SlideShare a Scribd company logo
ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์
มโนทัศน์พื้นฐานในระบบไวยากรณ์
BASIC CONCEPTS IN THE GRAMMATICAL SYSTEM
ระบบไวยากรณ์ : ส่วนหนึ่งของภาษา
ระบบเสียง
ระบบไวยากรณ์
ระบบความหมาย
ความเกี่ยวพันของระบบเสียง ระบบไวยากรณ์ และระบบความหมาย
ระบบเสียง ระบบไวยากรณ์ และระบบความหมายมีความ
เกี่ยวพันกัน และในการใช้ภาษาเพื่อการสื่อสารมนุษย์ต้องพึ่งทั้ง
สามระบบ ไม่ใช้ระบบใดระบบหนึ่งเท่านั้น
อย่างไรก็ตามนักภาษาศาสตร์มักศึกษาแต่ละระบบแยกจากกัน
เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ภาษาให้ลึกซึ้งมากที่สุดเท่าที่จะทาได้
ไวยากรณ์
วิทยาหน่วยคา
(morphology)
วากยสัมพันธ์
(syntax)
ประโยค (Sentense)
ย่อหน้า (Paragraph)
ข้อความต่อเนื่อง (Text)
สัมพันธสาร (Discourse)
การวิเคราะห์ไวยากรณ์
การวิเคราะห์สัมพัน
ธสาร
(Discourse Analysis)
มีความเข้าใจที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ
ไวยากรณ์
คานี้มีผู้ใช้ในความหมายต่างๆ กัน
หลายความหมาย
ปัญหาเกี่ยวกับคาว่า “ไวยากรณ์”
ไวยากรณ์ =
Grammar
1
2
ความหมายหลายนัยของคาว่า “ไวยากรณ์”
Grammar
ตาราหรือหนังสือไวยากรณ์
ระบบหรือองค์ประกอบของภาษาที่
ไม่ใช่เสียง หรือความหมาย
ทฤษฎีภาษาใดภาษาหนึ่ง
1
2
3
ความหมายเข้าใจที่ไม่ถูกต้องเกี่ยวกับคาว่า “ไวยากรณ์”
ไวยากรณ์กับความถูกผิดในการใช้ภาษา
“ถ้าจะรู้ภาษาใดภาษาหนึ่งก็ต้องรู้ไวยากรณ์ของภาษานั้น” เป็ นผลมา
จากความเชื่อที่ว่ากฎไวยากรณ์คือ กฎบรรทัดฐาน (normative rules)
ของภาษา คือกฎที่บอกว่าเราควรพูดและเขียนอย่างไร
ไวยากรณ์ควรเป็ นกฎที่บอกว่าเราควรพูดอย่างไร ไม่ใช่บอกว่าเราควร
พูดอย่างไร กล่าวคือควรเป็ นแบบพรรณนา (descriptive) ไม่ใช่แบบ
บังคับใช้ (prescriptive)
ภาษาแต่ละภาษาควรจะมีไวยากรณ์ของตนเอง
และวิเคราะห์จากภาษานั้น
ภาษาที่ถูกต้องไม่จาเป็ นต้องเป็ นภาษาที่ถูกต้องตามตรรกวิทยา
ภาษาถิ่นไม่ใช่ภาษาที่ผิดหรือเสื่อม
ภาษาที่ถูกไวยากรณ์สมัยหนึ่งอาจจะผิดไวยากรณ์ในอีกสมัยหนึ่ง
“ระบบ” กับไวยากรณ์
ระบบ (system) เป็ นมโนทัศน์พื้นฐานหนึ่งในการวิเคราะห์ไวยากรณ์
ควบคู่กับโครงสร้าง (structure) และหน้าที่ (function)
ระบบ = หน่วยต่างๆ ที่รวมกันเป็ นหนึ่ง มีความสัมพันธ์กัน ถ้าเรามี
หน่วยหรือส่วนมูลฐาน (elements) ต่างๆ และหน่วยต่างๆ เหล่านั้น
ไม่ได้อยู่อย่างอิสระแต่สัมพันธ์กัน เราก็จะได้ระบบ ความสัมพันธ์อาจ
อยู่ในรูปของการมีความเหมือนกัน ต่างกัน หรือมีลักษณะร่วมกัน
บางอย่าง
กลุ่มที่ 1 1 3 7 2 5 9
กลุ่มที่ 2 1 2 4 8 16
32
กลุ่มที่ 3 1 3 5 7 9 11
ภาษาเป็ นระบบ ระบบเสียงประกอบด้วยส่วนต่างๆ เช่น หน่วย
เสียงจานวนหนึ่ง และจานวนเสียงแต่ละหน่วยเสียงมีความสัมพันธ์กัน
วัด / wàt/ w + a +` + t
ระบบไวยากรณ์ ประกอบด้วยหน่วยย่อยหลายระบบ และในแต่
ละระบบย่อยต่างๆ ก็มีส่วนประกอบที่สัมพันธ์กัน
“โครงสร้าง” กับไวยากรณ์
โครงสร้าง (structure) = ความสัมพันธ์ของส่วนต่างๆ ที่ประกอบกัน
เป็ นบางสิ่งบางอย่างที่ซับซ้อน หรือหมายถึงกรอบ แกนกลาง หรือ
องค์ประกอบที่ขาดไม่ได้ของบางสิ่งบางอย่าง
ความสัมพันธ์เชิงโครงสร้าง หรือ ความสัมพันธ์
แนวนอน (syntagmatic relationship)
(1) ใจดี
ดีใจ
(2) บ้านนก
นกบ้าน
(3) The man
* man the
ทฤษฎีไวยากรณ์ที่ต่างกันจะมีการเน้นโครงสร้างต่างกัน
ทฤษฎีไวยากรณ์ที่ให้ความสาคัญแก่โครงสร้างเป็ นพิเศษ และใช้
ประโยชน์จากโครงสร้างในการพรรณนาภาษา เรียกว่า ไวยากรณ์
โครงสร้าง (Structural Grammar) ต่างจาก ไวยากรณ์ดั้งเดิม
(Traditional Grammar)
การวิเคราะห์หน่วยประชิด (Intermediate Constituent
Analysis หรือ IC Analysis)
กรอบทดสอบ (test frame)
ชาร์ลส ฟรีส (1952)
ไวยากรณ์ดั้งเดิม ให้คาจากัดความคานามว่าคือ “ชื่อคน สัตว์
สิ่งของ และสถานที่”
blue
a blue tie
ฟรีส แบ่งคาหลักออกเป็ น 4 ชนิด ได้แก่ nouns, verbs,
adjectives และ adverbs
คาแต่ละชนิดสามารถปรากฏตามกรอบโครงสร้างต่างๆ เช่น
คาชนิดที่ 1 (Word class 1)
The________
__________s
A_________
** คาที่จะปรากฏในกรอบเหล่านี้ได้คือ คานาม
การวิเคราะห์ประโยค
“The concert may be good”
Group Class Group Class Class
A 1 B 2 3
The concert may be good
“หน้าที่” กับไวยากรณ์
หน้าที่ (function) เป็ นอีกมิติหนึ่งของความสัมพันธ์ในไวยากรณ์
หน้าที่หมายถึงบทบาทของหน่วยแต่ละหน่วยในประโยค
น้องกินข้าวแล้ว
น้อง เป็ นประธาน
กิน เป็ นภาคแสดง
ข้าว เป็ นกรรมของประโยค (นับเป็ นส่วนของภาคแสดงได้)
แล้ว เป็ นส่วนขยายภาคแสดง
หน้าที่เกี่ยวกันกับโครงสร้างอย่างแน่นแฟ้ น
หน้าที่เป็ นตัวทาให้ความสัมพันธ์ทางโครงสร้างมีความหมาย หรือเป็ นผู้
กาหนดบทบาทของแต่ละหน่วยที่สัมพันธ์กันในประโยค นักไวยากรณ์
โครงสร้างบางท่านใช้หน้าที่เป็ นหลักในการกาหนดโครงสร้างของประโยค
เช่น
วิจินตน์ ภานุพงศ์ (2520)
ป ส ต
เพื่อน จะขอยืม รถคันนี้
ต ป ส
รถคันนี้ เพื่อน จะขอยืม
ร ป ท ต
รถคันนี้ คนรถ ยังไม่ได้ เติมน้ามัน
เน้นการใช้ภาษาตามธรรมชาติ ภาษามีไว้เพื่อทาหน้าที่สนองความ
จาเป็ นของมนุษย์ หรือมนุษย์ใช้ภาษาในหน้าที่ที่ต่างๆกัน
การใช้ภาษาตามความมุ่งหมาย เช่น เพื่อแสดงความเข้าใจ
สภาพแวดล้อม หรือเล่าประสบการณ์ และเพื่อโต้ตอบกับผู้อื่น
ระบบภาษาของเราต้องอธิบายแต่ละส่วนประกอบในเชิงหน้าที่สัมพันธ์
กันทั้งระบบอย่างไร
ฮัลลิเดย์ (Halliday)
ไวยากรณ์หน้าที่ (Functional Grammar)

More Related Content

What's hot

กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
Nongkran_Jarurnphong
 
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษวิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
Aoyly Aoyly
 
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตกแบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
peter dontoom
 

What's hot (20)

บทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียงบทที่ 5 ระบบเสียง
บทที่ 5 ระบบเสียง
 
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิตภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสารของม.ราชภัฎสวนดุสิต
 
แบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษาแบบทดสอบเสียงในภาษา
แบบทดสอบเสียงในภาษา
 
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำแบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
แบบทดสอบ องค์ประกอบของพยางค์และคำ
 
การสร้างคำ
การสร้างคำการสร้างคำ
การสร้างคำ
 
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
คำที่มีอักษรไม่ออกเสียง ป.3
 
ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2ระดับภาษา 2
ระดับภาษา 2
 
66 (1)
66  (1)66  (1)
66 (1)
 
รายงาน การประสมวงดนตรีสากล
รายงาน การประสมวงดนตรีสากลรายงาน การประสมวงดนตรีสากล
รายงาน การประสมวงดนตรีสากล
 
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
1 ธรรมชาติและพลังของภาษาไทย(5-34)
 
บทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนาบทที่ 6 การสนทนา
บทที่ 6 การสนทนา
 
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
แบบฝึกทักษะการอ่านคิดวิเคราะห์ และวิจารณ์ กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ชั้นมัธ...
 
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมารงานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
งานนำเสนอ มหาเวสสันดรชาดก กันฑ์กุมาร
 
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
ใบความรู้ลักษณะเฉพาะของภาษาไทยการสร้างคำ
 
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
 คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
คำราชาศัพท์ที่ใช้มากที่สุดในชีวิตประจำวัน
 
องค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตรองค์ประกอบของหลักสูตร
องค์ประกอบของหลักสูตร
 
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
กาพย์ยานี11และโคลงสี่สุภาพ [โหมดความเข้ากันได้]
 
คำอุทาน
คำอุทานคำอุทาน
คำอุทาน
 
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษวิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
วิเคราะห์ ป.๒ อังกฤษ
 
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตกแบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
แบบทดสอบวิชาดนตรี เรื่องยุคสมัยของดนตรีตะวันตก
 

More from Wilawun Wisanuvekin

More from Wilawun Wisanuvekin (11)

พยางค์
พยางค์พยางค์
พยางค์
 
การพูดในสังคม
การพูดในสังคมการพูดในสังคม
การพูดในสังคม
 
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูดกระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
กระบวนการพัฒนาทักษะการพูด
 
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทยหน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
หน่วยที่ 6 ภาษาอังกฤษในภาษาไทย
 
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทยหน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
หน่วยที่ 5 ภาษาจีนในภาษาไทย
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2หน่วยที่ 4  ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 2
 
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
หน่วยที่ 4 ภาษาเขมรในภาษาไทย 1
 
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทยหน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
หน่วยที่ 3 ภาษาบาลีและสัสกฤตในภาษาไทย
 
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศหน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
หน่วยที่ 2 สาเหตุการยืมภาษาต่างประเทศ
 
การนำเสนอสารด้วยการเขียน
การนำเสนอสารด้วยการเขียนการนำเสนอสารด้วยการเขียน
การนำเสนอสารด้วยการเขียน
 
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสารความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการสื่อสาร
 

บทที่ 3 ไวยากรณ์กับภาษาศาสตร์