SlideShare a Scribd company logo
บทที่ 3
การเริ่มต้นโครงการซอฟต์แวร์
อ.ศันสนีย์ เลี้ยงพานิชย์
โปรแกรมวิชาวิทยาการสารสนเทศ
1
เนื้อหา
แนวทางการเกิดโครงการ
การศึกษาความเป็นไปได้
การคัดเลือกโครงการ
กิจกรรมการเริ่มต้นโครงการซอฟต์แวร์
2
แนวทางการเกิดโครงการ
โครงการที่เกิดจากปัญหาในการดาเนินงาน
โครงการเกิดจากความต้องการพัฒนาตามนโยบายขององค์กร
3
การศึกษาความเป็นไปได้
ความเป็นไปได้ด้านเทคนิค
ความเป็นไปได้ด้านการปฏิบัติงาน
ความเป็นไปได้ด้านเศรษฐศาสตร์
ความเป็นไปได้ด้านเวลา
ความเป็นไปได้ด้านอื่นๆ เช่น ความเป็นไปได้ด้านการเมือง สังคม สิ่งแวดล้อม
4
การคัดเลือกโครงการ
แนวทางการคัดเลือกโครงการ
➢ เลือกโครงการที่สามารถแก้ปัญหาหน่วยงานในองค์กรได้จริง
➢ เลือกโครงการที่มีความสอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์ หรือนโยบายขององค์กร
➢เลือกโครงการที่มีความเป็นไปได้ในการดาเนินการให้เสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนด
➢ เลือกโครงการที่ให้ผลตอบแทนคุ้มค่าที่สุด โดยอาจพิจารณาจากการวิเคราะห์ความคุ้มค่าในการลงทุน
➢เลือกโครงการที่ไม่ส่งผลกระทบกับสภาพแวดล้อม สังคม การเมือง
➢ในกรณีที่เป็นโครงการซอฟต์แวร์ การพิจารณาเลือกโครงการที่สามารถเข้ากันได้กับระบบงานเดิม เช่น สามารถใช้งานฮาร์ดแวร์ และ
ซอฟต์แวร์ ร่วมกับระบบเดิมที่ใช้อยู่ในปัจจุบันได้
ในการคัดเลือกโครงการ ผู้บริหารองค์กรควรมีการแต่งตั้งคณะกรรมการหรือทีมงานคัดเลือกโครงการ มีการประชุมเพื่อสรุปแนวทางหรือ
เกณฑ์ที่จะใช้ในการคัดเลือกโครงการให้ชัดเจน ซึ่งขึ้นอยู่กับสภาพแวดล้อมความเหมาะสมและความต้องการขององค์กร ก่อนที่จะทาการ
พิจารณาคัดเลือก
5
กระบวนการคัดเลือกโครงการ
ตัวแบบการคัดโครงการออก(screening model)
ตัวแบบการประเมินผล(evaluation model)
ตัวแบบการพิจารณาอนุมัติงบประมาณ (portfolio model)
ตัวแบบกลุ่มและองค์กร(group and organizational model)
กระบวนการคัดเลือกโครงการ
ตัวแบบการคัดโครงการออก(screening model)
เป็นการหาข้อมูลขั้นต้นสาหรับแยกโครงการต่างๆที่เสนอเข้ามา ประกอบด้วย 4
ตัวแบบ ดังนี้
1. ตัวแบบลักษณะ (profile model)
2. ตัวแบบการตรวจสอบรายการ (checklist model)
3. ตัวแบบการให้คะแนน (scoring model)
ตัวแบบการคัดโครงการออก(screening model)
1. ตัวแบบลักษณะ (profile model)
เป็นการประเมินเชิงคุณภาพโดยบุคคลหรือกลุ่มบุคคล
◦ รูปแบบง่าย สะดวกในการนาไปใช้
◦ ไม่เป็นตัวเลขแต่ใช้เปรียบเทียบโครงการได้
◦ ไม่ช่วยให้ทราบว่าเกณฑ์ใดอาจนามาทดแทนกันได้
ตัวอย่างตัวแบบลักษณะ(profile model)
ตัวแบบการคัดโครงการออก(screening model)
ตัวอย่างตัวแบบการตรวจสอบรายการ(checklist
model)
ตัวแบบการคัดโครงการออก(screening model)
ตัวอย่างตัวแบบการให้คะแนน(scoring model)
ข้อดี ข้อเสียของตัวแบบคัดโครงการออก
ข้อดี
คัดโครงการที่ต้องการน้อยที่สุดออกไป เป็นการลดจานวนโครงการเพื่อนาไปสู่ตัวแบบ
การประเมินผล
ใช้ง่าย เสียค่าใช้จ่ายน้อย
ข้อเสีย
ไม่สามารถนาเสนอข้อมูลได้อย่างลึกซึ้ง
ใช้ได้เฉพาะบางสถานการณ์
ตัวแบบการประเมินผล(evaluation model)
ตัวแบบดัชนีทางเศรษฐศาสตร์ (economic index model)
◦ ผลตอบแทนจากการลงทุน (return on investment : ROI)
◦ อัตราผลตอบแทนเงินทุน (return on capital method : ROC)
◦ ระยะเวลาคืนทุน (Payback Period)
◦ มูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net present value : NPV)
◦ อัตราผลตอบแทนจากโครงการลงทุน (Internal rate of return : IRR)
ระยะเวลาคืนทุน
17
ระยะเวลาคืนทุน = เงินลงทุนครั้งแรก / รายรับสุทธิต่อปี
จะใช้ในกรณีที่รายรับสุทธิเท่ากันทุกปี
18
ระยะเวลาคืนทุน
ระยะเวลาคืนทุน = จานวนปีก่อนคืนทุน + (รายรับสุทธิส่วนที่เหลือ / รายรับสุทธิทั้งปี)
ใช้ในกรณีที่รายรับสุทธิแต่ละปีไม่เท่ากัน
19
20
1 ปี เท่ากับ 12 เดือน
0.4 ปี เท่ากับ 12 x 0.4 =4.8 เดือน
การหามูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net present value :
NPV)
จะช่วยให้ผู้บริหารองค์กรสามารถตัดสินใจได้ว่าจะยอมรับการลงทุนในโครงการที่พิจารณาหรือไม่ การหา
มูลค่าปัจจุบันสุทธิสามารถหาได้จากสูตร
NPV = PV - I
PV = มูลค่าปัจจุบันของกระแสเงินสุทธิตลอดอายุโครงการลงทุน (ดูได้จากตาราง PVIFA)
I = เงินลงทุนเริ่มแรก
21
การหามูลค่าปัจจุบันสุทธิ (Net present value :
NPV)
➢การพิจารณาค่า NPV
➢หากค่า NPV มีค่าเป็นบวก ควรยอมรับการลงทุนในโครงการนั้นเนื่องจากผลตอบแทนจากการลงทุนมี
มากกว่า
➢แต่หากค่า NPV มีค่าเป็นลบควรปฏิเสธการลงทุนเนื่องจากผลตอบแทนจากการลงทุนมีน้อยกว่า แต่
ถ้า NPV มีค่าเท่ากับศูนย์ แสดงว่า คุ้มทุนพอดี ควรพิจารณาจากปัจจัยอื่นนอกเหนือจากเรื่องเงิน
22
23
pv = กระแสเงินสดรับ x ค่าจากตาราง pvifa
อัตราผลตอบแทนจากโครงการลงทุน(Internal rate of
return : IRR)
➢เป็นอัตราผลตอบแทนของโครงการลงทุนที่ทาให้ค่า PV ของกระแสเงินสดรับสุทธิมีค่าเท่ากับเงินลงทุน
หรืออาจกล่าวได้ว่า NPV มีค่าเท่ากับ 0
➢การพิจารณาโครงการจากค่า IRR หากค่า IRR ที่คานวณได้มีค่าเกินกว่าอัตราผลตอบแทน ควร
ยอมรับโครงการลงทุน
24
25
NPV = PV-I
0 = PV-I
ดังนั้น PV = I
26
27
ตาราง PVIFA
อัตราผลตอบแทนเงินทุน(return on capital method : ROC)
อัตราผลตอบแทนเงินทุนสุทธิ
Net ROC = กาไรเฉลี่ยหลังหักภาษีและดอกเบี้ยต่อปี x100%
เงินลงทุนทั้งหมด
อัตราผลตอบแทนเงินทุนรวม
Gross ROC = กาไรเฉลี่ยก่อนหักภาษีและดอกเบี้ยต่อปี x100%
เงินลงทุนทั้งหมด
ตัวอย่างข้อมูลการลงทุนและผลกาไร
ปี เงินลงทุน กาไรก่อนหักภาษี
และดอกเบี้ย
กาไรหลังหัก
ภาษีและ
ดอกเบี้ย
0 25000
1 7000 4700
2 7500 5000
3 8500 5600
4 8800 6000
5 9000 6100
รวม 25000 40800 27400
ค่าเฉลี่ยต่อปี 8160 5480
อัตราผลตอบแทนเงินทุนสุทธิ =
5480*100 = 21.92 %
25000
อัตราผลตอบแทนเงินทุนรวม =
8160*100 = 32.64 %
25000
Q&A
30
กิจกรรมการเริ่มต้นโครงการซอฟต์แวร์
1. การพัฒนาโปรเจ็คชาร์เตอร์
2. การกาหนดขอบเขตโครงการ
3. การกาหนดวัตถุประสงค์โครงการ
4. การประมาณการแรงงานเบื้องต้น
5. ประมาณการต้นทุนเบื้องต้น
6. การประมาณการตารางงานเบื้องต้น
31
การพัฒนาโปรเจ็คชาร์เตอร์
➢ โปรเจ็คชาร์เตอร์ (Project charter) เป็นเอกสารหลักที่ผ่านการตรวจสอบอย่างเป็นทางการโดยผู้ให้การ
สนับสนุน จะใช้เพื่อเป็นเอกสารยืนยันโครงการกับผู้จัดการโครงการให้มีสิทธิ์ใช้ทรัพยากรต่าง ๆ ในการดาเนิน
โครงการ โปรเจ็คชาร์เตอร์ส่วนใหญ่จะพัฒนามาจากเอกสารสัญญา ข้อตกลง ปัจจัยภายในองค์กร ทรัพยากร
ของบริษัท
➢ วัตถุประสงค์ในการพัฒนาโปรเจ็คชาร์เตอร์
➢ การจัดทามูลค่าการวัดของโครงการให้เป็นเอกสาร,
➢ การกาหนดโครงสร้างพื้นฐานของโครงการ,
➢ การสรุปรายละเอียดแผนโครงการ,
➢ การกาหนดความรับผิดชอบของผู้ที่เกี่ยวข้อง,
➢ การกาหนดทรัพยากรโครงการที่จาเป็นต้องใช้
➢ และการกาหนดวิธีการควบคุมโครงการ
32
องค์ประกอบของโปรเจ็คชาร์เตอร์
1. ชื่อโครงการ
2. ผู้ที่เกี่ยวข้องกับโครงการ
3. คาอธิบายโครงการ
4. มูลค่าขององค์กรที่สามารถวัดได้
5. ขอบเขตโครงการ
6. ตารางเวลาดาเนินงานโครงการ
7. งบประมาณในการดาเนินงานโครงการ
33
องค์ประกอบของโปรเจ็คชาร์เตอร์
7. เนื้อหาด้านคุณภาพที่ต้องการ
8. ทรัพยากรที่ใช้ในการดาเนินงานโครงการ
9. สมมติฐานและความเสี่ยง
10. การบริหารโครงการ
11. การยอมรับและการรับรอง
12. เอกสารอ้างอิง
13. คาศัพท์
14. ภาคผนวก
34
35
การกาหนดขอบเขตงานโครงการ
➢ขอบเขตงานโครงการ (Project scope) หมายถึง กรอบงานหรือกิจกรรมทั้งหมดที่เกี่ยวข้อง
กับการดาเนินงานโครงการ
➢ขอบเขตงานจะเป็นตัวกาหนดปัจจัยอื่น ๆ ที่จะตามมา เช่น ระยะเวลา การใช้ทรัพยากร และ
ปัจจัยด้านคุณภาพ
➢หากกาหนดขอบเขตงานโครงการไม่ดีจะส่งผลให้การวางแผนและการดาเนินงานอาจเกิด
ความผิดพลาด ซึ่งอาจทาให้โครงการไม่บรรลุตามเป้าหมาย หรือไม่ตอบสนองความต้องการของ
ผู้ใช้งาน
➢ดังนั้นจึงควรกาหนดขอบเขตงานให้ชัดเจน
36
กระบวนการบริหารขอบเขตงานโครงการ
1. การวางแผนขอบเขต
2. การกาหนดขอบเขตงาน
3. การสร้างโครงสร้างจาแนกงาน
4. การตรวจสอบขอบเขตงาน
5. การควบคุมการเปลี่ยนแปลงขอบเขตงาน
37
1.การวางแผนขอบเขต
➢การวางแผนขอบเขตงาน (scope planning) เป็นการรวบรวมข้อมูลจากโปรเจ็คชาร์เตอร์
ข้อกาหนดขอบเขตงานเบื้องต้น เพื่อที่จะสร้างแผนการบริหารขอบเขตงานโครงการ ซึ่งเป็น
ผลลัพธ์ที่ต้องการในขั้นตอนนี้
➢แผนการบริหารขอบเขตงานโครงการจะอธิบายว่าเราควรเตรียมข้อกาหนดขอบเขตโครงการ
อย่างไร จะสร้างโครงสร้างจาแนกงานได้อย่างไร มีการตรวจสอบขอบเขตงาน และการควบคุม
การเปลี่ยนแปลงได้อย่างไร
38
39
2.การกาหนดขอบเขตงาน
➢การกาหนดขอบเขตงาน (Scope definition) การนิยามขอบเขตงานเป็นกิจกรรมที่ต้องดาเนินการหลังจากที่ได้
วางแผนขอบเขตเรียบร้อย
➢การนิยามขอบเขตงาน เป็นการแบ่งงานหลัก ๆ ในโครงการให้ย่อยลงจนสามารถมองเห็นรายละเอียดได้ว่าจะต้อง
ทาอะไรบ้าง ซึ่งโดยทั่วไปแล้ว ทีมงานโครงการมักจะจัดทารายละเอียดเหล่านี้ให้อยู่ในรูปของโครงสร้างกิจกรรมย่อย
การกาหนดขอบเขตงานโครงการที่ชัดเจนจะทาให้สามารถจัดสรรทรัพยากรในการดาเนินงานโครงการได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ
➢ผลลัพธ์ของการกาหนดขอบเขตโครงการ คือ ข้อกาหนดขอบเขตโครงการ
40
2.การกาหนดขอบเขตงาน
➢ข้อกาหนดขอบเขตโครงการ
➢ควรมีคาอธิบายโครงการ วัตถุประสงค์ คุณลักษณะของผลลัพธ์ที่ต้องการจากการดาเนินโครงการ
➢ควรกาหนดเงื่อนไขความสาเร็จของโครงการและอ้างอิงถึงเอกสารหลักฐานที่เกี่ยวข้อง
➢ข้อกาหนดขอบเขตโครงการจะเป็นเอกสารสาคัญในการสร้างความเข้าใจระหว่างผู้พัฒนาหรือทีมงานและลูกค้าใน
การพัฒนางานโครงการให้ได้ตามขอบเขตที่กาหนด เพราะข้อกาหนดขอบเขตโครงการนี้จะมีการอธิบายรายละเอียด
ของงานแต่ละงานที่ต้องทาให้สาเร็จ เป็นการป้องกันการขยายขอบเขตงาน
41
42
3. โครงสร้างจาแนกงาน
➢โครงสร้างจาแนกงาน (Work breakdown structure : WBS) เป็นการจัดกลุ่มกิจกรรมที่อยู่
ในโครงการทั้งหมดเพื่อแสดงให้เห็นขอบเขตงานโครงการ โดยกิจกรรมต่าง ๆ ที่กาหนดสามารถ
แตกกระจายเป็นกิจกรรมย่อย ๆ ในระดับต่าง ๆ ที่ลึกลงไปได้ ซึ่งจะแสดงให้เห็นถึงรายละเอียด
ของงานหรือกิจกรรมที่ต้องทาทั้งหมด
➢โครงสร้างจาแนกงาน จัดเป็นเอกสารเบื้องต้นชิ้นหนึ่งในการบริหารจัดการโครงการ เนื่องจาก
เอกสารดังกล่าวจะแสดงหลักเกณฑ์ในการวางแผนและการบริหารจัดการตารางเวลา ต้นทุน
ทรัพยากร และเหตุการณ์ที่เปลี่ยนแปลงไปของโครงการ โครงสร้างจาแนกงานที่ดีควรจะแสดง
กิจกรรมที่จาเป็นต้องทาทั้งหมดของโครงการ กิจกรรมใดที่ไม่จาเป็นต่อการดาเนินโครงการไม่
ควรถูกแสดงไว้ในโครงสร้างจาแนกงานนี้
43
44
45
46
47
➢ การใช้แนวทาง (Using guidelines) เป็นวิธีการสร้างโครงสร้างการจาแนกงานตามแนวทางในการดาเนินงาน
โครงการหรือกิจกรรมต่าง ๆ ที่มีอยู่แล้ว
➢ วิธีการเปรียบเทียบ (The analogy approach) เป็นการศึกษาข้อมูลโครงสร้างการจาแนกงานจากโครงการเก่า
ที่เคยทามาแล้วและมีลักษณะใกล้เคียงกันกับโครงการที่กาลังพิจารณาอยู่ นามาเป็นจุดเริ่มต้นในการสร้าง
โครงสร้างการจาแนกงาน
➢ วิธีการจากระดับบนลงล่าง (The top-down approach) มองภาพกิจกรรมกว้าง ๆ หรือกิจกรรมที่มีขนาดใหญ่
ที่สุดก่อน แล้วจึงแตกงานหรือกิจกรรมใหญ่นั้นให้เป็นงานหรือกิจกรรมย่อย ๆ วิธีการนี้จะเหมาะกับการสร้าง
โครงสร้างการจาแนกงานสาหรับโครงการที่มีผู้จัดการโครงการที่มีประสบการณ์ซึ่งสามารถมองเห็นภาพโดยรวมของ
โครงการทั้งหมดได้อย่างชัดเจน
วิธีการในการสร้างโครงสร้างการจาแนกงาน
48
➢ วิธีการจากระดับล่างขึ้นบน (The bottom-up approach) เริ่มมองจากงานที่มีขนาดเล็ก หลาย ๆ
งานก่อน แล้วมีการจัดรวมเป็นกลุ่มงานใหญ่ที่ประกอบด้วยงานเล็ก ๆ วิธีการนี้จะใช้เวลานาน
➢ วิธีการวางแผนความคิด (The mind-mapping approach) วิธีนี้จะใช้เทคนิคการแตกความคิดหลัก
ออกเป็นกิ่งก้านสาขาหรือความคิดย่อยๆ ที่มีความสัมพันธ์กัน เป็นการระดมสมองของสมาชิกในทีมงาน
เน้นการมีส่วนร่วม สนับสนุนความคิดสร้างสรรค์ของสมาชิกในทีมงาน
วิธีการในการสร้างโครงสร้างการจาแนกงาน
49
➢รายละเอียดของกิจกรรม จะต้องเป็นการสรุปรายละเอียดของกิจกรรมในระดับล่างลงไป
➢กิจกรรมย่อยที่สุด ต้องมีผู้รับผิดชอบเพียงคนเดียว แม้ว่าจะมีผู้ร่วมมากกว่าหนึ่งคนก็ตาม
➢ข้อมูลในโครงสร้างจาแนกงานต้องสอดคล้องกับการดาเนินงานโครงการจริง
➢สมาชิกทีมงานควรมีส่วนร่วมในการสร้างโครงสร้างการจาแนกงาน
➢ทุกกิจกรรมในโครงสร้างจาแนกงานควรกาหนดไว้เป็นลายลักษณ์อักษรเพื่อสร้างความเข้าใจ
ตรงกันในเรื่องขอบเขตงาน
➢โครงสร้างจาแนกงานต้องยืดหยุ่นได้ เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงที่หลีกเลี่ยงไม่ได้
ข้อควรคานึงในการสร้างโครงสร้างการจาแนกงาน
50
4. การตรวจสอบขอบเขตงาน
➢การตรวจสอบขอบเขตงาน (Scope verification) ตรวจสอบขอบเขตผลงานหรือสิ่งที่จะส่งมอบ และให้การ
ยอมรับขอบเขตของผลงานนั้นอย่างเป็นทางการ
➢ในกรณีที่ขอบเขตผลงานที่ตรวจสอบยังไม่สมบูรณ์หรือยังไม่เป็นไปตามความต้องการ อาจมีการร้องขอให้ทาการ
ปรับเปลี่ยนบางส่วนเพื่อให้สามารถยอมรับได้
➢ข้อมูลที่ใช้ในการตรวจสอบขอบเขตงาน คือ ข้อกาหนดขอบเขตงาน โครงสร้างจาแนกงาน แผนการบริหารขอบเขต
โครงการ และสิ่งที่ส่งมอบ
➢เครื่องมือที่ใช้ในการตรวจสอบขอบเขตงานคือการวัด การตรวจสอบของผู้ที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ ลูกค้า ผู้ให้การ
สนับสนุน ผู้ใช้ และการทดสอบผลผลิตของโครงการเพื่อให้แน่ใจว่า ผลผลิตเหล่านั้นถูกต้องเป็นไปตามความต้องการ
ที่ระบุไว้ ทั้งด้านคุณสมบัติเฉพาะและปริมาณ โดยผลลัพธ์หลักของการตรวจสอบขอบเขตงาน คือ สิ่งที่ส่งมอบได้รับ
การยอมรับ คาขอเปลี่ยนแปลง และวิธีการแก้ไขที่ได้รับการแนะนา
51
5. การควบคุมการเปลี่ยนแปลงขอบเขตงาน
➢การเปลี่ยนแปลงขอบเขตงานอาจเนื่องมาจากหลายสาเหตุ หากมีการเปลี่ยนแปลงจะต้อง
ได้รับการอนุมัติจากบุคคลที่เกี่ยวข้อง การควบคุมการเปลี่ยนแปลงขอบเขต เป็นการควบคุม
ปัจจัยที่เป็นสาเหตุของการเปลี่ยนแปลง
52
5. การควบคุมการเปลี่ยนแปลงขอบเขตงาน
➢สาเหตุการเปลี่ยนแปลง
◦ การคลาหาขอบเขต (Scope grope) มักจะเกิดขึ้นในช่วงแรกของโครงการ โดยทีมงานขาดความเข้าใจและไม่
สามารถกาหนดขอบเขตของโครงงานได้อย่างชัดเจน ซึ่งอาจก่อให้เกิดปัญหาในภายหลังได้
◦ การขยายขอบเขต (Scope creep) การขยายขอบเขตงานหลังจากที่โครงการได้ดาเนินไปแล้ว โดยทีมงานอาจสนใจ
หรือมีแนวคิดใหม่ ทาให้เกิดความกระตือรือร้นในการเพิ่มคุณลักษณะใหม่ ๆ เข้าไปโดยที่ผู้สนับสนุนไม่ได้ขอ การ
ดาเนินการนี้อาจส่งผลกระทบต่อการใช้ทรัพยากรโครงการ
◦ การก้าวกระโดดของขอบเขต (Scope leap) หมายถึง การเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสาคัญในขอบเขตโครงการ การ
ก้าวกระโดดของขอบเขตเกิดจากการเปลี่ยนสภาพแวดล้อม ธุรกิจ การแข่งขัน ซึ่งเป็นปัจจัยภายนอกซึ่งอาจส่งผลต่อ
เป้าหมายของโครงการ ทาให้ต้องมีการพิจารณาปรับเปลี่ยนขอบเขต บางครั้งอาจต้องยุติโครงการก่อน แล้วจึงเริ่ม
โครงการใหม่
53
การกาหนดวัตถุประสงค์โครงการ
➢วัตถุประสงค์โครงการ (Project objective) จะเป็นเกณฑ์ที่ใช้ในการชี้วัดความสาเร็จของ
โครงการ
➢โดยเป็นคาตอบของคาถามที่ว่า “โครงการจะประสบความสาเร็จ ถ้า...”
➢วัตถุประสงค์ของโครงการควรเน้นไปที่ผลสาเร็จ (Outcome) ของโครงการมากกว่าตัวงาน
(Task) ที่ถูกสร้างขึ้นมาตามเงื่อนไขของโครงการ
➢เช่น การกาหนดวัตถุประสงค์ว่า “ลูกค้าสามารถสั่งซื้อสินค้าออนไลน์ได้” ดีกว่าการที่จะ
กาหนดว่า “สามารถสร้างเว็บไซต์อีคอมเมิร์ซได้”
➢การกาหนดวัตถุประสงค์ควรให้ผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับโครงการได้ร่วมกันพิจารณากาหนด
54
การกาหนดวัตถุประสงค์โครงการ
เทคนิค SMART
➢S (Specific) คือ ความชัดเจน เฉพาะเจาะจง การเขียนวัตถุประสงค์จะต้องมีความชัดเจน มองเห็นเป็นรูปธรรมว่าคืออะไร ทา
อย่างไร การกาหนดวัตถุประสงค์ที่คลุมเครือ เช่น “เพื่อปรับปรุงความสัมพันธ์กับลูกค้า” จะทาให้ยากในการตรวจสอบความสาเร็จ
ของโครงการ
➢M (Measurable) คือ การวัดผลได้ การกาหนดวัตถุประสงค์ควรกาหนดเกณฑ์หรือมาตรวัดที่สามารถวัดได้ว่าโครงการนี้
ประสบความสาเร็จ เช่น กาหนดว่า “เพื่อลดการบ่นหรือการร้องทุกข์ของลูกค้า” ดีกว่า กาหนดว่า “เพื่อปรับปรุงความสัมพันธ์กับ
ลูกค้า” การวัดสามารถทาได้ทั้งการวัดเชิงปริมาณ เช่น การระบุจานวน และการวัดเชิงคุณภาพ ซึ่งจะใช้วิธีการวัดแบบเทียบเคียง
(Benchmarking)
➢A (Achievable) คือ ความสามารถทาได้ สามารถบรรลุ หรือไปถึงได้ การกาหนดวัตถุประสงค์ควรคานึงถึงความสามารถของ
บุคลากร หรือทีมงานที่จะสามารถดาเนินการให้บรรลุผลตามที่ตั้งไว้ได้
➢R (Relevant) คือ ความสอดคล้องกับเป้าหมายและงานที่รับผิดชอบ และต้องตั้งอยู่บนพื้นฐานของความเป็นจริง
➢T (Time constrained) มีการกาหนดระยะเวลา การตั้งวัตถุประสงค์ควรมีการกาหนดระยะเวลาที่จะสามารถบรรลุผลได้
55
การประมาณการต้นทุนเบื้องต้น
➢การประมาณการต้นทุนเบื้องต้น (Initial cost estimates) เป็นการประมาณการต้นทุนหรือค่าใช้จ่าย
โครงการซอฟต์แวร์ ซึ่งเป็นงานที่จาเป็นในระยะเริ่มต้นโครงการ เพื่อประเมินราคาซอฟต์แวร์ โดยเฉพาะ
สาหรับโครงการที่ต้องเข้าร่วมประมูล หากต้องการชนะการประมูลจะต้องเสนอราคาที่ค่อนข้างต่ากว่าคู่แข่ง
แต่จะต้องไม่ขาดทุนเมื่อเทียบกับต้นทุนที่ต้องจ่ายจริง การประเมินราคาที่ต่าเกินไปจะทาให้บริษัทขาดทุน
หากประเมินราคาสูงเกินไปก็อาจจะไม่ถูกเลือก
➢สิ่งสาคัญในการประเมินราคาซอฟต์แวร์ คือ ต้นทุนของโครงการซอฟต์แวร์
56
ต้นทุนของโครงการซอฟต์แวร์
➢ประกอบไปด้วย
ค่าใช้จ่ายด้านฮาร์ดแวร์ ซอฟต์แวร์ และการบารุงรักษา (Hardware, software and
maintenance cost)
ค่าใช้จ่ายจากการเดินทางและการฝึกอบรม (Travel and training cost)
ค่าใช้จ่ายในความเพียรพยายาม หรือ ค่าใช้จ่ายแรงงาน (Effort cost)
➢ค่าใช้จ่ายแรงงาน นอกจากจะหมายถึงค่าแรง เงินเดือนแล้ว ยังรวมถึงค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด
(Overhead) เช่น ค่าใช้จ่ายในการบริหารจัดการ ประสานงาน สวัสดิการ เป็นต้น
57
การประมาณการแรงงานเบื้องต้น
➢การประมาณการแรงงาน (Effort) เป็นส่วนหนึ่งของการประมาณการต้นทุนของโครงการซอฟต์แวร์
ซึ่งต้องมีการประมาณการค่าแรงในเบื้องต้น โดยผู้บริหารโครงการต้องกาหนดจานวนแรงงาน หรือ
จานวนทีมงานที่ต้องใช้ในการทางานแต่ละวัน ตั้งแต่เริ่มต้นกระบวนการผลิตซอฟต์แวร์จนกระทั่งแล้ว
เสร็จ เพื่อประมาณค่าใช้จ่ายด้านแรงงาน
➢ค่าใช้จ่ายด้านแรงงานจัดเป็นค่าใช้จ่ายที่ที่มีความไม่แน่นอนสูง เนื่องจากมีปัจจัยหลายประการ เช่น
ประสบการณ์ของทีมงาน โครงสร้างของโครงการ ความสามารถเฉพาะของแต่ละบุคคล เป็นต้น
58
การประมาณการแรงงานเบื้องต้น
➢การประมาณการแรงงานจะทาให้ได้ประสิทธิผลการทางานที่ต้องการ (Productivity) ซึ่งจาเป็นต้อง
อาศัยการหาขนาดของซอฟต์แวร์ (Size) เข้ามาช่วย
➢การหาขนาดของซอฟต์แวร์สามารถทาได้ 2 วิธี ได้แก่
1. การนับจานวนบรรทัดของซอร์สโค้ด
2. การนับจานวนฟังก์ชัน
59
การนับจานวนบรรทัดของซอร์สโค้ด
➢การนับจานวนบรรทัดของซอร์สโค้ด (Line of code) เป็นวิธีการวัดขนาดซอฟต์แวร์ในยุคแรก
เป็นวิธีการวัดที่ง่ายและชัดเจน
➢การนับจานวนบรรทัดของซอร์สโค้ดเพื่อให้ได้ขนาดของซอฟต์แวร์จึงมีวิธีการนับหลายวิธี
➢วิธีการวัดขนาดซอฟต์แวร์แบบนี้มีข้อเสียคือ จานวนบรรทัดที่นับได้ขึ้นอยู่กับภาษาคอมพิวเตอร์ที่
ใช้และคุณภาพในการออกแบบโปรแกรม หากใช้ภาษาต่างกันจะไม่สามารถเปรียบเทียบกันได้
60
การนับจานวนฟังก์ชัน
➢การนับจานวนฟังก์ชัน (Function point : FP) เป็นวิธีการวัดขนาดของซอฟต์แวร์ด้วยการนับ
จานวนฟังก์ชันการทางานของโปรแกรมจากข้อกาหนดความต้องการซอฟต์แวร์
➢วิธีการนี้จะแก้ไขข้อเสียจากวิธีการแรก จะลดปัญหาความแตกต่างกันของภาษาคอมพิวเตอร์ที่ใช้
การนับจานวนฟังก์ชันมีสูตรที่ใช้ในการคานวณซึ่งรายละเอียดจะได้กล่าวถึงต่อไป
61
62
กาหนดเงินเดือนต่อแรงงาน 4,000 บาท
คิดค่าใช้จ่ายเบ็ดเตล็ด 20% ของเงินเดือนทั้งหมด
รวมต้นทุนได้ 268,800 บาท
เทคนิคการประมาณต้นทุนและแรงงาน
➢เทคนิค Algorithmic cost modeling ใช้แบบจาลองทางคณิตศาสตร์ในการประมาณการ
➢เทคนิค Expert judgement อาศัยความรู้ ความคิดเห็นของผู้เชี่ยวชาญในการประมาณการ
➢เทคนิค Estimation by analogy ใช้วิธีการเทียบเคียงและวิเคราะห์ โดยประมาณการบน
พื้นฐานของข้อมูลจากโครงการเก่าที่มีลักษณะคล้ายกันที่เคยทามาแล้ว
➢เทคนิค Pakinson’s law เป็นเทคนิคการกระจายงานให้ทีมงานตามระยะเวลาที่มีอยู่ เช่น ถ้ามี
ทีมงาน 5 คน และต้องส่งมอบซอฟต์แวร์ภายใน 12 เดือน ดังนั้นต้องจัดให้ทีมงานทั้ง 5 คนทางาน
ให้ได้ 60 man-month
63
เทคนิคการประมาณต้นทุนและแรงงาน
➢เทคนิค Price to win เป็นเทคนิคการประมาณการต้นทุนให้ต่าที่สุด เพื่อให้ชนะการประมูล
➢เทคนิค Top-down เป็นเทคนิคการประมาณการต้นทุนจากบนลงล่าง หมายถึง การ
ประมาณการต้นทุนจากการกาหนดต้นทุนของงานหลักก่อนแล้วค่อยแบ่งกระจายเป็นเป็นต้นทุน
ของงานย่อย ๆ
➢เทคนิค Bottom-up เป็นเทคนิคการประมาณการต้นทุนโดยประมาณการจากล่างขึ้นบน
เป็นการประมาณการจากการรวมต้นทุนของงานย่อย ๆ ทั้งหมด รวมเป็นต้นทุนของโครงการ
64
การประมาณการตารางงานเบื้องต้น
➢ผู้บริหารโครงการต้องกาหนดตารางานเบื้องต้นว่างานในโครงการประกอบด้วยงานย่อย
อะไรบ้าง แต่ละงานย่อยใช้เวลาในการดาเนินงานเท่าไร เพื่อให้ทราบระยะเวลาโดยรวมทั้งหมด
ของโครงการว่าโครงการควรจะแล้วเสร็จภายในระยะเวลากี่วัน
65

More Related Content

What's hot

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4krunuy5
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
Teetut Tresirichod
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์Jim Root
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น.pptx
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น.pptxบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น.pptx
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น.pptx
ssuser741b9d
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
Ornkapat Bualom
 
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยีหน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
Janchai Pokmoonphon
 
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
ปรัชญาทวี พงพยัคฆ์
 
135 402 cross-cultural management13 การจัดการทรัพยากรมนุษย์สำหรับธุรกิจข้ามฃาติ
135 402 cross-cultural management13 การจัดการทรัพยากรมนุษย์สำหรับธุรกิจข้ามฃาติ135 402 cross-cultural management13 การจัดการทรัพยากรมนุษย์สำหรับธุรกิจข้ามฃาติ
135 402 cross-cultural management13 การจัดการทรัพยากรมนุษย์สำหรับธุรกิจข้ามฃาติ
Wannarat Wattana
 
5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ
pop Jaturong
 
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้นแผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
ssuser741b9d
 
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
Paew Tongpanya
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อมผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
NATTAWANKONGBURAN
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
peter dontoom
 
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
Dr.Kridsanapong Lertbumroongchai
 
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้นเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้นpeter dontoom
 

What's hot (20)

ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 4
 
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อบทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
บทที่ 1 หลักการในการจัดซื้อ
 
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
ตัวอย่างโครงงานคอมพิวเตอร์
 
01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ01 บทที่ 1-บทนำ
01 บทที่ 1-บทนำ
 
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น.pptx
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น.pptxบทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น.pptx
บทที่ 1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น.pptx
 
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิตบทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
บทที่ 6 ทฤษฎีการผลิต
 
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
9 การกรอกแบบฟอร์ม(263-287)
 
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยีหน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
หน่วยที่ 3-ระบบทางเทคโนโลยี
 
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
สถิติ เบื้องต้น ตอนที่1
 
135 402 cross-cultural management13 การจัดการทรัพยากรมนุษย์สำหรับธุรกิจข้ามฃาติ
135 402 cross-cultural management13 การจัดการทรัพยากรมนุษย์สำหรับธุรกิจข้ามฃาติ135 402 cross-cultural management13 การจัดการทรัพยากรมนุษย์สำหรับธุรกิจข้ามฃาติ
135 402 cross-cultural management13 การจัดการทรัพยากรมนุษย์สำหรับธุรกิจข้ามฃาติ
 
5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ5การวางแผนโครงการ
5การวางแผนโครงการ
 
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้นแผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
แผนการจัดการเรียนรู้ การเขียนโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่เบื้องต้น
 
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
ความรู้คอมพิวเตอร์พื้นฐาน (Computing Fundamental)
 
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทยหน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาเศรษฐกิจไทย
 
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อมผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบของเทคโนโลยีต่อสิ่งแวดล้อม
 
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมwordข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
ข้อสอบปลายภาค50ข้อ โปรแกรมword
 
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
การปฏิสัมพันธ์และโมเดลปฏิสัมพันธ์ (Interaction and Interactive Model)
 
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้นเฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน  ม.ต้น
เฉลยแบบทดสอบหลังเรียน วิชาอินเตอร์เนตกับการเรียนรู้ไร้พรมแดน ม.ต้น
 
รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1รายงานกลุ่ม 1
รายงานกลุ่ม 1
 
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
2ตัวอย่างนำเสนอโครงการ
 

Similar to 3

NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552NSTDA Plan 2552
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจthanathip
 
Thossaphol o oo_migration_success_rmutto5_16_may_2012 [compatibility mode]
Thossaphol o oo_migration_success_rmutto5_16_may_2012 [compatibility mode]Thossaphol o oo_migration_success_rmutto5_16_may_2012 [compatibility mode]
Thossaphol o oo_migration_success_rmutto5_16_may_2012 [compatibility mode]
Thossaphol Noratus
 
Ms project
Ms projectMs project
Ms project
Bangalo Findsoul
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์Sarocha Makranit
 
คอม
คอมคอม
9789740330325
97897403303259789740330325
9789740330325
CUPress
 
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
NECTEC
 
โครงงานใบงานที่ 7
โครงงานใบงานที่ 7โครงงานใบงานที่ 7
โครงงานใบงานที่ 7Anny Na Sonsawan
 
Co-operative Eduction in SUT
Co-operative Eduction in SUTCo-operative Eduction in SUT
Co-operative Eduction in SUT
b4870579
 
Internal Audit Planning
Internal Audit PlanningInternal Audit Planning
Internal Audit Planning
Pairat Srivilairit
 
Smart farm white paper chapter 4
Smart farm white paper chapter 4Smart farm white paper chapter 4
Smart farm white paper chapter 4Pisuth paiboonrat
 

Similar to 3 (20)

NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552NSTDA Plan 2552
NSTDA Plan 2552
 
Chapter 4
Chapter 4Chapter 4
Chapter 4
 
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจหลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
หลักสูตรที่ 2 หน่วยที่ 4: ความเข้าใจแผนธุรกิจ
 
Thossaphol o oo_migration_success_rmutto5_16_may_2012 [compatibility mode]
Thossaphol o oo_migration_success_rmutto5_16_may_2012 [compatibility mode]Thossaphol o oo_migration_success_rmutto5_16_may_2012 [compatibility mode]
Thossaphol o oo_migration_success_rmutto5_16_may_2012 [compatibility mode]
 
Ms project
Ms projectMs project
Ms project
 
โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์โครงงานคอมพิวเตอร์
โครงงานคอมพิวเตอร์
 
คอม
คอมคอม
คอม
 
9789740330325
97897403303259789740330325
9789740330325
 
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
Report Thailand ICT Market 2011 and Outlook 2012
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
โครงงานใบงานที่ 7
โครงงานใบงานที่ 7โครงงานใบงานที่ 7
โครงงานใบงานที่ 7
 
Co-operative Eduction in SUT
Co-operative Eduction in SUTCo-operative Eduction in SUT
Co-operative Eduction in SUT
 
Internal Audit Planning
Internal Audit PlanningInternal Audit Planning
Internal Audit Planning
 
D:\2
D:\2D:\2
D:\2
 
Po
PoPo
Po
 
Po
PoPo
Po
 
No1
No1No1
No1
 
Watsubsamosorn
WatsubsamosornWatsubsamosorn
Watsubsamosorn
 
Smart farm white paper chapter 4
Smart farm white paper chapter 4Smart farm white paper chapter 4
Smart farm white paper chapter 4
 
Ppt bsc
Ppt bscPpt bsc
Ppt bsc
 

More from pop Jaturong

งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
pop Jaturong
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
pop Jaturong
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
pop Jaturong
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
pop Jaturong
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
pop Jaturong
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
pop Jaturong
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
pop Jaturong
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
pop Jaturong
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
pop Jaturong
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
pop Jaturong
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
pop Jaturong
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law
pop Jaturong
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security
pop Jaturong
 
306325 unit7-product-delivery-for-ec
306325 unit7-product-delivery-for-ec306325 unit7-product-delivery-for-ec
306325 unit7-product-delivery-for-ec
pop Jaturong
 

More from pop Jaturong (20)

5
55
5
 
4
44
4
 
2
22
2
 
1
11
1
 
งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1งานนำเสนอ1
งานนำเสนอ1
 
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลงบทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
บทที่ 7 ท้องถิ่นไทยกับการเปลี่ยนแปลง
 
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆบทที่  5  ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
บทที่ 5 ท้องถิ่นไทยภูมิภาคต่างๆ
 
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัดบทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
บทที่ 6-2-ศักยภาพเชิงพื้นที่ กับ แผนยุทธศาสตร์จังหวัด
 
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรมบทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
บทที่ 4-2-คุณธรรมและจริยธรรม
 
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทยบทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
บทที่ 4 วัฒนธรรมไทย
 
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทยบทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
บทที่ 3 ข้อมูลพื้นฐานของประเทศไทย
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย3
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย2
 
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทยบทที่ 2  โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
บทที่ 2 โบราณคดีและประวัติศาสตร์ไทย
 
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษาบทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
บทที่ 1-หลักการความหมายของท้องถิ่นศึกษา
 
บทที่ 4
บทที่ 4บทที่ 4
บทที่ 4
 
บทที่ 3
บทที่ 3บทที่ 3
บทที่ 3
 
306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law306325 unit9-ec-policy&law
306325 unit9-ec-policy&law
 
306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security306325 unit8-ec-security
306325 unit8-ec-security
 
306325 unit7-product-delivery-for-ec
306325 unit7-product-delivery-for-ec306325 unit7-product-delivery-for-ec
306325 unit7-product-delivery-for-ec
 

Recently uploaded

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
Prachyanun Nilsook
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
Faculty of BuddhismMahachulalongkornrajavidyalaya Roi Et Buddhist College
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
Bangkok, Thailand
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
สุเมธี​​​​ ตี่พนมโอรัล / សុមេធី ទីភ្នំឱរ៉ាល់ (Sumedhi TyPhnomAoral)
 

Recently uploaded (10)

การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
การเขียนข้อเสนอโครงการวิจัย (Research Proposal)
 
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdfแนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
แนวความเชื่อ วิธีการปฎิบัติ พระพุทธศาสนามหายาน.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
ภาษาอังกฤษเพื่อการปฏิบัติกรรมฐานในพระพุทธศาสนา
 
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdfงานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
งานนำเสนอ ภาษากับการสื่อสาร เพื่อการพัฒนา.pdf
 
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
3_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา สัมพันธ์ไทย ประโยค ป.ธ.3 (2500-2567).pdf
 
atwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtxatwordfamily words with Thai translationtx
atwordfamily words with Thai translationtx
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา บาลีไวยากรณ์ ประโยค 1-2 (2511-2567).pdf
 
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
1-2_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลมคธเป็นไทย ประโยค 1-2 (2510-2567).pdf
 
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
4_ปัญหาและเฉลยข้อสอบบาลีสนามหลวง วิชา แปลไทยเป็นมคธ ประโยค ป.ธ.4 (2505-2567).pdf
 

3