SlideShare a Scribd company logo
1 of 56
การพัฒนาทักษะทางภาษา
สาหรับเด็กปฐมวัย
รศ. บรรพต พรประเสริฐ
ความสาคัญของภาษา
1. ภาษาเป็นสิ่งสาคัญในการดารงชีวิตที่ต้องติดต่อสร้างความสัมพันธ์
ทางสังคมที่ตนดารงอยู่
2. ภาษาเป็นกิจกรรมสาคัญในการจัดการเรียนการสอนทั้งในและนอก
ระบบโรงเรียน
3. ภาษาเป็นสื่อสาคัญที่ช่วยให้มนุษย์สามารถแลกเปลี่ยนความรู้
ความคิด เรียนรู้ด้วยตนเองจากสื่อ
4. ภาษาเป็นส่วนหนึ่งของวัฒนธรรมที่แต่ละเผ่าชน ชนชาติที่แสดงให้
เห็น
5.ภาษาเป็นเอกลักษณ์ประจาชาติ
6.ภาษาเป็นเครื่องมือในการประกอบอาชีพ
7.ภาษาเป็นสิ่งที่ใช้แสดงออกเพื่อระบายอารมณ์
จากการได้สนทนาพูดคุย
8.การใช้ภาษาของมนุษย์เป็นเครื่องบ่งบอก
ถึงบุคลิกภาพของผู้พูด
9.ภาษาเป็นเครื่องมือสาคัญที่จะใช้โน้มน้าวใจคน
พัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัย
ขั้นที่ 1 ขั้นปฏิกิริยาสะท้อน
ขั้นที่ 2 ขั้นเล่นเสียง
ขั้นที่ 3 ขั้นเลียนเสียง
ขั้นที่ 4 ขั้นเลียนเสียงได้ถูกต้องยิ่งขึ้น
ขั้นที่ 5 ขั้นเห็นความหมายของเสียงที่เด็ก
เลียน
พัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัย
ในเชิงพฤติกรรม 7 ระยะ
1.ระยะเปะปะ
2.ระยะแยกแยะ
3.ระยะเลียนแบบ
4.ระยะขยาย
5.ระยะโครงสร้าง
6.ระยะตอบสนอง
7.ระยะสร้างสรรค์
บทบาทของผู้ที่เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัย
ต่อพัฒนาการทางภาษา
บทบาทของครูปฐมวัย
-ความรู้ของครู
-เจตคติของครู
-บุคลิกภาพและพฤติกรรมของครู
-ความสามารถในการใช้ภาษา
-การสอนของครู
บทบาทของผู้ที่เกี่ยวข้องกับเด็กปฐมวัย
ต่อพัฒนาการทางภาษา
บทบาทของผู้ปกครอง
- พ่อแม่ควรพูดให้ชัดเจน
- พ่อแม่ควรใช้ภาษาให้เหมาะกับวัยของเด็ก
- พ่อแม่ควรแก้ไขข้อบกพร่องในการออกเสียงของเด็ก
- พ่อแม่ควรให้เวลากับเด็กในการอ่านหนังสือ
จัดสิ่งแวดล้อมให้น่าสนใจ
หลักการและทฤษฎีเกี่ยวกับการเรียนรู้
“การเรียนรู้” ทางจิตวิทยา หมายถึง การเปลี่ยนแปลง
พฤติกรรมของบุคคลอย่างค่อนข้างถาวร อันเป็นผลมา
จากการฝึกฝนหรือการมีประสบการณ์
1.พฤติกรรมที่เปลี่ยนไปจะต้องเปลี่ยนไป
อย่างค่อนข้างถาวร
2.พฤติกรรมที่เปลี่ยนแปลงไปจะต้องเกิดจาก
การฝึกฝนหรือเคยมีประสบการณ์นั้น ๆ
ทฤษฎีการเรียนรู้
1.ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มพฤติกรรมนิยม การเรียนรู้ใน
สิ่งต่าง ๆ เป็นการสร้างความสัมพันธ์หรือเชื่อมโยงระหว่างสิ่ง
เร้า กับการตอบสนอง
2.ทฤษฎีการเรียนรู้กลุ่มปัญญานิยม การเรียนรู้เป็น
ผลของกระบวนการคิด ความเข้าใจ การรับรู้สิ่งเร้าที่มากระตุ้น
ผสมผสานกับประสบการณ์ในอดีตที่ผ่านมาของบุคคล ทาให้
เกิดการเรียนรู้ขึ้น
องค์ประกอบพื้นฐานของการเรียนรู้
1.สมองและระบบประสาท
2.แรงขับ
3.สิ่งเร้า และการจูงใจ
4.การเสริมแรง
การถ่ายโยงการเรียนรู้และปัจจัยที่เกี่ยวข้อง
การถ่ายโยงการเรียนรู้นับว่าเป็นเรื่องสาคัญ
ทางจิตวิทยาโดยเฉพาะหลักการถ่ายโยงการ
เรียนรู้จะมีความสาคัญอย่างมากต่อเรื่องการ
เรียนการสอน
การถ่ายโยงการเรียนรู้
1.การถ่ายโยงทางบวก
2.การถ่ายโยงทางลบ
3.การถ่ายโยงที่ไม่มีผล
พัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัย
3 – 4 ปี
ใช้ภาษาบอกสิ่งที่ต้องการพูดประโยคยาว ๆ ได้
มากขึ้น ชอบฟังนิทาน ชอบเล่นคา ใช้สรรพนามได้
ถูกต้อง บังคับเสียงต่าง ๆ ได้
พัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัย
4 – 5 ปี
เด็กใช้คาว่า “สวัสดี” “ขอบคุณ”ได้ บอกชื่อ
นามสกุลได้ รู้ว่าตัวเองเพศหญิงหรือเพศชาย
ชอบถามทาไม เมื่อไหร่ อย่างไร พูดได้หลายคา
ใช้ประโยคยาว 5-6 คาได้
พัฒนาการทางภาษาของเด็กปฐมวัย
5 – 6 ปี
พูดได้คล่อง สนใจคา ใหม่ๆ บอกที่อยู่
ชื่อ นามสกุล อายุได้ ชอบฟังนิทาน เรื่อง
เล่า จาเรื่องที่ชอบได้ ชอบร้องเพลง จาเนื้อ
เพลงได้
การจัดประสบการณ์สาหรับเด็กปฐมวัย
-พัฒนาการทางร่างกาย
-พัฒนาการทางด้านสติปัญญา
-พัฒนาการทางสังคม
-พัฒนาการทางอารมณ์
จัดประสบการณ์ให้มีความสัมพันธ์
กันทุกอย่าง
การจัดการเรียนรู้และประสบการณ์
ภาษาไทยและภาษาถิ่น
การเรียนรู้ภาษาไทยเป็นพัฒนาการที่สาคัญ
อย่างยิ่งสาหรับเด็กไทย ตามปกติการเรียนรู้
ภาษาจะเริ่มตั้งแต่เกิดและพัฒนาไปจนใช้ภาษา
ได้ดีเมื่ออายุ 5 ปี
กระบวนการจัดการเรียนรู้และประสบการณ์ทางภาษา
1.วางแผนการจัดการเรียนรู้
2.หลักการจัดการเรียนรู้ทางภาษา
3.บทบาทและหน้าที่ของครู
4.การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อการสอนภาษา
ตามธรรมชาติ
กิจกรรมสร้างเสริมประสบการณ์ภาษา
1.ทักษะการฟัง
2.ทักษะการพูด
3.ทักษะการอ่าน
4.ทักษะการเขียน
การจัดการเรียนรู้ประสบการณ์ภาษาอังกฤษ
หรือภาษาที่สองสาหรับเด็กปฐมวัย
วิธีการที่เด็กปฐมวัยจะเรียนรู้ภาษาได้ดี ควร
จัดการเรียนรู้โดยพิจารณาสิ่งต่าง ๆ ดังนี้
1.การสร้างสถานการณ์การเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
หรือภาษาที่สอง
2.การจัดกิจกรรมการเรียนการสอนที่หลากหลาย
3.การสร้างบรรยากาศที่อบอุ่นและมีความสุข
ให้กับเด็ก ๆ
การจัดการเรียนรู้ประสบการณ์ภาษาอังกฤษ
หรือภาษาที่สองสาหรับเด็กปฐมวัย
วิธีการที่เด็กปฐมวัยจะเรียนรู้ภาษาได้ดี ควร
จัดการเรียนรู้โดยพิจารณาสิ่งต่าง ๆ ดังนี้
4.การส่งเสริมให้ผู้เรียนหรือเด็ก ๆ มีโอกาสเรียนรู้
ภาษาอังกฤษ
5.การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
6.การพัฒนาการเรียนรู้ภาษาอังกฤษด้วยกิจกรรม
ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
การประเมินผลการเรียนรู้ภาษาของเด็กปฐมวัย
การประเมินผลพัฒนาการเรียนรู้ของเด็กเป็นหัวใจ
สาคัญและจาเป็นในการจัดกระบวนการเรียนการสอน
การประเมินผลถือเป็นสิ่งสาคัญและจาเป็นต่อตัวครู
ผู้ปกครองและเด็ก สาหรับครู การประเมินผลช่วยให้ครูทราบ
เข้าใจและตระหนักถึงพัฒนาการและการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ
ของเด็กในชั้นของตน เพื่อที่จะนาข้อมูลที่ได้จากการ
ประเมินผลไปใช้ในการวางแผน ปรับปรุงคุณภาพการเรียน
การสอนให้สอดคล้องกับพัฒนาการและวิธีการเรียนรู้ของ
เด็ก
การสอนกับการประเมิน
การประเมินผลการเรียนรู้ภาษาอังกฤษสาหรับเด็ก
ปฐมวัยจาเป็นต้องสอดคล้องกับความต้องการของผู้เรียนตาม
วัย และกระบวนการเรียนการสอนในห้องเรียน
การประเมินผลสะท้อนให้เห็นพัฒนาการความก้าวหน้า
ของเด็กตลอดจนกิจกรรมการเรียนการสอนของครู
จุดมุ่งหมายการประเมินผลการเรียนรู้ภาษาอังกฤษของ
เด็กปฐมวัยเพื่อตรวจสอบพัฒนาการทางด้านภาษาของเด็ก
ไม่ใช่เพื่อการสอนหรือเพื่อฝึกภาษา
เกณฑ์การวัดและการประเมินผล
การวัดและประเมินผลควรกาหนดเกณฑ์ที่
ระบุถึงสิ่งที่เด็กควรทาได้เพื่อแสดงถึงความเข้าใจตาม
ขอบเขตในการวัดและประเมินผลแต่ละครั้ง โดยกาหนด
เป็นการกระทาที่เด็กแสดงความสามารถและพัฒนาการ
ของตนเอง ได้บรรลุตามวัตถุประสงค์ซึ่งเป็นการ
แสดงออกในรูปของพฤติกรรม
วิธีการวัดและประเมินผล
วิธีการวัดและประเมินผลที่เหมาะกับเด็กปฐมวัย
ได้แก่ การวัดและประเมินผลด้วยการใช้กิจกรรมหรือ
งาน อาทิ การให้งานกลับไปทาที่บ้าน แฟ้ มสะสม
ผลงาน การประเมินเพื่อน การประเมินตนเอง การ
บันทึกการสังเกตการพูดคุย ผู้สอนควรประเมิน
มากกว่าหนึ่งวิธีโดยวิธีการทั้งหมดต้องมีความสัมพันธ์
กัน
สื่อการสอนเพื่อพัฒนาทักษะทางภาษาไทย
การสอนแบบธรรมชาติหรือแบบองค์รวมเป็น
การสอนที่มีแนวความคิดว่า เด็กจะพยายามหา
วิธีการที่จะนาเสนอประสบการณ์ของตนผ่านการ
เล่น การลงมือปฏิบัติการสื่อสารในห้องเรียนที่ใช้
วิธีการสอนภาษาอังกฤษแบบธรรมชาติถือว่า
คาตอบของเด็กไม่สาคัญเท่ากับ กระบวนการ
การเรียนรู้และการใช้สื่อด้วย“กรวยประสบการณ์”
1.ประสบการณ์ตรง 2. ประสบการณ์รอง
3.ประสบการณ์นาฎกรรมหรือการแสดง
4.การสาธิต 5.การศึกษานอกสถานที่
6.นิทรรศการ 7.โทรทัศน์ 8.ภาพยนตร์
9.วิทยุ ภาพนิ่ง 10.ทัศนสัญลักษณ์ 11.วจนสัญลักษณ์
เอ็ดการ์ เดล ได้แบ่งลาดับของโสตทัศนวัสุดุตามประสบการณ์โดย
เรียงลาดับประสบการณ์จากรูปธรรมไปสู่นามธรรม โดยผู้เรียนจะเกิด
ประสบการณ์การเรียนรู้มากที่สุดได้จากฐานล่างของกรวย หรือการได้รับ
ประสบการณ์ตรง และเรียนรู้น้อยที่สุดจากวจนสัญลักษณ์
1.ประสบการณ์ตรง
2. ประสบการณ์รอง
3.ประสบการณ์นาฎกรรมหรือการแสดง
4.การสาธิต
5.การศึกษานอกสถานที่
6.นิทรรศการ
11.วจนสัญลักษณ์
ความสาคัญของสื่อในการเรียนภาษาไทย
1.ทาให้เด็กเกิดความสนใจ
2.ช่วยอธิบายความหมายของสิ่งที่ครูจะสอนได้อย่างดี
3.ทาให้เด็กสามารถจดจาความรู้ต่าง ๆ ได้นาน
4.ทาให้เกิดการเรียนรู้ได้รวดเร็ว
5.ทาให้การสอนบทเรียนที่ยากเป็นบทเรียนที่ง่าย
6.ทาให้บรรยากาศในชั้นเรียนมีชีวิตชีวา
การแบ่งประเภทของสื่อการสอน
1.สื่อการสอนประเภทวัสดุ สิ่งที่ช่วยในการสอน
แต่มีการสิ้นเปลืองเมื่อใช้แล้วหมดไป เช่น บัตรคา
ภาพถ่าย
2.สื่อการสอนประเภทอุปกรณ์ สิ่งที่ช่วยในการ
สอนแต่เป็นเครื่องมือ เช่น เครื่องรับวิทยุ เครื่องเล่น
เทป คอมพิวเตอร์
3.สื่อการสอนประเภทวิธีการวิธีการสอนแบบต่าง
ๆ การสาธิต การทดลองบทบาทสมมติ สถานการณ์
จาลอง
ลักษณะสื่อการสอนภาษาไทย
แหล่งวิทยาการที่เป็นบุคคล และสถานที่
ได้แก่
-แหล่งวิทยาการที่มีอยู่แล้วภายในโรงเรียน
-แหล่งวิทยาการที่ได้จากการจัดระบบงานของ
โรงเรียน
-แหล่งวิทยาการที่มีอยู่ในชุมชนหรือท้องถิ่น
-ห้องสมุด
การเลือกใช้สื่อการสอน
1.เลือกและใช้สื่อตามวัตถุประสงค์ทั้งที่เป็น
วัตถุประสงค์ของนักเรียนและวัตถุประสงค์ของผู้สอน
2.เลือกและใช้สื่อโดยพิจารณาความเหมาะสมของ
เนื้อหา
3.เลือกและใช้สื่อตามวิธีการที่ครูได้กาหนดไว้
4.พิจารณาความเหมาะสมของสื่อในด้านที่จะ
นามาใช้ได้ดีในท้องถิ่นที่โรงเรียนตั้งอยู่
แนวทางการใช้สื่อสาหรับเด็กปฐมวัย
1.ธรรมชาติของเด็กปฐมวัยจะตัดสินใจที่จะเล่นมากกว่า
การนั่งฟังการสอนของครู
2.ครูควรใช้สื่อการสอนในทุกครั้งที่เข้าสอน
3.กาหนดวัตถุประสงค์ของการใช้สื่อให้ชัดเจน
4.ครูควรพิจารณาเลือกสื่อหลายประเภท
5.พยายามระลึกอยู่เสมอว่า สื่อเป็นเครื่องมือช่วยเด็กให้
เกิดการเรียนรู้
สื่อการสอนทักษะการฟัง - การพูด
1.เพื่อให้รู้จักการฟัง และเข้าใจความหมายใน
สิ่งที่ฟัง
2.เพื่อให้รู้จักการจับใจความสาคัญของสิ่งที่
ฟังได้
3.เพื่อให้ได้รับความรู้ ความบันเทิงจากสิ่งที่ฟัง
4.เพื่อฝึกให้รู้จักมารยาทในการฟัง มีสมาธิใน
การฟัง
ประเภทสื่อสาหรับการสอนทักษะการฟังและการพูด
1.สื่อที่ใช้เป็นสื่อที่มีเสียง
2.แถบบันทึกเสียง
3.ซีดี-รอม
4.รูปภาพ
5.หนังสือ
สื่อการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการอ่าน
การอ่านทาให้เด็กเกิดการเรียนรู้ รู้จักคา
มากขึ้นมีความเข้าใจในสานวนต่าง ๆ มาก
ยิ่งขึ้น เพราะการอ่านเป็นทักษะที่ช่วยในการ
เรียนรู้ภาษาที่ดีมาก ยิ่งอ่านมากเท่าไหร่ก็จะ
เกิดการสะสมคาสานวนต่าง ๆ มากขึ้น และ
สามารถนาไปใช้ในการพูด การเขียนได้ใน
โอกาสต่อไป
สื่อการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการเขียน
เด็กปฐมวัยในช่วงแรกจะยังไม่สามารถบังคับ
กล้ามเนื้อและยังไม่สามารถประสาน
ความสัมพันธ์ ระหว่างตากับมือในการเขียน
ตัวอักษรได้ ดังนั้นในตอนต้นจะต้องมีการ
พัฒนาการบังคับกล้ามเนื้อขนาดใหญ่ และ
ต่อมาคือการพัฒนากล้ามเนื้อขนาดเล็ก โดย
ผ่านกิจกรรมต่าง ๆ
เชื่อมโยงกับคาว่า “ช้อน” ได้
ได้ฟัง + ได้เห็น, สัมผัส ฯลฯ
ออกเสียง
เข้าใจและพูดคาว่า “ช้อน” ได้
การเรียนรู้ภาษา
กระบวนการเรียนรู้ภาษา
+ +
เสียง + ภาพ(ความหมาย) + สัญลักษณ์
การพูด - การอ่าน การเขียน
ก-า : กา กา
การอ่านและ
การเล่านิทานในเด็ก
R. Plubrukarn QSNIH Dec2005
ประโยชน์ของการเล่านิทานในเด็ก
• ช่วยให้เกิดเพลิดเพลิน
• สนุกสนาน
• พัฒนาความฉลาดทาง
อารมณ์
• ความคิดสร้างสรรค์และ
การแก้ปัญหา
• พัฒนาทักษะภาษา และ
การฟัง
• การจับประเด็นเรื่องราว
• ช่วยเสริมสร้าง
จินตนาการตามเนื้อเรื่อง
• ลดความเครียด ความ
กลัว หรือ ความวิตก
กังวลที่มีในเด็กได้ด้วยR. Plubrukarn QSNIH Dec2005
เทคนิคการเล่านิทาน
• เล่านิทานให้เด็กวัยก่อนเรียน
ฟังทุกวัน อย่างน้อยวันละ 15
นาที
• เลือกช่วงเวลาที่ผ่อนคลาย เช่น
ก่อนนอน หรือ ตอนเย็น
• เล่าด้วยท่าทีสนุกสนาน และ
หาจุดสนใจในเรื่อง
• เลือกหนังสือนิทาน ที่เหมาะสม
• ให้ดูรูปภาพ พร้อมกับให้เด็กชี้
ตาม
• เล่านิทานบางเรื่องที่เด็กชอบ
ซ้าๆ แล้วให้เด็กเล่าเองบ้าง
หรือบางครั้งให้เด็กเติมประโยค
หรือ คาพูดที่ขาดหายไป
• ถ้าเด็กมีจินตนาการที่จะเล่า
เรื่องที่คิดขึ้นได้เอง พ่อแม่ควร
เปิดโอกาสให้เด็กได้เล่า และ
แนะนาเพิ่มเติมให้กับเด็ก
ผิดหรือถูกเกี่ยวกับการอ่านหนังสือ
• การพัฒนาการอ่านหนังสือทา
โดยพ่อแม่อ่านหนังสือให้ฟังทุก
วัน โดยเริ่มตั้งแต่ลูกอายุ 1ปี
ครึ่ง ถูกหรือ ผิด
• การเปิดโทรทัศน์ให้มีเสียงดังไว้
ในบ้านช่วยให้เด็กเล็กๆเรียน
ภาษาและคาพูดได้ดีขึ้น
ถูกหรือ ผิด
• ผิด การอ่านให้เด็กฟัง
ควรเริ่มได้ตั้งแต่เด็ก
อายุประมาณ 6 เดือน
• ผิด การเรียนรู้ภาษา
และคาพูดดีที่สุดจาก
คนต่อคน เสียงจาก
โทรทัศน์ไม่ช่วยพัฒนา
ภาษา
ผิดหรือถูกเกี่ยวกับการอ่าน
• เด็กควรอ่านหนังสือชนิด
หนึ่งให้จบไปก่อนที่จะ
เปลี่ยนไปเรื่องอื่นๆ
• เทคนิคง่ายๆในการอ่าน
เช่น การอ่านดังๆ การอ่าน
มีรูปประกอบ จะช่วยให้
เด็กมีพัฒนาการการอ่านที่
ดีในอนาคต
• ถูกต้อง ควรมีหนังสือที่
เหมาะกับเด็กไว้ในบ้านและ
ให้เด็กอ่านเป็นแต่ละอย่าง
ไป
• ถูกต้อง การใช้เทคนิคง่ายๆ
เช่นการอ่านดังๆไปพร้อมๆ
กันและการสร้างบรรยากาศ
ที่ดีทาให้เด็กมีทัศนคติที่ดี
ต่อการอ่านในอนาคตได้
ผลจากการศึกษาพบว่า
• การอ่านเป็นทักษะที่เกิดจากการเรียนรู้ไม่ได้เป็นสิ่งที่มีมาแต่
กาเนิด
• การอ่านในเด็กเล็กมีความสัมพันธ์กับพัฒนาการภาษา และการ
เรียนรู้คาศัพท์เด็กที่รับรู้ภาษาพูดตั้งแต่อายุ 6 เดือนมีโอกาส
อ่านได้เมื่ออายุ 4-5 ปี(Good Start, Grow Smart)
• ช่วงอายุ 5 ปีแรกมีพัฒนาการด้านภาษา ความคิด อารมณ์
สังคมและการเรียนรู้ที่เป็นพื้นฐานการดารงชีวิตในอนาคต
• ความรู้และเนื้อหาที่เรียนรู้เกี่ยวข้องกับพัฒนาภาษา ความคิด
และทักษะการอ่าน
ผลจากการศึกษาพบว่า
• เด็กวัยก่อนเรียนต้องการการเรียนรู้ที่เตรียมการ
อย่างมีแบบแผน
• บรรยากาศการอ่านที่บ้านและที่โรงเรียนทาให้
พัฒนาภาษาดีขึ้น
• ครูและพ่อแม่ควรพัฒนาตนเองในการเป็น
ตัวอย่างที่ดี
• การพัฒนาภาษามีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับ
พัฒนาการด้านความคิด อารมณ์และสังคม
เทคนิคในการสอนเด็กให้อ่าน
• อ่านออกเสียง (Reading aloud)
• หัดอ่านร่วมกัน (Shared reading)
• ให้เด็กอ่านหนังสือที่ชอบ
• ทดสอบความเข้าใจเนื้อเรื่องหลังการ
อ่าน
สอนเด็กเกี่ยวกับหนังสือ:
• วิธีการจับหนังสืออย่างถูกต้อง
• ให้รู้จักปกหน้า ปกหลัง เริ่มต้นของหน้า
หนังสือ ..จบหน้า
• ชื่อเรื่อง ผู้เขียน
• การอ่านจากซ้ายไปขวา บนลงล่าง
กลยุทธ์ในการอ่านร่วมกันในเบื้องต้น
ก่อนอ่าน
• เปิดดูคร่าวๆก่อนพร้อมกับเด็ก
• ถ้าอ่านเล่มใหม่ให้เด็กเดาจากรูป แล้วถามว่า
น่าจะเป็นเรื่องอะไร เกี่ยวกับอะไร
• รอให้เด็กคิดและตอบ
• ถ้าอ่านแล้วจะอ่านซ้าต้องให้นึกว่ามีอะไรที่เขียน
ไว้บ้าง
กลยุทธ์ในการอ่านร่วมกันในเบื้องต้น
กลยุทธ์ในการพัฒนาการอ่านร่วมกัน
ระหว่างการอ่านหนังสือให้เด็กบอก
เกี่ยวกับสิ่งที่เขาอ่าน ถาม นี่อะไร ที่ไหน
เมื่อไร ทาไม และอย่างไร
• ให้เด็กเติมในบางส่วนของเนื้อเรื่อง เช่นหนู
น้อยหมวกแดงไปเยี่ยมใคร.....
• หนูน้อยหมวกแดงไปเจออะไร.................
กลยุทธ์ในการพัฒนาการอ่านร่วมกัน
• เชื่อมโยงเหตุการณ์ในหนังสือกับชีวิตจริง
จาได้ไหมเมื่อเรา......
หนูเคยเห็นมาสิ่งนี้ก่อนที่ไหน.........
ครั้งสุดท้ายที่หนูรู้สึก..........
สิ่งที่หนูชอบที่สุด........
กลยุทธ์ในการพัฒนาการอ่านร่วมกัน
• ให้เวลาในการตอบสนองจากเด็ก
• ให้ข้อมูลย้อนกลับต่อเด็ก
• ขยายความในสิ่งที่เด็กพูดหรือถาม
สรุป
• การส่งเสริมพัฒนาการทางภาษาในเด็กเป็นสิ่งที่จาเป็นอย่างยิ่ง
โดยเฉพาะเด็กวัยก่อนเรียน
• สื่อต่างๆมีส่วนช่วยในการพัฒนาการทางภาษาเด็กแต่ไม่สาคัญ
เท่ากับความรักความสนใจความเอาใจใส่ของพ่อแม่
• เด็กแต่ละคนมีความแตกต่าง และความถนัดไม่เหมือนกัน การ
ส่งเสริมพัฒนาการที่เหมาะกับคนหนึ่งอาจไม่เหมาะกับเด็กอีก
คนหนึ่ง
• การมีปฏิสัมพันธ์ใกล้ชิดจะทาให้เข้าใจเด็กและพัฒนาเด็กได้
เหมาะสม

More Related Content

What's hot

คำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงาน
คำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงานคำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงาน
คำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงานsomdetpittayakom school
 
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวโครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวsakuntra
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์chaiwat vichianchai
 
โครงการปลูกป่ารักษ์โลกเพื่อตัวเรา
โครงการปลูกป่ารักษ์โลกเพื่อตัวเราโครงการปลูกป่ารักษ์โลกเพื่อตัวเรา
โครงการปลูกป่ารักษ์โลกเพื่อตัวเราพัน พัน
 
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)Muhammadrusdee Almaarify
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานsarawut saoklieo
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapkrupornpana55
 
การเขียนเค้าโครง
การเขียนเค้าโครงการเขียนเค้าโครง
การเขียนเค้าโครงvittaya411
 
แบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทรา
แบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทราแบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทรา
แบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทราบุญรักษา ของฉัน
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์แวมไพร์ แวมไพร์
 
หลักการเขียนวิสัยทัศน์ที่ดี
หลักการเขียนวิสัยทัศน์ที่ดีหลักการเขียนวิสัยทัศน์ที่ดี
หลักการเขียนวิสัยทัศน์ที่ดีDr.Choen Krainara
 
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)Iam Champooh
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานSamorn Tara
 
แผนการเรียนรู้เกษตร1
แผนการเรียนรู้เกษตร1แผนการเรียนรู้เกษตร1
แผนการเรียนรู้เกษตร1juckit009
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่Aj.Mallika Phongphaew
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียพัน พัน
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คtumetr1
 

What's hot (20)

คำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงาน
คำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงานคำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงาน
คำอธิบายรายวิชา การใช้โปรแกรมสำนักงาน
 
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าวโครงงาน เรื่อง มะพร้าว
โครงงาน เรื่อง มะพร้าว
 
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์
รายงานผลการดำเนินงานโครงงานคอมพิวเตอร์ สารคดีพื้นบ้านตามรอยวัฒนธรรมกู่สันตรัตน์
 
โครงการปลูกป่ารักษ์โลกเพื่อตัวเรา
โครงการปลูกป่ารักษ์โลกเพื่อตัวเราโครงการปลูกป่ารักษ์โลกเพื่อตัวเรา
โครงการปลูกป่ารักษ์โลกเพื่อตัวเรา
 
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสามารถดีวิทยา(1)
 
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงานใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
ใบความรู้ที่ 4 เรื่อง การวางแผนการทำโครงงาน
 
ใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind mapใบงานที่ 1 mind map
ใบงานที่ 1 mind map
 
การเขียนเค้าโครง
การเขียนเค้าโครงการเขียนเค้าโครง
การเขียนเค้าโครง
 
แบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทรา
แบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทราแบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทรา
แบบสอบถามสภาพปัญหารร.ฉะเชิงเทรา
 
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
สมุดบันทึกกิจกรรม ทัศนะศึกษาสัปดาห์วิทยาศาสตร์
 
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2 งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
งานนำเสนอแรงจูงใจ กลุ่ม 2
 
หลักการเขียนวิสัยทัศน์ที่ดี
หลักการเขียนวิสัยทัศน์ที่ดีหลักการเขียนวิสัยทัศน์ที่ดี
หลักการเขียนวิสัยทัศน์ที่ดี
 
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
ISโครงการจิตอาสาพัฒนาวัดบ้านเรา(ใหม่)
 
แบบสอบถาม
แบบสอบถามแบบสอบถาม
แบบสอบถาม
 
ตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงานตัวอย่าง ปกรายงาน
ตัวอย่าง ปกรายงาน
 
แผนการเรียนรู้เกษตร1
แผนการเรียนรู้เกษตร1แผนการเรียนรู้เกษตร1
แผนการเรียนรู้เกษตร1
 
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
บทที่ 4 การจัดการองค์การสมัยใหม่
 
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสียปัญหาน้ำเน่าเสีย
ปัญหาน้ำเน่าเสีย
 
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็คตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
ตัวอย่างสารบัญ เล่มโปรเจ็ค
 
ระเบียบวาระการประชุม
ระเบียบวาระการประชุมระเบียบวาระการประชุม
ระเบียบวาระการประชุม
 

Viewers also liked

Viewers also liked (8)

Succeed with mathematical games
Succeed with mathematical gamesSucceed with mathematical games
Succeed with mathematical games
 
SMJERNICE o djelovanju centara za pruanje usluga socijalne skrbi dnevnog zbri...
SMJERNICE o djelovanju centara za pruanje usluga socijalne skrbi dnevnog zbri...SMJERNICE o djelovanju centara za pruanje usluga socijalne skrbi dnevnog zbri...
SMJERNICE o djelovanju centara za pruanje usluga socijalne skrbi dnevnog zbri...
 
Praveen
PraveenPraveen
Praveen
 
Conference proposal VAASL.org
Conference proposal VAASL.orgConference proposal VAASL.org
Conference proposal VAASL.org
 
Squares Review Flashcards
Squares Review FlashcardsSquares Review Flashcards
Squares Review Flashcards
 
Rodrigo d no futuro
Rodrigo d no futuro Rodrigo d no futuro
Rodrigo d no futuro
 
Yasre
Yasre Yasre
Yasre
 
Psychology5
Psychology5Psychology5
Psychology5
 

Similar to 1

Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...aphithak
 
การพิจารณาในมุมกว้าง
การพิจารณาในมุมกว้างการพิจารณาในมุมกว้าง
การพิจารณาในมุมกว้างnattaya
 
9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610CUPress
 
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1chartphysic
 
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่านคู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่านTeacher Sophonnawit
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่านcandy109
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001Thidarat Termphon
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาพัน พัน
 
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...aphithak
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาPonpirun Homsuwan
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบปNamfon Wannapa
 
สุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาสุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาEkarach Inthajan
 
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03Chaichan Boonmak
 

Similar to 1 (20)

ปฐมวัย
ปฐมวัยปฐมวัย
ปฐมวัย
 
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
Chapter การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดยใช้เ...
 
3 lang
3 lang3 lang
3 lang
 
การพิจารณาในมุมกว้าง
การพิจารณาในมุมกว้างการพิจารณาในมุมกว้าง
การพิจารณาในมุมกว้าง
 
9789740335610
97897403356109789740335610
9789740335610
 
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
แผนการเรียนรู้ ภาษาอังกฤษแผนที่1
 
Wordpress2
Wordpress2Wordpress2
Wordpress2
 
Week 3 of TTFL
Week 3 of TTFLWeek 3 of TTFL
Week 3 of TTFL
 
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่านคู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
คู่มือหนังสือส่งเสริมการอ่าน
 
การอ่าน
การอ่านการอ่าน
การอ่าน
 
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
ภาษาไทย ม.ปลาย พท31001
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...Chapter 2   การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
Chapter 2 การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4 โดย...
 
ธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษาธรรมชาติของภาษา
ธรรมชาติของภาษา
 
สรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติวสรุปเนื้อหา ติว
สรุปเนื้อหา ติว
 
บทท 3-6 กศบป
บทท   3-6 กศบปบทท   3-6 กศบป
บทท 3-6 กศบป
 
ก่อนเรียน
ก่อนเรียนก่อนเรียน
ก่อนเรียน
 
1 ก่อนเรียน(1-4)
1 ก่อนเรียน(1-4)1 ก่อนเรียน(1-4)
1 ก่อนเรียน(1-4)
 
สุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนาสุนทรียสนทนา
สุนทรียสนทนา
 
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03 ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
ม.ปลาย ภาษาไทย_ระดับภาษา 03
 

1