์และประโยคในภาษา
• ความหมายยังศึกษาโดยตรงไม่ได้
• นักไวยากรณ์ที่สาคัญคือ Leonard Bleomfiled, วิจันตน์ ภานุพงศ์
2) ทฤษฎีปริวรรตเพิ่มพูน
(Generative Transformation School)
• พัฒนามาจากแนวคิดของนอม ชอมสกี (Noam Chomsky)
• “การศึกษาภาษาควรมุ่งศึกษาในเชิงภาษาที่สมบูรณ์แบบในจิตของเจ้าของ
ภาษา”
• ภาษาสร้างได้ไม่รู้จบจาก “กฎ” ที่มีอยู่ในสมอง
• รูปประโยคที่ปรากฏออกมาแตกต่างกัน (โครงสร้างผิว) อาจมีที่มาจาก
โครงสร้างเดียวกัน (โครงสร้างลึก)
• กฎปริวรรต (ตัวแปลงรูปประโยคแต่ไม่เปลี่ยนความหมายของประโยค)
3) ทฤษฎีไวยากรณ์การก
(Case Grammar)
• การก เป็ นความสัมพันธ์ที่พิจารณาจากความสัมพันธ์ของกริยาที่มีต่อนาม
• ฟิลมอร์ (Charles J. Fillmore) เชื่อว่ามีความสัมพันธ์อีกแบบหนึ่งในโครงสร้าง
ผิวที่ไม่ใช่แบบประธานหรือกรรม
• เช่น (ก) ประตูเปิ ด
(ข) วิมลเปิ ดประตู
4) ทฤษฎีไวยากรณ์หน้าที่นิยม
(Functional Theory)
• ภาษาประกอบด้วย 2 ส่วน คือ ส่วนโครงสร้าง (Structure or Grammar) และ
ส่วนหน้าที่ (Function) คือความสามารถที่จะสื่อความหมายได้เหมาะกับ
สถานการณ์ กาลเทศะ และบุคคล
• หน้าที่มีส่วนทาให้รูปภาษาที่แสดงออกมาแตกต่างออกไปและครอบคลุมการใช้
ภาษาอีกชั้นหนึ่ง
• นักภาษาศาสตร์ของไทย นววรรณ พันธุเมธา
ภาษาศาสตร์เชิงประวัติและเปรียบเทียบ
ภาษาศาสตร์เชิงประวัติ
(Historical Linguistics)
• ศึกษาภาษาใดภาษาหนึ่งในระยะเวลาที่ต่างกันเพื่อดูวิวัฒนาการในด้านต่างๆ
• ทางานร่วมกันกับภาษาศาสตร์เปรียบเทียบเพื่อดูความสัมพันธ์ของภาษาที่อยู่
ในตระกูลเดียวกันเพื่อหาตระกูลภาษากับภาษาดั้งเดิมของแต่ละภาษาด้วย
ภาษาศาสตร์เชิงเปรียบเทียบ
(Comparative Linguistics)
• ศึกษาเปรียบเทียบสองภาษาขึ้นไป
• อาจเป็ นภาษาที่อยู่ในตระกูลเดียวกัน
• ทางานร่วมกันกับภาษาศาตร์เชิงประวัติโดยดูความสัมพันธ์ของภาษาที่อยู่ใน
ตระกูงเดียวกัน เพื่อหาตระกูลภาษาหรือภาษาดั้งเดิมแต่ละภาษาด้วย
การศึกษาภาษาศาสตร์เชิงประวัติและภาษาศาสตร์เปรียบเทียบในไทย
• ศาสตราจารย์พระยาอนุมานราชธน นักวิชาการรุ่นแรกที่นานิรุกติศาสตร์ ซึ่ง
เป็ นสาขาย่อยของภาษาศาสตร์เปรียบเทียบ เข้ามาสอนนิสิตอักษรศาสตร์
ภาควิชาภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
• นิรุกติศาสตร์ภาค 1 ตานานนิรุกติศาสตร์ กาเนิดของคาในภาษา ภาษาและรูป
คาของภาษา การแบ่งภาษา ตระกูลภาษา เสียงและการกลายเสียงของคาใน
ภาษา ซึ่งกล่าวถึงเสียงพูดและหน่วยเสียง พยัญชนะ สระ และการแยกพยางค์
• นิรุกติศาสตร์ภาค 2 เนื้อหาเกี่ยวกับ การกลายเสียง กฎของการกลายเสียง
และต้นเหตุของการกลายเสียงตามความเห็นของนักนิรุกติศาสตร์ คาตัด การ
ลากเข้าความ แนวเทียบ คาซ้า คาซ้อน
ภาษาศาสตร์สามารถประยุกต์กับศาสตร์อื่นได้
ภาษาศาสตร์มานุษยวิทยา(Antropological Linguistics) /
ภาษาศาสตร์ชาติพันธุ์วิทยา (Ethnolinguistics)
• มีความเชื่อว่าการศึกษาวัฒนธรรม ประเพณี ความเชื่อของมนุษย์ชน
เผ่าต่างๆ ว่าแตกต่างกันอย่างไรนั้นดูได้จาก “ภาษา” หา
ความสัมพันธ์ระหว่างมนุษยชาติ โดยเปรียบเทียบขนบประเพณีหรือ
ความสัมพันธ์ของภาษา
ภาษาศาสตร์สังคม (Sociolinguistics)
• การศึกษาในด้านที่นามาใช้อธิบายเกี่ยวกับปริบททางสังคม กล่าวคือ ใช้ให้
ถูกต้องตามระเบียบปฏิบัติของสังคม โดยสามารถสื่อสารได้เหมาะสมกับบุคคล
และสถานการณ์ต่างๆ และยังมุ่งตอบคาถามที่น่าสนใจของนักภาษาศาสตร์
เช่น เราจะปรับปรุงทฤษฎีภาษาอย่างไร ทาไมภาษาจึงแปร และแปรอย่างไร
• นักภาษาศาสตร์สังคมเชื่อว่าภาษาเป็ นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมและสังคมจึงมี
การศึกษาภาษาในสังคมเมื่อมนุษย์มีปฏิสัมพันธ์กัน
ภาษาศาสตร์จิตวิทยา
(Psycholinguistics)
• ภาษาเป็ นพฤติกรรมของมนุษย์อย่างหนึ่ง เมื่อกล่าวถึงมนุษย์ ลักษระหนึ่งที่เป็ น
ตัวกาหนดพฤติกรรมมนุษย์คือลักษณะทางจิตวิทยา
• พฤติกรรมของมนุษย์อยู่ภายใต้การควบคุมของสมอง
• การศึกษาสมองในส่วนที่เกี่ยวข้องกับภาษามนุษย์
• สนใจศึกษาการเรียนรู้ภาษาแรกของมนุษย์คือภาษาแม่ รวมไปถึงศึกษาว่ามี
องค์ประกอบใดที่จะทาให้เรียนรู้ภาษาที่สอง หรือภาษาต่างประเทศดีขึ้น
ภาษาศาสตร์ประสาทวิทยา
(Neurolinguistics)
• เน้นการศึกษาสรีระของสมองและศึกษาระบบประสาทโดยเฉพาะ
• ศึกษาพยาธิสภาพทางสมองที่มีผลทาให้เกิดการสูญเสียภาษา ความผิดปกติ
ทางการพูดหรือการได้ยิน
• ภาษาศาสตร์การศึกษา (Educational Linguistics)
• ภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์ (Computational Linguistics)
ภาษาศาสตร์การศึกษา (Educational Linguistics)
• การนาภาษาศาสตร์ไปประยุกต์ใช้ในการสอนภาษา
• การวิเคราะห์ภาษาในระดับต่างๆ เช่น สัทลักษณะ หน่วยคา โครงสร้างประโยค
ฯลฯ ไปวิเคราะห์ภาษาเป้ าหมาย (Target Language) เพื่อใช้เป็ นพื้นฐานสาหรับ
ครูสอนภาษาไทย
ภาษาศาสตร์คอมพิวเตอร์ (Computational Linguistics)
• วิชาที่ว่าด้วยการนาคอมพิวเตอร์มาติดต่อสื่อสารกับมนุษย์ โดยใช้ “ภาษา
มนุษย์” เป็ นเครื่องมือสื่อสาร โดยการพยายามค้นคว้าวิจัยว่ามนุษย์
ติดต่อสื่อสารกันอย่างไร แล้ว “เลียนแบบ” วิธีการนั้นๆ มาจัดโปรแกรมสั่ง
คอมพิวเตอร์ให้ทาตาม
• การแปลภาษาด้วยเครื่อง (MT)
• การสร้างและรู้จาเสียงพูด (Speech Synthesis and Speech recognition)
• การนาระบบคอมพิวเตอร์มาช่วยในการเก็บข้อมูลทางภาษาศาสตร์จานวน
มหาศาล (Corpus) เพื่อสะดวกในการวิจัยทางภาษาศาสตร์

More Related Content

What's hot

สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความพัน พัน
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]Nongkran Jarurnphong
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
Wilawun Wisanuvekin
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรีSivagon Soontong
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
Suwannaphum Charoensiri
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยHansa Srikrachang
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียน
Yosiri
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
Surapong Klamboot
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ssuser456899
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
Ponpirun Homsuwan
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่มJunya Punngam
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อน
พัน พัน
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
Wan Wan
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1kruking2
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยYanee Chaiwongsa
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำ
kruying pornprasartwittaya
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
Bom Anuchit
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
Watcharapol Wiboolyasarin
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
Twatchai Tangutairuang
 

What's hot (20)

สารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความสารพันเลือกสรรตีความ
สารพันเลือกสรรตีความ
 
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
คำสมาส [โหมดความเข้ากันได้]
 
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษาหน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
หน่วยที่ 1 การเปลี่ยนแปลงของภาษา
 
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
(M5) แบบทดสอบหลังเรียน เรื่อง มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
 
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในการพัฒนาประเทศ
 
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
คัมภีร์ฉันทศาสตร์ Ppt[1]
 
ประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทยประโยคในภาษาไทย
ประโยคในภาษาไทย
 
ตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียนตอบปัญหาอาเซียน
ตอบปัญหาอาเซียน
 
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความการอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
การอ่านแปลความ ตีความและขยายความ
 
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
ใบงานคำที่มาจากภาษาต่างประเทศ
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่มเทคนิคการสอน  กระบวนการกลุ่ม
เทคนิคการสอน กระบวนการกลุ่ม
 
ประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อนประโยคความซ้อน
ประโยคความซ้อน
 
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิงคำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
คำถามพร้อมตอบ อิเหนา-ตอน-ศึกกะหมังกุหนิง
 
แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1แบบฝึกชุดที่ 1
แบบฝึกชุดที่ 1
 
ประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัยประวัติผู้วิจัย
ประวัติผู้วิจัย
 
โครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำโครงงานคำควบกล้ำ
โครงงานคำควบกล้ำ
 
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6 กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
กาพย์เห่เรือ บทชมปลา ภาษาไทย ม.6
 
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรมการวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
การวิเคราะห์และประเมินคุณค่าวรรณคดีและวรรณกรรม
 
โรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชนโรงเรียนและชุมชน
โรงเรียนและชุมชน
 

Similar to บทที่ 2 ภาษาศาสตร์

Introto ling
Introto lingIntroto ling
Introto ling
Auruja Sukpat
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการnootsaree
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรitnogkamix
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1Itnog Kamix
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backwardparichat441
 
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
Teacher Sophonnawit
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่าน
candy109
 

Similar to บทที่ 2 ภาษาศาสตร์ (8)

Introto ling
Introto lingIntroto ling
Introto ling
 
บทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการบทความทางวิชาการ
บทความทางวิชาการ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมรแผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
แผนการจัดการเรียนรู้ ภาษาเขมร
 
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
 
3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward3.แผนการเรียนรู้ backward
3.แผนการเรียนรู้ backward
 
Wordpress2
Wordpress2Wordpress2
Wordpress2
 
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
แผนการสอนวิชาภาษาจีน ม.1
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่าน
 

More from Wilawun Wisanuvekin

พยางค์
พยางค์พยางค์
พยางค์
Wilawun Wisanuvekin
 
บทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียงบทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียง
Wilawun Wisanuvekin
 
การพูดในสังคม
การพูดในสังคมการพูดในสังคม
การพูดในสังคม
Wilawun Wisanuvekin
 
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดกระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
Wilawun Wisanuvekin
 
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทยหน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
Wilawun Wisanuvekin
 
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทยหน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
Wilawun Wisanuvekin
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
Wilawun Wisanuvekin
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
Wilawun Wisanuvekin
 
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทยหน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
Wilawun Wisanuvekin
 
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศหน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
Wilawun Wisanuvekin
 
การนำเสนอสารด้วยการเขียน
การนำเสนอสารด้วยการเขียนการนำเสนอสารด้วยการเขียน
การนำเสนอสารด้วยการเขียน
Wilawun Wisanuvekin
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
Wilawun Wisanuvekin
 

More from Wilawun Wisanuvekin (12)

พยางค์
พยางค์พยางค์
พยางค์
 
บทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียงบทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียง
 
การพูดในสังคม
การพูดในสังคมการพูดในสังคม
การพูดในสังคม
 
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดกระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
 
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทยหน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
 
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทยหน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
 
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทยหน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
 
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศหน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
 
การนำเสนอสารด้วยการเขียน
การนำเสนอสารด้วยการเขียนการนำเสนอสารด้วยการเขียน
การนำเสนอสารด้วยการเขียน
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
 

บทที่ 2 ภาษาศาสตร์