SlideShare a Scribd company logo
1
โกสัมพิยชาดก
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๒. โกสัมพิยชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๒๘)
ว่าด้วยการทะเลาะกันในเมืองโกสัมพี
(พระผู้มีพระภาคตรัสว่า)
[๑๐] คนทะเลาะกันมีเสียงดังเหมือนกันไปหมด
ไม่มีใครเลยจะรู้สึกตัวว่าเป็ นคนพาล ยิ่งไปกว่านั้น เมื่อสงฆ์แตกกัน
ก็ไม่ยอมรับรู้เหตุอย่างอื่น
[๑๑] คนฟั่นเฟือนยกตนว่าเป็นบัณฑิต เอาแต่พูด
ยื่นปากพูดตามที่ตัวปรารถนา แต่ไม่ยอมรับรู้เรื่องที่ทะเลาะกันอย่างไร้ยางอาย
[๑๒] ชนเหล่าใดเข้าไปผูกเวรว่า คนนี้ได้ด่าเรา ได้ฆ่าเรา ได้ชนะเรา
และได้ลักสิ่งของของเราไป เวรของชนเหล่านั้นย่อมไม่สงบระงับ
[๑๓] ส่วนชนเหล่าใดไม่เข้าไปผูกเวรว่า คนนี้ได้ด่าเรา ได้ฆ่าเรา
ได้ชนะเรา และได้ลักสิ่งของของเราไป เวรของชนเหล่านั้นย่อมสงบระงับ
[๑๔] เพราะว่าในกาลไหนๆ เวรทั้งหลายในโลกนี้
ย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร
นี้เป็นธรรมเก่า
[๑๕] ชนพวกอื่นไม่รู้สึกว่าพวกเราย่อมย่อยยับในท่ามกลางสงฆ์นี้
ส่วนชนเหล่าใดในท่ามกลางสงฆ์นั้นย่อมรู้สึก ต่อจากนั้น
ความทะเลาะของชนเหล่านั้นย่อมสงบระงับ
[๑๖] คนสมัยก่อนตัดกระดูกกัน ปลิดชีวิต ปล้นโค ม้า ทรัพย์
ซ้ายังชิงเอาบ้านเมืองกัน แม้คนเหล่านั้นก็ยังคบกันได้
ทาไมพวกเธอจึงคบกันไม่ได้
[๑๗] หากบุคคลจะพึงได้สหายผู้มีปัญญารักษาตน เป็ นนักปราชญ์
มีปกติอยู่ด้วยกรรมอันดีงาม เที่ยวไปด้วยกัน ครอบงาอันตรายทั้งปวงแล้ว มีสติ
พอใจ พึงเที่ยวไปกับสหายนั้นเถิด
[๑๘] หากบุคคลไม่ได้สหายผู้มีปัญญารักษาตน เป็นนักปราชญ์
มีปกติอยู่ด้วยกรรมอันดีงาม เที่ยวไปด้วยกัน พึงเที่ยวไปผู้เดียว
เหมือนพระราชาทรงละแคว้นที่ทรงชนะแล้วเสด็จไปพระองค์เดียว
และเหมือนช้างมาตังคะเที่ยวไปตัวเดียวในป่า
[๑๙] การเที่ยวไปของบุคคลผู้เดียวเป็นความประเสริฐ
เพราะความเป็นสหายไม่มีในคนพาล อนึ่ง บุคคลควรมีความขวนขวายน้อย
เที่ยวไปผู้เดียว ไม่พึงทาความชั่ว เหมือนช้างมาตังคะเที่ยวไปตัวเดียวในป่า
โกสัมพิยชาดกที่ ๒ จบ
2
-----------------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
โกสัมพิยชาดก
ว่าด้วย อยู่คนเดียวดีกว่าร่วมกับคนพาล
พระศาสดา เมื่อทรงอาศัยเมืองโกสัมพีประทับอยู่ ณ โฆสิตาราม
ทรงปรารภเหล่าภิกษุที่ทะเลาะกันในเมืองโกสัมพี ตรัสเรื่องนี้ ดังนี้.
เนื้อเรื่องมีมาแล้วใน โกสัมพีขันธกะ สาหรับในที่นี้มีความย่อดังต่อไป
นี้.
ได้ยินว่า คราวนั้นภิกษุสองรูป คือพระวินัยธรหนึ่ง พระธรรมกถึกหนึ่ง
อยู่ในอาวาสเดียวกัน ในสองรูปนั้น
วันหนึ่งพระธรรมกถึกถ่ายอุจจาระเหลือน้าชาระไว้ในภาชนะในซุ้มน้าออกไป
พระวินัยธรเข้าไปในที่นั้นทีหลังเห็นน้านั้นเข้า ออกมาถามพระธรรมกถึกว่า
อาวุโส ท่านเหลือน้าไว้หรือ?
พระธรรมกถึกตอบว่า ขอรับผมเหลือไว้
พระวินัยธรถามว่า ท่านไม่รู้ว่าเป็นอาบัติในข้อนี้หรือ?
พระธรรมกถึกตอบว่า ขอรับ ผมไม่รู้
พระวินัยธรกล่าวว่า อาวุโส
การที่ท่านเหลือน้าไว้ในภาชนะนั้นเป็นอาบัติ
พระธรรมกถึกกล่าวว่า ถ้าเช่นนั้นผมจักปลงอาบัติ
พระวินัยธรกล่าวว่า อาวุโส
ถ้าท่านไม่แกล้งทาไปโดยไม่มีสติก็ไม่เป็นอาบัติ
พระธรรมกถึกนั้นเข้าใจอาบัตินั้นว่าไม่เป็ นอาบัติ
พระวินัยธรได้บอกศิษย์ของตนว่า พระธรรมกถึกนี้แม้ต้องอาบัติก็ไม่รู้
พวกศิษย์ของพระวินัยธรเห็นพวกศิษย์ของพระธรรมกถึกเข้า กล่าวว่า
อุปัชฌาย์ของพวกท่านต้องอาบัติแล้วยังไม่รู้ว่าเป็นอาบัติ
พวกศิษย์ของพระธรรมกถึกได้พากันไปบอกแก่อุปัชฌาย์ของตน
พระธรรมกถึกกล่าวอย่างนี้ว่า
พระวินัยธรนี้ ทีแรกบอกว่าไม่เป็นอาบัติ บัดนี้ว่าเป็ นอาบัติ ท่านนี่พูดเท็จ
พวกศิษย์พระธรรมกถึกพากันไปกล่าวว่า อุปัชฌาย์ของพวกท่านพูดเท็จ
แล้วได้ทะเลาะกันด้วยประการอย่างนี้
ต่อแต่นั้น พระวินัยธรได้ช่องจึงทาอุกเขปนียกรรม
ยกโทษในการไม่เห็นอาบัตินั้น ตั้งแต่นั้นมา
อุบาสกอุบาสิกาผู้ถวายปัจจัยแก่ภิกษุเหล่านั้นได้แบ่งเป็ นสองพวก
ภิกษุณีผู้รับโอวาทก็ดี อารักขเทวดาก็ดี
3
อากาสัฏฐกเทวดาที่เคยเห็นเคยคบกับอารักขเทวดาก็ดี
ตลอดถึงพรหมโลกบรรดาที่เป็นปุถุชน ได้แยกกันเป็นสองพวก
ได้เกิดโกลาหลไปถึงภพชั้นอกนิษฐ์
ในอดีตกาล ภิกษุรูปหนึ่งเข้าไปเฝ้ าพระตถาคต
กราบทูลลัทธิของพวกภิกษุผู้ยกโทษว่า พระธรรมกถึกนี้
พวกเรายกโทษด้วยกรรมอันเป็ นธรรมทีเดียว
และลัทธิของพวกภิกษุผู้ประพฤติตามพระธรรมกถึกผู้ถูกยกโทษว่า
อาจารย์ของพวกเราถูกยกโทษด้วยกรรมอันไม่เป็ นธรรม
และภาวะที่พวกภิกษุเหล่านั้น
แม้พวกภิกษุผู้ยกโทษห้ามอยู่ก็ยังเที่ยวตามแวดล้อมพระธรรมกถึกนั้น
ให้พระศาสดาทรงทราบ
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงส่งภิกษุไปสองครั้งโดยมีพระพุทธดารัสไปว่า
ขอสงฆ์จงสามัคคีกันเถิด ทรงทราบว่า ภิกษุเหล่านั้นไม่ปรารถนาจะสามัคคีกัน
พระเจ้าข้า.
ในครั้งที่ ๓ ทรงทราบว่า ภิกษุสงฆ์แตกกันแล้ว ภิกษุสงฆ์แตกกันแล้ว
จึงเสด็จไปยังสานักของภิกษุเหล่านั้น
ตรัสโทษในการยกโทษของพวกภิกษุผู้ยกโทษ
และในการไม่เห็นอาบัติของพวกภิกษุนอกนี้ แล้วเสด็จหลีกไป
พระศาสดาทรงบัญญัติวัตรในโรงภัตว่า
พึงนั่งในอาสนะที่มีอาสนะอื่นคั่นในระหว่างแก่ภิกษุเหล่านั้นผู้ทาอุโบสถกรรมเป็
นต้นในสีมาเดียวกัน ณ โฆสิตารามนั่นแหละ
แล้วเกิดร้าวรานกันอีกในโรงภัตเป็นต้น
ได้ทรงสดับว่า บัดนี้ภิกษุเหล่านั้นยังร้าวรานกันอยู่
จึงเสด็จไปตรัสเตือนว่า อย่าเลยภิกษุทั้งหลาย อย่าร้าวรานกันเลย ดังนี้เป็นต้น
เมื่อพระธรรมวาทีรูปหนึ่งซึ่งไม่ปรารถนาจะให้
พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงลาบาก กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ
ขอพระองค์ผู้ธรรมสามีจงยับยั้ง มีความขวนขวายน้อย
อยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรมเถิด
พวกข้าพระองค์จักปรากฏด้วยการร้าวรานบาดหมางทะเลาะวิวาทกัน
จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย
เรื่องเคยมีมาแล้วในเมืองพาราณสีได้มีพระราชาครองแคว้นกาสีมีพระนามว่าพร
หมทัต ดังนี้ แล้วตรัสเรื่องที่พระเจ้าพรหมทัตชิงราชสมบัติของพระเจ้าทีฆีติโกศล
จับพระเจ้าทีฆีติโกศลซึ่งปลอมพระองค์ซ่อนอยู่ ให้ปลงพระชนม์เสีย
และเรื่องที่ทีฆาวุกุมารถวายชีวิตแก่พระเจ้าพรหมทัต
แล้วสองกษัตริย์สามัคคีกันแต่นั้นมา ตรัสสอนว่า
4
ภิกษุทั้งหลาย พระราชาผู้ทรงมีอาชญามีศัสตรา
ยังมีขันติโสรัจจะถึงเพียงนี้
พวกเธอบวชในธรรมวินัยที่เราตถาคตกล่าวดีแล้วอย่างนี้ พึงมีขันติและโสรัจจะ
ข้อนี้จะเป็ นความงามในธรรมวินัยนี้แท้แล
ตรัสห้ามถึงสองครั้งสามครั้งว่า อย่าเลยภิกษุทั้งหลาย
อย่าร้าวรานกันเลย ทรงเห็นว่าไม่ลดละกันได้ จึงทรงดาริว่า
พวกโมฆบุรุษเหล่านี้ถูกกิเลสหุ้มห่อ ยากที่จะรู้สานึก จึงเสด็จหลีกไป
วันรุ่งขึ้น พระองค์เสด็จกลับจากบิณฑบาต
ทรงพักในพระคันธกุฎีหน่อยหนึ่ง ทรงเก็บเสนาสนะ
ทรงบาตรและจีวรของพระองค์ ประทับในอากาศ ท่ามกลางสงฆ์
ตรัสพระคาถาทั้งหลายนี้ว่า :-
คนพาลมีเสียงอื้ออึงเหมือนกันหมด
แต่สักคนหนึ่งก็ไม่รู้สึกตนว่าเป็ นคนพาล เมื่อสงฆ์แตกกันก็ไม่รู้เหตุอื่นโดยยิ่งว่า
สงฆ์แตกกันเพราะเรา.
เพราะเป็ นคนมีสติหลงลืม แต่ยังพูดว่าตนเป็ นบัณฑิต
มีวาจาเป็นอารมณ์ ช่างพูด ย่อมปรารถนาจะให้เสียงออกจากปากอยู่เพียงใด
ก็พูดไปเพียงนั้น เขาถูกการทะเลาะนาไปแล้ว ยังไม่รู้ว่าการทะเลาะนั้นเป็ นโทษ.
ก็ชนเหล่าใดเข้าไปผูกความโกรธนั้นไว้ว่า คนโน้นได้ด่าเรา
คนโน้นได้ตีเรา คนโน้นได้ชนะเรา คนโน้นได้ลักของของเรา
เวรของชนเหล่านั้น ย่อมไม่ระงับได้.
ส่วนชนเหล่าใดไม่เข้าไปผูกความโกรธนั้นไว้ว่า คนโน้นได้ด่าเรา
คนโน้นได้ตีเรา คนโน้นได้ชนะเรา คนโน้นได้ลักของของเรา
เวรของชนเหล่านั้น ย่อมระงับไปได้.
แต่ไหนแต่ไรมา ในโลกนี้เวรย่อมไม่ระงับด้วยเวร
แต่ย่อมระงับได้ด้วยการไม่จองเวร ธรรมนี้เป็นของเก่า.
ก็ชนเหล่าอื่นย่อมไม่รู้สึกว่า พวกเราจะพากันยุบยับในท่ามกลางสงฆ์นี้
ส่วนชนเหล่าใดในหมู่นั้นย่อมรู้สึกได้ ความหมายมั่นกันย่อมสงบระงับไป
เพราะการทาไว้ในใจโดยแยบคายของชนเหล่านั้น.
คนที่ปล้นแว่นแคว้นชิงทรัพย์สมบัติกันจนถึงปลงชีวิตลิดกระดูกกันแล้
ว ก็ยังกลับสามัคคีกันได้ เหตุไรพวกเธอจึงไม่สามัคคีกันเล่า.
ถ้าจะพึงได้สหายผู้มีปัญญาเป็นนักปราชญ์ไปไหนไปด้วยกัน
อยู่ด้วยช่วยทาประโยชน์ให้สาเร็จ ควรชื่นชมมีสติเที่ยวไปกับสหายนั้น
จะครอบงาอันตรายทั้งปวงได้.
ถ้าไม่พึงได้สหายผู้มีปัญญาเป็นนักปราชญ์ไปไหนไปด้วยกัน
อยู่ด้วยช่วยทาประโยชน์ให้สาเร็จ พึงเที่ยวไปแต่ผู้เดียว
5
เหมือนพระราชาทรงสละแว่นแคว้น เสด็จไปแต่พระองค์เดียวฉะนั้น
หรือเหมือนช้างมาตังคะเที่ยวไปในป่าแต่ผู้เดียวฉะนั้น.
การเที่ยวไปผู้เดียวประเสริฐกว่า
เพราะคุณคือความเป็ นสหายย่อมไม่มีในคนพาล
ควรเที่ยวไปผู้เดียวแลไม่ควรทาบาป เหมือนช้างมาตังคะมีความขวนขวายน้อย
เที่ยวไปในป่าแต่ผู้เดียวแลไม่ทาบาป ฉะนั้น.
ข้อนี้มีพระบรมพุทธาธิบายว่า ภิกษุทั้งหลาย
พระราชาผู้ทรงถืออาชญาสิทธิ์ยังสามัคคีกัน สมาคมกัน
ทาสัมพันธไมตรีกันด้วยอาวาหและวิวาหมงคล
แล้วทรงดื่มและทรงเสวยร่วมกันได้ถึงเพียงนี้ พวกเธอบวชในศาสนาเห็นปานนี้
ย่อมไม่อาจเพื่อสลัดแม้สักว่าเวรของตนออกได้
อะไรเป็ นภาวะแห่งภิกษุของพวกเธอเล่า.
ท่านกล่าวอธิบายไว้ว่า ควรเที่ยวไปผู้เดียวและไม่ควรทาบาป
เหมือนช้างมาตังคะผู้เลี้ยงดูมารดา เหมือนช้างสีลวหัตถี
และเหมือนช้างปาริไลยกะ เที่ยวไปในป่าผู้เดียวและไม่ทาบาปฉะนั้น.
พระศาสดาแม้ตรัสอย่างนี้แล้ว
เมื่อยังไม่อาจให้ภิกษุเหล่านั้นปรองดองกันได้ จึงเสด็จไปยังพาลกโลณการามคาม
ทรงแสดงอานิสงส์ในความเป็นผู้อยู่ผู้เดียวแก่พระภัคคุเถระ
จากที่นั้นเสด็จไปถึงที่อยู่ของกุลบุตรสามคน
ทรงแสดงอานิสงส์ในสามัคคีรสแก่กุลบุตรเหล่านั้น
ต่อจากนั้นเสด็จไปถึงปาริไลยกไพรสณฑ์ ประทับอยู่ ณ ที่นั้นตลอดสามเดือน
ไม่เสด็จมาเมืองโกสัมพีอีก เสด็จไปเมืองสาวัตถีเลย.
พวกอุบาสกชาวเมืองโกสัมพีปรึกษากันว่า
พระผู้เป็นเจ้าเหล่าภิกษุชาวโกสัมพีนี้
ทาความเสียหายให้แก่พวกเรามาก พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงระอาภิกษุเหล่านี้
จึงหลีกไปเสีย
พวกเราจักไม่กระทาสามีจิกรรมมีการกราบเป็นต้นแก่ภิกษุเหล่านี้เลย
จักไม่ถวายบิณฑบาตแก่ท่านที่เข้ามาบิณฑบาต
เมื่อทาเช่นนี้ภิกษุเหล่านี้จักหลีกไปบ้าง จักให้พระผู้มีพระภาคเจ้าเลื่อมใสบ้าง
ดังนี้แล้วก็ทาตามที่ปรึกษากันนั้น
ภิกษุเหล่านั้นถูกพวกอุบาสกลงทัณฑกรรมเช่นนั้นจึงพากันไปเมืองสา
วัตถี กราบทูลขอขมาโทษต่อพระผู้มีพระภาคเจ้า.
พระศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประชุมชาดกว่า
พระราชบิดาในครั้งนั้น ได้มาเป็น พระเจ้าสุทโธทนมหาราช ในบัดนี้
6
พระราชมารดาในครั้งนั้น ได้มาเป็น พระมหามายา ในบัดนี้
ทีฆาวุกุมารในครั้งนั้น ได้มาเป็น เราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาโกสัมพิยชาดกที่ ๒
-----------------------------------------------------

More Related Content

More from maruay songtanin

530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 

428 โกสัมพิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

  • 1. 1 โกสัมพิยชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ ๒. โกสัมพิยชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๒๘) ว่าด้วยการทะเลาะกันในเมืองโกสัมพี (พระผู้มีพระภาคตรัสว่า) [๑๐] คนทะเลาะกันมีเสียงดังเหมือนกันไปหมด ไม่มีใครเลยจะรู้สึกตัวว่าเป็ นคนพาล ยิ่งไปกว่านั้น เมื่อสงฆ์แตกกัน ก็ไม่ยอมรับรู้เหตุอย่างอื่น [๑๑] คนฟั่นเฟือนยกตนว่าเป็นบัณฑิต เอาแต่พูด ยื่นปากพูดตามที่ตัวปรารถนา แต่ไม่ยอมรับรู้เรื่องที่ทะเลาะกันอย่างไร้ยางอาย [๑๒] ชนเหล่าใดเข้าไปผูกเวรว่า คนนี้ได้ด่าเรา ได้ฆ่าเรา ได้ชนะเรา และได้ลักสิ่งของของเราไป เวรของชนเหล่านั้นย่อมไม่สงบระงับ [๑๓] ส่วนชนเหล่าใดไม่เข้าไปผูกเวรว่า คนนี้ได้ด่าเรา ได้ฆ่าเรา ได้ชนะเรา และได้ลักสิ่งของของเราไป เวรของชนเหล่านั้นย่อมสงบระงับ [๑๔] เพราะว่าในกาลไหนๆ เวรทั้งหลายในโลกนี้ ย่อมไม่สงบระงับด้วยเวร แต่เวรทั้งหลายย่อมสงบระงับด้วยการไม่จองเวร นี้เป็นธรรมเก่า [๑๕] ชนพวกอื่นไม่รู้สึกว่าพวกเราย่อมย่อยยับในท่ามกลางสงฆ์นี้ ส่วนชนเหล่าใดในท่ามกลางสงฆ์นั้นย่อมรู้สึก ต่อจากนั้น ความทะเลาะของชนเหล่านั้นย่อมสงบระงับ [๑๖] คนสมัยก่อนตัดกระดูกกัน ปลิดชีวิต ปล้นโค ม้า ทรัพย์ ซ้ายังชิงเอาบ้านเมืองกัน แม้คนเหล่านั้นก็ยังคบกันได้ ทาไมพวกเธอจึงคบกันไม่ได้ [๑๗] หากบุคคลจะพึงได้สหายผู้มีปัญญารักษาตน เป็ นนักปราชญ์ มีปกติอยู่ด้วยกรรมอันดีงาม เที่ยวไปด้วยกัน ครอบงาอันตรายทั้งปวงแล้ว มีสติ พอใจ พึงเที่ยวไปกับสหายนั้นเถิด [๑๘] หากบุคคลไม่ได้สหายผู้มีปัญญารักษาตน เป็นนักปราชญ์ มีปกติอยู่ด้วยกรรมอันดีงาม เที่ยวไปด้วยกัน พึงเที่ยวไปผู้เดียว เหมือนพระราชาทรงละแคว้นที่ทรงชนะแล้วเสด็จไปพระองค์เดียว และเหมือนช้างมาตังคะเที่ยวไปตัวเดียวในป่า [๑๙] การเที่ยวไปของบุคคลผู้เดียวเป็นความประเสริฐ เพราะความเป็นสหายไม่มีในคนพาล อนึ่ง บุคคลควรมีความขวนขวายน้อย เที่ยวไปผู้เดียว ไม่พึงทาความชั่ว เหมือนช้างมาตังคะเที่ยวไปตัวเดียวในป่า โกสัมพิยชาดกที่ ๒ จบ
  • 2. 2 ----------------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา โกสัมพิยชาดก ว่าด้วย อยู่คนเดียวดีกว่าร่วมกับคนพาล พระศาสดา เมื่อทรงอาศัยเมืองโกสัมพีประทับอยู่ ณ โฆสิตาราม ทรงปรารภเหล่าภิกษุที่ทะเลาะกันในเมืองโกสัมพี ตรัสเรื่องนี้ ดังนี้. เนื้อเรื่องมีมาแล้วใน โกสัมพีขันธกะ สาหรับในที่นี้มีความย่อดังต่อไป นี้. ได้ยินว่า คราวนั้นภิกษุสองรูป คือพระวินัยธรหนึ่ง พระธรรมกถึกหนึ่ง อยู่ในอาวาสเดียวกัน ในสองรูปนั้น วันหนึ่งพระธรรมกถึกถ่ายอุจจาระเหลือน้าชาระไว้ในภาชนะในซุ้มน้าออกไป พระวินัยธรเข้าไปในที่นั้นทีหลังเห็นน้านั้นเข้า ออกมาถามพระธรรมกถึกว่า อาวุโส ท่านเหลือน้าไว้หรือ? พระธรรมกถึกตอบว่า ขอรับผมเหลือไว้ พระวินัยธรถามว่า ท่านไม่รู้ว่าเป็นอาบัติในข้อนี้หรือ? พระธรรมกถึกตอบว่า ขอรับ ผมไม่รู้ พระวินัยธรกล่าวว่า อาวุโส การที่ท่านเหลือน้าไว้ในภาชนะนั้นเป็นอาบัติ พระธรรมกถึกกล่าวว่า ถ้าเช่นนั้นผมจักปลงอาบัติ พระวินัยธรกล่าวว่า อาวุโส ถ้าท่านไม่แกล้งทาไปโดยไม่มีสติก็ไม่เป็นอาบัติ พระธรรมกถึกนั้นเข้าใจอาบัตินั้นว่าไม่เป็ นอาบัติ พระวินัยธรได้บอกศิษย์ของตนว่า พระธรรมกถึกนี้แม้ต้องอาบัติก็ไม่รู้ พวกศิษย์ของพระวินัยธรเห็นพวกศิษย์ของพระธรรมกถึกเข้า กล่าวว่า อุปัชฌาย์ของพวกท่านต้องอาบัติแล้วยังไม่รู้ว่าเป็นอาบัติ พวกศิษย์ของพระธรรมกถึกได้พากันไปบอกแก่อุปัชฌาย์ของตน พระธรรมกถึกกล่าวอย่างนี้ว่า พระวินัยธรนี้ ทีแรกบอกว่าไม่เป็นอาบัติ บัดนี้ว่าเป็ นอาบัติ ท่านนี่พูดเท็จ พวกศิษย์พระธรรมกถึกพากันไปกล่าวว่า อุปัชฌาย์ของพวกท่านพูดเท็จ แล้วได้ทะเลาะกันด้วยประการอย่างนี้ ต่อแต่นั้น พระวินัยธรได้ช่องจึงทาอุกเขปนียกรรม ยกโทษในการไม่เห็นอาบัตินั้น ตั้งแต่นั้นมา อุบาสกอุบาสิกาผู้ถวายปัจจัยแก่ภิกษุเหล่านั้นได้แบ่งเป็ นสองพวก ภิกษุณีผู้รับโอวาทก็ดี อารักขเทวดาก็ดี
  • 3. 3 อากาสัฏฐกเทวดาที่เคยเห็นเคยคบกับอารักขเทวดาก็ดี ตลอดถึงพรหมโลกบรรดาที่เป็นปุถุชน ได้แยกกันเป็นสองพวก ได้เกิดโกลาหลไปถึงภพชั้นอกนิษฐ์ ในอดีตกาล ภิกษุรูปหนึ่งเข้าไปเฝ้ าพระตถาคต กราบทูลลัทธิของพวกภิกษุผู้ยกโทษว่า พระธรรมกถึกนี้ พวกเรายกโทษด้วยกรรมอันเป็ นธรรมทีเดียว และลัทธิของพวกภิกษุผู้ประพฤติตามพระธรรมกถึกผู้ถูกยกโทษว่า อาจารย์ของพวกเราถูกยกโทษด้วยกรรมอันไม่เป็ นธรรม และภาวะที่พวกภิกษุเหล่านั้น แม้พวกภิกษุผู้ยกโทษห้ามอยู่ก็ยังเที่ยวตามแวดล้อมพระธรรมกถึกนั้น ให้พระศาสดาทรงทราบ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงส่งภิกษุไปสองครั้งโดยมีพระพุทธดารัสไปว่า ขอสงฆ์จงสามัคคีกันเถิด ทรงทราบว่า ภิกษุเหล่านั้นไม่ปรารถนาจะสามัคคีกัน พระเจ้าข้า. ในครั้งที่ ๓ ทรงทราบว่า ภิกษุสงฆ์แตกกันแล้ว ภิกษุสงฆ์แตกกันแล้ว จึงเสด็จไปยังสานักของภิกษุเหล่านั้น ตรัสโทษในการยกโทษของพวกภิกษุผู้ยกโทษ และในการไม่เห็นอาบัติของพวกภิกษุนอกนี้ แล้วเสด็จหลีกไป พระศาสดาทรงบัญญัติวัตรในโรงภัตว่า พึงนั่งในอาสนะที่มีอาสนะอื่นคั่นในระหว่างแก่ภิกษุเหล่านั้นผู้ทาอุโบสถกรรมเป็ นต้นในสีมาเดียวกัน ณ โฆสิตารามนั่นแหละ แล้วเกิดร้าวรานกันอีกในโรงภัตเป็นต้น ได้ทรงสดับว่า บัดนี้ภิกษุเหล่านั้นยังร้าวรานกันอยู่ จึงเสด็จไปตรัสเตือนว่า อย่าเลยภิกษุทั้งหลาย อย่าร้าวรานกันเลย ดังนี้เป็นต้น เมื่อพระธรรมวาทีรูปหนึ่งซึ่งไม่ปรารถนาจะให้ พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงลาบาก กราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้เจริญ ขอพระองค์ผู้ธรรมสามีจงยับยั้ง มีความขวนขวายน้อย อยู่เป็นสุขในทิฏฐธรรมเถิด พวกข้าพระองค์จักปรากฏด้วยการร้าวรานบาดหมางทะเลาะวิวาทกัน จึงตรัสว่า ดูก่อนภิกษุทั้งหลาย เรื่องเคยมีมาแล้วในเมืองพาราณสีได้มีพระราชาครองแคว้นกาสีมีพระนามว่าพร หมทัต ดังนี้ แล้วตรัสเรื่องที่พระเจ้าพรหมทัตชิงราชสมบัติของพระเจ้าทีฆีติโกศล จับพระเจ้าทีฆีติโกศลซึ่งปลอมพระองค์ซ่อนอยู่ ให้ปลงพระชนม์เสีย และเรื่องที่ทีฆาวุกุมารถวายชีวิตแก่พระเจ้าพรหมทัต แล้วสองกษัตริย์สามัคคีกันแต่นั้นมา ตรัสสอนว่า
  • 4. 4 ภิกษุทั้งหลาย พระราชาผู้ทรงมีอาชญามีศัสตรา ยังมีขันติโสรัจจะถึงเพียงนี้ พวกเธอบวชในธรรมวินัยที่เราตถาคตกล่าวดีแล้วอย่างนี้ พึงมีขันติและโสรัจจะ ข้อนี้จะเป็ นความงามในธรรมวินัยนี้แท้แล ตรัสห้ามถึงสองครั้งสามครั้งว่า อย่าเลยภิกษุทั้งหลาย อย่าร้าวรานกันเลย ทรงเห็นว่าไม่ลดละกันได้ จึงทรงดาริว่า พวกโมฆบุรุษเหล่านี้ถูกกิเลสหุ้มห่อ ยากที่จะรู้สานึก จึงเสด็จหลีกไป วันรุ่งขึ้น พระองค์เสด็จกลับจากบิณฑบาต ทรงพักในพระคันธกุฎีหน่อยหนึ่ง ทรงเก็บเสนาสนะ ทรงบาตรและจีวรของพระองค์ ประทับในอากาศ ท่ามกลางสงฆ์ ตรัสพระคาถาทั้งหลายนี้ว่า :- คนพาลมีเสียงอื้ออึงเหมือนกันหมด แต่สักคนหนึ่งก็ไม่รู้สึกตนว่าเป็ นคนพาล เมื่อสงฆ์แตกกันก็ไม่รู้เหตุอื่นโดยยิ่งว่า สงฆ์แตกกันเพราะเรา. เพราะเป็ นคนมีสติหลงลืม แต่ยังพูดว่าตนเป็ นบัณฑิต มีวาจาเป็นอารมณ์ ช่างพูด ย่อมปรารถนาจะให้เสียงออกจากปากอยู่เพียงใด ก็พูดไปเพียงนั้น เขาถูกการทะเลาะนาไปแล้ว ยังไม่รู้ว่าการทะเลาะนั้นเป็ นโทษ. ก็ชนเหล่าใดเข้าไปผูกความโกรธนั้นไว้ว่า คนโน้นได้ด่าเรา คนโน้นได้ตีเรา คนโน้นได้ชนะเรา คนโน้นได้ลักของของเรา เวรของชนเหล่านั้น ย่อมไม่ระงับได้. ส่วนชนเหล่าใดไม่เข้าไปผูกความโกรธนั้นไว้ว่า คนโน้นได้ด่าเรา คนโน้นได้ตีเรา คนโน้นได้ชนะเรา คนโน้นได้ลักของของเรา เวรของชนเหล่านั้น ย่อมระงับไปได้. แต่ไหนแต่ไรมา ในโลกนี้เวรย่อมไม่ระงับด้วยเวร แต่ย่อมระงับได้ด้วยการไม่จองเวร ธรรมนี้เป็นของเก่า. ก็ชนเหล่าอื่นย่อมไม่รู้สึกว่า พวกเราจะพากันยุบยับในท่ามกลางสงฆ์นี้ ส่วนชนเหล่าใดในหมู่นั้นย่อมรู้สึกได้ ความหมายมั่นกันย่อมสงบระงับไป เพราะการทาไว้ในใจโดยแยบคายของชนเหล่านั้น. คนที่ปล้นแว่นแคว้นชิงทรัพย์สมบัติกันจนถึงปลงชีวิตลิดกระดูกกันแล้ ว ก็ยังกลับสามัคคีกันได้ เหตุไรพวกเธอจึงไม่สามัคคีกันเล่า. ถ้าจะพึงได้สหายผู้มีปัญญาเป็นนักปราชญ์ไปไหนไปด้วยกัน อยู่ด้วยช่วยทาประโยชน์ให้สาเร็จ ควรชื่นชมมีสติเที่ยวไปกับสหายนั้น จะครอบงาอันตรายทั้งปวงได้. ถ้าไม่พึงได้สหายผู้มีปัญญาเป็นนักปราชญ์ไปไหนไปด้วยกัน อยู่ด้วยช่วยทาประโยชน์ให้สาเร็จ พึงเที่ยวไปแต่ผู้เดียว
  • 5. 5 เหมือนพระราชาทรงสละแว่นแคว้น เสด็จไปแต่พระองค์เดียวฉะนั้น หรือเหมือนช้างมาตังคะเที่ยวไปในป่าแต่ผู้เดียวฉะนั้น. การเที่ยวไปผู้เดียวประเสริฐกว่า เพราะคุณคือความเป็ นสหายย่อมไม่มีในคนพาล ควรเที่ยวไปผู้เดียวแลไม่ควรทาบาป เหมือนช้างมาตังคะมีความขวนขวายน้อย เที่ยวไปในป่าแต่ผู้เดียวแลไม่ทาบาป ฉะนั้น. ข้อนี้มีพระบรมพุทธาธิบายว่า ภิกษุทั้งหลาย พระราชาผู้ทรงถืออาชญาสิทธิ์ยังสามัคคีกัน สมาคมกัน ทาสัมพันธไมตรีกันด้วยอาวาหและวิวาหมงคล แล้วทรงดื่มและทรงเสวยร่วมกันได้ถึงเพียงนี้ พวกเธอบวชในศาสนาเห็นปานนี้ ย่อมไม่อาจเพื่อสลัดแม้สักว่าเวรของตนออกได้ อะไรเป็ นภาวะแห่งภิกษุของพวกเธอเล่า. ท่านกล่าวอธิบายไว้ว่า ควรเที่ยวไปผู้เดียวและไม่ควรทาบาป เหมือนช้างมาตังคะผู้เลี้ยงดูมารดา เหมือนช้างสีลวหัตถี และเหมือนช้างปาริไลยกะ เที่ยวไปในป่าผู้เดียวและไม่ทาบาปฉะนั้น. พระศาสดาแม้ตรัสอย่างนี้แล้ว เมื่อยังไม่อาจให้ภิกษุเหล่านั้นปรองดองกันได้ จึงเสด็จไปยังพาลกโลณการามคาม ทรงแสดงอานิสงส์ในความเป็นผู้อยู่ผู้เดียวแก่พระภัคคุเถระ จากที่นั้นเสด็จไปถึงที่อยู่ของกุลบุตรสามคน ทรงแสดงอานิสงส์ในสามัคคีรสแก่กุลบุตรเหล่านั้น ต่อจากนั้นเสด็จไปถึงปาริไลยกไพรสณฑ์ ประทับอยู่ ณ ที่นั้นตลอดสามเดือน ไม่เสด็จมาเมืองโกสัมพีอีก เสด็จไปเมืองสาวัตถีเลย. พวกอุบาสกชาวเมืองโกสัมพีปรึกษากันว่า พระผู้เป็นเจ้าเหล่าภิกษุชาวโกสัมพีนี้ ทาความเสียหายให้แก่พวกเรามาก พระผู้มีพระภาคเจ้าทรงระอาภิกษุเหล่านี้ จึงหลีกไปเสีย พวกเราจักไม่กระทาสามีจิกรรมมีการกราบเป็นต้นแก่ภิกษุเหล่านี้เลย จักไม่ถวายบิณฑบาตแก่ท่านที่เข้ามาบิณฑบาต เมื่อทาเช่นนี้ภิกษุเหล่านี้จักหลีกไปบ้าง จักให้พระผู้มีพระภาคเจ้าเลื่อมใสบ้าง ดังนี้แล้วก็ทาตามที่ปรึกษากันนั้น ภิกษุเหล่านั้นถูกพวกอุบาสกลงทัณฑกรรมเช่นนั้นจึงพากันไปเมืองสา วัตถี กราบทูลขอขมาโทษต่อพระผู้มีพระภาคเจ้า. พระศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแล้ว ทรงประชุมชาดกว่า พระราชบิดาในครั้งนั้น ได้มาเป็น พระเจ้าสุทโธทนมหาราช ในบัดนี้
  • 6. 6 พระราชมารดาในครั้งนั้น ได้มาเป็น พระมหามายา ในบัดนี้ ทีฆาวุกุมารในครั้งนั้น ได้มาเป็น เราตถาคต ฉะนี้แล. จบ อรรถกถาโกสัมพิยชาดกที่ ๒ -----------------------------------------------------