SlideShare a Scribd company logo
1 of 7
Download to read offline
บทที่ 8
ภาษามือหมวด พืช ผักต่างๆ
ปัจจุบันเรารับประทานพืช ผักต่างๆ เป็นจานวนมาก ซึ่งผักต่างๆ ทาให้ร่างกายแข็งแรง
ช่วยเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรงสมบูรณ์ การทาภาษามือหมวดพืช ผักต่างๆ นี้นอกจากจะช่วยให้
ทราบชื่อของพืช ผักแล้วยังสามารถนาคาต่างๆ ไปทาเป็นรูปประโยคเพื่อการสนทนาได้อีกด้วย
1. ภาษามือหมวดพืช ผักต่างๆ
ภาษามือหมวดพืช ผักต่างๆ นั้น ทาท่ามือหนึ่งจังหวะและสองจังหวะ โดยท่ามือแต่ละท่า
นั้นมาจากลักษณะของผัก หรือว่าบางคานั้นมาจากกิริยาท่าทางอาการเมื่อรับประทานผักนั้นๆ เข้าไป
เช่น พริก เมื่อรับประทานเข้าไปจะมีอาการเผ็ด ภาษามือจึงเป็นมือพัดไปมาที่ปาก เป็นต้น นอกจากนี้
ยังมีคาศัพท์ในหมวดนี้อีก ตามภาพด้านล่างนี้
พืช ผักต่างๆ
แบมือหันเข้าหน้าอกและนามืออีกข้างหนึ่งสลัดด้านหลัง
ฝ่ามือ
พริก
แบมือพัดไปมา
มะนาว
ทาท่าบีบมะนาว
เห็ด
ทาท่ามือ เลขหนึ่ง และมืออีกข้างหนึ่งคว่า
แตะที่ปลายนิ้วชี้
67
ภาษามือในหมวดนี้มีท่ามือสอง จังหวะเป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากต้องมีการอธิบายถึง
คาศัพท์คานั้นๆ โดยผ่านมือจึงต้องทาให้เห็นภาพชัดเจนมากขึ้น เช่น คาว่า หอมแดง ต้องทาท่ามือ
น้าตาไหล และทาท่ามือลูกเล็กๆ เป็นต้น ในคาศัพท์อื่นๆ ก็ต้องทาให้ชัดเจนเช่นกัน ดังภาพด้านล่างนี้
หอมแดง
ทาท่ามือ เลขหนึ่งแล้วชี้ที่ใต้ตาลากลงมา และทามือ
เหมือนถือหอมแดง
กระเทียม
ทามือขนาดลูกกระเทียมและแบมือ
โดยใช้มืออีกข้างหนึ่งทุบ
มะเขือเทศ
ทาท่ามือ สีแดง แล้วห่อมือ และลูบหน้า
ผักบุ้ง
ทาท่ามือ เลขหนึ่ง จีบมือและเด็ด ทาท่ามือ เลขหนึ่ง
สองมือและหมุนตามภาพ
กะหล่าปลี
ทาท่ามือ ชาม สองข้าง สลับมือไปมาบนล่าง
ผักกาดขาวปลี
ทามือตามภาพและสลับมือไปมา
เผือก แตงกวา
68
ทามือตามภาพ และทาท่ากัด ขยับขึ้นลง กามือและทาท่ากัดแตงกวา ทามือลูกแตงกวา
ฟักทอง
มือชนกันหมุนไปด้านหน้า ทาท่ามือ สีเหลือง
หน่อไม้
ตั้งมือข้างหนึ่ง มืออีกข้างทาท่ามือเลขสอง
และทาตามภาพ
สายบัว
พนมมือแล้วมืออีกข้างหนึ่งลูบมือลง ตามภาพ
ข้าวโพด
มือสองข้างทาท่าจับข้าวโพด และหมุนตามภาพ
2. การสนทนาในหมวดพืช ผักต่างๆ
คาศัพท์หมวดพืช ผักต่างๆ นั้น มีการสนทนากันได้หลายสถานการณ์ไม่ว่าจะเป็นที่บ้าน
ตลาด โรงเรียน และสถานที่ต่างๆ ดังต่อไปนี้
สถานการณ์ที่ตลาด
69
ก : ซื้ออะไรคะ ข : ฟักทอง
สถานการณ์ที่บ้าน
แม่ : หยิบแตงกวาให้แม่หน่อย ลูก : อยู่ไหนคะ
แม่ : อยู่บนโต๊ะ ลูก : คะ
สรุป
พืช ผักต่างๆ มีภาษามือที่ทาท่ามือจังหวะเดียว เช่น พริก มะนาว กะหล่าปลี หน่อไม้ และ
ทาท่ามือสองจังหวะ เช่น หัวหอม แตงกวา ผักกาดขาด ข้าวโพด สายบัว ซึ่งทาไม่ยาก ถ้าดูตามภาพ
และอ่านคาบรรยายใต้ภาพ
70
แบบฝึกท้ายบท
1. ให้นักศึกษาเขียนคาศัพท์ต่อไปนี้
1.1 ………………………………
1.2 ………………………………
1.3 ………………………………
1.4 ………………………………
71
1.5 ………………………………
2. ให้นักศึกษานาคาศัพท์ต่อไปนี้ทาเป็นรูปประโยคสนทนา
2.1 พริก
2.2 มะนาว
2.3 มะเขือ
2.4 แตงกวา
2.5 เห็ด
เอกสารอ้างอิง
กองการศึกษาพิเศษ. (2526). ภาษามือ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์จงเจริญการพิมพ์.
ปทานุกรมภาษามือไทย. (2533). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษามือไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช.
สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์บพิธการพิมพ์.
สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 3. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์บพิธการพิมพ์.
สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 5. กรุงเทพฯ :
สานักพิมพ์บพิธการพิมพ์.
72

More Related Content

What's hot

บทที่ 13
บทที่ 13บทที่ 13
บทที่ 13pop Jaturong
 
บทที่ 14
บทที่ 14บทที่ 14
บทที่ 14pop Jaturong
 
Should vs would ตัวอย่างประโยค ความหมาย การใช้
Should vs would ตัวอย่างประโยค ความหมาย การใช้ Should vs would ตัวอย่างประโยค ความหมาย การใช้
Should vs would ตัวอย่างประโยค ความหมาย การใช้ Aj Muu
 
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองบทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองAj.Mallika Phongphaew
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยNook Kanokwan
 
Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Nitiwat First
 
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศหน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศWilawun Wisanuvekin
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ Thitaree Samphao
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆDashodragon KaoKaen
 
บทเรียนสาเร็จรูป เล่มที่ 3 เรื่อง การเกิดอุบัติเหตุและการปฐมพยาบาล
บทเรียนสาเร็จรูป เล่มที่ 3 เรื่อง การเกิดอุบัติเหตุและการปฐมพยาบาลบทเรียนสาเร็จรูป เล่มที่ 3 เรื่อง การเกิดอุบัติเหตุและการปฐมพยาบาล
บทเรียนสาเร็จรูป เล่มที่ 3 เรื่อง การเกิดอุบัติเหตุและการปฐมพยาบาลโรงเรียนห้วยแถลงพิทยาคม
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานSiriporn Kusolpiamsuk
 

What's hot (20)

บทที่ 5
บทที่ 5บทที่ 5
บทที่ 5
 
บทที่ 7
บทที่ 7บทที่ 7
บทที่ 7
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
บทที่ 9
บทที่ 9บทที่ 9
บทที่ 9
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 13
บทที่ 13บทที่ 13
บทที่ 13
 
บทที่ 14
บทที่ 14บทที่ 14
บทที่ 14
 
Should vs would ตัวอย่างประโยค ความหมาย การใช้
Should vs would ตัวอย่างประโยค ความหมาย การใช้ Should vs would ตัวอย่างประโยค ความหมาย การใช้
Should vs would ตัวอย่างประโยค ความหมาย การใช้
 
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรองบทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
บทที่ 7 การเขียนบทร้อยกรอง
 
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทยโครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
โครงงานคอมพิวเตอร์ เรื่องสื่อการสอนภาษาไทย
 
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕
แบบฝึกการอ่านเขียน เล่ม ๕
 
Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
Powerpointองค์ประกอบของระบบคอมพิวเตอร์
 
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศหน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
 
ระบบหายใจ
ระบบหายใจ ระบบหายใจ
ระบบหายใจ
 
การพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆการพันผ้าแบบต่างๆ
การพันผ้าแบบต่างๆ
 
บทเรียนสาเร็จรูป เล่มที่ 3 เรื่อง การเกิดอุบัติเหตุและการปฐมพยาบาล
บทเรียนสาเร็จรูป เล่มที่ 3 เรื่อง การเกิดอุบัติเหตุและการปฐมพยาบาลบทเรียนสาเร็จรูป เล่มที่ 3 เรื่อง การเกิดอุบัติเหตุและการปฐมพยาบาล
บทเรียนสาเร็จรูป เล่มที่ 3 เรื่อง การเกิดอุบัติเหตุและการปฐมพยาบาล
 
3
33
3
 
ระดับของภาษา
ระดับของภาษาระดับของภาษา
ระดับของภาษา
 
ตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงานตัวอย่างโครงงาน
ตัวอย่างโครงงาน
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 

Similar to บทที่ 8

โครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหารโครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหารBank Kitsana
 
เรียงร้อยถ้อยคำลำนำสมุนไพร สิรินธร สุรินทร์
เรียงร้อยถ้อยคำลำนำสมุนไพร  สิรินธร สุรินทร์เรียงร้อยถ้อยคำลำนำสมุนไพร  สิรินธร สุรินทร์
เรียงร้อยถ้อยคำลำนำสมุนไพร สิรินธร สุรินทร์Prasong Somarat
 
งานนำเสนอ Nan
งานนำเสนอ Nanงานนำเสนอ Nan
งานนำเสนอ Nannannee
 
ความหมายของสมุนไพร
ความหมายของสมุนไพรความหมายของสมุนไพร
ความหมายของสมุนไพรWaree Wera
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงานTiwapon Wiset
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยsasimaphon2539
 
นวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษานวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษาkrusupkij
 
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-212 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2DisneyP
 
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทยจู ล่ง
 
9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610CUPress
 
พืชสมุนไพร
พืชสมุนไพรพืชสมุนไพร
พืชสมุนไพรkrittiyanee16
 
งาน
งานงาน
งานDARAGA
 

Similar to บทที่ 8 (20)

โครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหารโครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
โครงงานบล็อกเรื่องอาหาร
 
สุขศึกษา
สุขศึกษาสุขศึกษา
สุขศึกษา
 
Cbi ผ าน
Cbi ผ านCbi ผ าน
Cbi ผ าน
 
ลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทยลักษณะภาษาไทย
ลักษณะภาษาไทย
 
เรียงร้อยถ้อยคำลำนำสมุนไพร สิรินธร สุรินทร์
เรียงร้อยถ้อยคำลำนำสมุนไพร  สิรินธร สุรินทร์เรียงร้อยถ้อยคำลำนำสมุนไพร  สิรินธร สุรินทร์
เรียงร้อยถ้อยคำลำนำสมุนไพร สิรินธร สุรินทร์
 
งานนำเสนอ Nan
งานนำเสนอ Nanงานนำเสนอ Nan
งานนำเสนอ Nan
 
Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1Plant ser 143_60_1
Plant ser 143_60_1
 
ความหมายของสมุนไพร
ความหมายของสมุนไพรความหมายของสมุนไพร
ความหมายของสมุนไพร
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
โครงงาน
โครงงานโครงงาน
โครงงาน
 
คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์คำวิเศษณ์
คำวิเศษณ์
 
สมุนไพรไทย
สมุนไพรไทยสมุนไพรไทย
สมุนไพรไทย
 
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
ธรรมชาติของภาษาออนไลน์
 
นวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษานวัตกรรมสุขศึกษา
นวัตกรรมสุขศึกษา
 
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-212 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
12 ระดับภาษา ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย ภาคเรียนที่1-2
 
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย
108 คำถาม สถาบันการแพทย์ไทย
 
9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610
 
พืชสมุนไพร
พืชสมุนไพรพืชสมุนไพร
พืชสมุนไพร
 
งาน
งานงาน
งาน
 

More from pop Jaturong

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1pop Jaturong
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงpop Jaturong
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆpop Jaturong
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดpop Jaturong
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมpop Jaturong
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยpop Jaturong
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยpop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยpop Jaturong
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาpop Jaturong
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&lawpop Jaturong
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-securitypop Jaturong
 

More from pop Jaturong (20)

3
33
3
 
5
55
5
 
4
44
4
 
2
22
2
 
1
11
1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security
 

บทที่ 8

  • 1. บทที่ 8 ภาษามือหมวด พืช ผักต่างๆ ปัจจุบันเรารับประทานพืช ผักต่างๆ เป็นจานวนมาก ซึ่งผักต่างๆ ทาให้ร่างกายแข็งแรง ช่วยเสริมสร้างร่างกายให้แข็งแรงสมบูรณ์ การทาภาษามือหมวดพืช ผักต่างๆ นี้นอกจากจะช่วยให้ ทราบชื่อของพืช ผักแล้วยังสามารถนาคาต่างๆ ไปทาเป็นรูปประโยคเพื่อการสนทนาได้อีกด้วย 1. ภาษามือหมวดพืช ผักต่างๆ ภาษามือหมวดพืช ผักต่างๆ นั้น ทาท่ามือหนึ่งจังหวะและสองจังหวะ โดยท่ามือแต่ละท่า นั้นมาจากลักษณะของผัก หรือว่าบางคานั้นมาจากกิริยาท่าทางอาการเมื่อรับประทานผักนั้นๆ เข้าไป เช่น พริก เมื่อรับประทานเข้าไปจะมีอาการเผ็ด ภาษามือจึงเป็นมือพัดไปมาที่ปาก เป็นต้น นอกจากนี้ ยังมีคาศัพท์ในหมวดนี้อีก ตามภาพด้านล่างนี้ พืช ผักต่างๆ แบมือหันเข้าหน้าอกและนามืออีกข้างหนึ่งสลัดด้านหลัง ฝ่ามือ พริก แบมือพัดไปมา มะนาว ทาท่าบีบมะนาว เห็ด ทาท่ามือ เลขหนึ่ง และมืออีกข้างหนึ่งคว่า แตะที่ปลายนิ้วชี้
  • 2. 67 ภาษามือในหมวดนี้มีท่ามือสอง จังหวะเป็นส่วนใหญ่ เนื่องจากต้องมีการอธิบายถึง คาศัพท์คานั้นๆ โดยผ่านมือจึงต้องทาให้เห็นภาพชัดเจนมากขึ้น เช่น คาว่า หอมแดง ต้องทาท่ามือ น้าตาไหล และทาท่ามือลูกเล็กๆ เป็นต้น ในคาศัพท์อื่นๆ ก็ต้องทาให้ชัดเจนเช่นกัน ดังภาพด้านล่างนี้ หอมแดง ทาท่ามือ เลขหนึ่งแล้วชี้ที่ใต้ตาลากลงมา และทามือ เหมือนถือหอมแดง กระเทียม ทามือขนาดลูกกระเทียมและแบมือ โดยใช้มืออีกข้างหนึ่งทุบ มะเขือเทศ ทาท่ามือ สีแดง แล้วห่อมือ และลูบหน้า ผักบุ้ง ทาท่ามือ เลขหนึ่ง จีบมือและเด็ด ทาท่ามือ เลขหนึ่ง สองมือและหมุนตามภาพ กะหล่าปลี ทาท่ามือ ชาม สองข้าง สลับมือไปมาบนล่าง ผักกาดขาวปลี ทามือตามภาพและสลับมือไปมา เผือก แตงกวา
  • 3. 68 ทามือตามภาพ และทาท่ากัด ขยับขึ้นลง กามือและทาท่ากัดแตงกวา ทามือลูกแตงกวา ฟักทอง มือชนกันหมุนไปด้านหน้า ทาท่ามือ สีเหลือง หน่อไม้ ตั้งมือข้างหนึ่ง มืออีกข้างทาท่ามือเลขสอง และทาตามภาพ สายบัว พนมมือแล้วมืออีกข้างหนึ่งลูบมือลง ตามภาพ ข้าวโพด มือสองข้างทาท่าจับข้าวโพด และหมุนตามภาพ 2. การสนทนาในหมวดพืช ผักต่างๆ คาศัพท์หมวดพืช ผักต่างๆ นั้น มีการสนทนากันได้หลายสถานการณ์ไม่ว่าจะเป็นที่บ้าน ตลาด โรงเรียน และสถานที่ต่างๆ ดังต่อไปนี้ สถานการณ์ที่ตลาด
  • 4. 69 ก : ซื้ออะไรคะ ข : ฟักทอง สถานการณ์ที่บ้าน แม่ : หยิบแตงกวาให้แม่หน่อย ลูก : อยู่ไหนคะ แม่ : อยู่บนโต๊ะ ลูก : คะ สรุป พืช ผักต่างๆ มีภาษามือที่ทาท่ามือจังหวะเดียว เช่น พริก มะนาว กะหล่าปลี หน่อไม้ และ ทาท่ามือสองจังหวะ เช่น หัวหอม แตงกวา ผักกาดขาด ข้าวโพด สายบัว ซึ่งทาไม่ยาก ถ้าดูตามภาพ และอ่านคาบรรยายใต้ภาพ
  • 5. 70 แบบฝึกท้ายบท 1. ให้นักศึกษาเขียนคาศัพท์ต่อไปนี้ 1.1 ……………………………… 1.2 ……………………………… 1.3 ……………………………… 1.4 ………………………………
  • 6. 71 1.5 ……………………………… 2. ให้นักศึกษานาคาศัพท์ต่อไปนี้ทาเป็นรูปประโยคสนทนา 2.1 พริก 2.2 มะนาว 2.3 มะเขือ 2.4 แตงกวา 2.5 เห็ด เอกสารอ้างอิง กองการศึกษาพิเศษ. (2526). ภาษามือ เล่ม 2. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์จงเจริญการพิมพ์. ปทานุกรมภาษามือไทย. (2533). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับภาษามือไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช. สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์บพิธการพิมพ์. สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 3. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์บพิธการพิมพ์. สมาคมคนหูหนวกแห่งประเทศไทย. (2542). หนังสือภาษามือไทย เล่ม 5. กรุงเทพฯ : สานักพิมพ์บพิธการพิมพ์.
  • 7. 72