SlideShare a Scribd company logo
1
สุมังคลชาดก
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๔. สุมังคลชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๒๐)
ว่าด้วยนายสุมังคละ
(พระราชาตรัสกับอามาตย์ว่า)
[๒๗] ผู้เป็นใหญ่รู้ตัวว่าเรากาลังโกรธจัดก็อย่าเพิ่งลงโทษ
เพราะผู้ลงโทษอันไม่เหมาะสมแก่ตนโดยขาดเหตุผลแล้ว
จะพึงก่อทุกข์ให้เกิดขึ้นแก่บุคคลอื่นอย่างมากมาย
[๒๘] เมื่อใดผู้เป็นใหญ่รู้สึกว่าตนมีจิตผ่องใส
พึงพิจารณาคดีที่คนอื่นทาผิด เมื่อพิจารณาด้วยตนเองว่า คดีเป็นอย่างนี้ๆ
เมื่อนั้นพึงลงโทษตามความเหมาะสมแก่เขา
[๒๙] ส่วนผู้ใดไม่ลาเอียง พิจารณาความเหมาะสมและไม่เหมาะสม
ผู้นั้นชื่อว่าไม่เบียดเบียนผู้อื่นและตนเอง
ผู้เป็นใหญ่คนใดในโลกนี้ลงโทษตามสมควร ผู้นั้นย่อมมีคุณงามความดีคุ้มครอง
ไม่เสื่อมจากสิริ
[๓๐] กษัตริย์เหล่าใดทรงลาเอียง ไม่ทรงพิจารณาก่อนกระทา
ทรงรีบลงพระอาชญา กษัตริย์เหล่านั้นมีโทษอันน่าติเตียน
สวรรคตพ้นจากโลกนี้ไปแล้วย่อมไปสู่ทุคติ
[๓๑] กษัตริย์เหล่าใดทรงยินดีในธรรมที่อริยชนประกาศไว้แล้ว
กษัตริย์เหล่านั้นนับว่าทรงยอดเยี่ยม ด้วยกายกรรม วจีกรรม และมโนกรรม
กษัตริย์เหล่านั้นทรงดารงมั่นอยู่ในธรรม คือ ขันติ โสรัจจะ และสมาธิ
ทรงไปสู่โลกทั้ง ๒ โดยวิธีเช่นนั้น
[๓๒] เราเป็ นพระราชาผู้เป็นใหญ่กว่าชายและหญิง
ถึงแม้เราจะโกรธก็จะหักห้ามความโกรธ ได้ดารงตนไว้อย่างนั้นต่อชุมชน
จะอนุเคราะห์ลงอาชญาโดยธรรม
(นายสุมังคละกล่าวสดุดีพระราชาว่า)
[๓๓] ขอเดชะพระบรมกษัตริย์ผู้เป็นใหญ่แห่งหมู่ชน
ขอพระสิริสมบัติอย่าได้ละพระองค์ในกาลไหนๆ เลย ขอพระองค์อย่าทรงกริ้ว
มีพระราชหฤทัยผ่องใสอยู่เป็นนิตย์ ปราศจากความทุกข์ รักษาพระองค์อยู่ตลอด
๑๐๐ ปีเถิด
[๓๔] ขอเดชะพระบรมกษัตริย์
ขอพระองค์จงทรงประกอบด้วยคุณธรรมเหล่านี้ คือ ทรงมีพระอริยวัตรอันมั่นคง
ทรงรับอนุสาสนีโดยง่าย ไม่ทรงกริ้ว ทรงพระสาราญ
2
ปกครองแผ่นดินโดยปราศจากการเบียดเบียน อนึ่ง
พระองค์แม้เสด็จพ้นจากโลกนี้ไปแล้ว ขอจงเสด็จสู่สุคติเถิด
[๓๕] พระธรรมิกราชาธิราชเมื่อทรงปกครองโดยกุศโลบาย
อันชอบธรรม ด้วยเหตุที่เหมาะสม ด้วยคาอันเป็นสุภาษิต
พึงทามหาชนผู้มีความกระวนกระวายให้เย็นใจ
ดุจมหาเมฆยังเมทนีดลให้ชุ่มฉ่าด้วยน้า
สุมังคลชาดกที่ ๔ จบ
------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
สุมังคลชาดก
ว่าด้วย คุณธรรมของกษัตริย์
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน
ทรงปรารภราโชวาทสูตร จึงตรัสเรื่องนี้ ดังนี้.
ก็ในครั้งนั้น พระศาสดา
อันพระเจ้าปเสนทิโกศลทูลอาราธนาให้ตรัสเรื่องราว
จึงได้ทรงนาเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :-
ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในนครพาราณสี
ทรงบาเพ็ญมหาทาน พระองค์มีคนเฝ้ าพระราชอุทยานคนหนึ่ง ชื่อสุมังคละ.
ครั้งนั้น พระปัจเจกพุทธเจ้าองค์หนึ่งออกจากเงื้อมภูเขานันทมูลกะ
จาริกไปถึงพระนครพาราณสี อาศัยอยู่ในพระราชอุทยาน
วันรุ่งขึ้นเข้าไปบิณฑบาตในพระนคร.
พระราชาทอดพระเนตรเห็นพระปัจเจกพุทธเจ้านั้นแล้ว ทรงเลื่อมใส
ไหว้แล้วนิมนต์ให้ขึ้นไปสู่ปราสาท นั่งบนราชอาสน์
ทรงอังคาสด้วยของเคี้ยวของฉันมีรสเลิศต่างๆ ครั้นได้ทรงสดับอนุโมทนาแล้ว
ทรงเลื่อมใสยิ่งขึ้น ขออาราธนาให้อยู่ในพระราชอุทยานของพระองค์
ส่วนพระปัจเจกพุทธเจ้าเสด็จไปพระราชอุทยาน
แม้พระองค์เองพอเสวยพระกระยาหารเช้าแล้ว ก็เสด็จไปจัดแจงที่พักกลางคืน
และที่พักกลางวันเป็ นต้น ให้คนเฝ้ าพระราชอุทยานทาหน้าที่ไวยาวัจจกร
แล้วเสด็จเข้าพระนคร.
จาเดิมแต่นั้นมา พระปัจเจกพุทธเจ้าก็ฉันที่พระราชมณเฑียรเป็ นนิตย์
อยู่ที่พระราชอุทยานนั้น สิ้นกาลนาน.
แม้นายสุมังคละก็บารุงพระปัจเจกพุทธเจ้าโดยเคารพ.
อยู่มาวันหนึ่ง พระปัจเจกพุทธเจ้าเรียกนายสุมังคละมาบอกว่า
เราจักอยู่อาศัยบ้านโน้น ๒-๓ วันแล้วจักมา ท่านจงกราบทูลพระราชาด้วย
ดังนี้แล้วก็หลีกไป. นายสุมังคละก็ได้กราบทูลพระราชาแล้ว.
3
พระปัจเจกพุทธเจ้าอยู่ที่บ้านนั้น ๒-๓ วัน เวลาเย็นพระอาทิตย์อัสดงคตแล้ว
กลับมาสู่พระราชอุทยาน. นายสุมังคละไม่รู้ว่าพระปัจเจกพุทธเจ้ามา
ได้ไปเรือนของตน.
พระปัจเจกพุทธเจ้าเก็บบาตรจีวร แล้วจงกรมหน่อยหนึ่ง
นั่งอยู่บนแผ่นหิน. ก็ในวันนั้นมีแขกมาเรือนของคนเฝ้ าพระราชอุทยานหลายคน
นายสุมังคละคิดว่า เราจักฆ่าเนื้อที่พระราชาไม่ห้ามในพระราชอุทยาน
เพื่อปรุงสูปะพยัญชนะเลี้ยงแขก จึงถือธนูไปสู่สวน
สอดสายตาหาเนื้อเห็นพระปัจเจกพุทธเจ้า เข้าใจว่า ชะรอยจักเป็นเนื้อใหญ่
จึงเอาลูกศรพาดสายยิงไป.
พระปัจเจกพุทธเจ้าเปิดผ้าคลุมศีรษะกล่าวว่า สุมังคละ. เขามีความกลัว
กล่าวว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ กระผมไม่รู้ว่าท่านมาแล้ว เข้าใจว่า เป็นเนื้อจึงยิงไป
ขอท่านได้โปรดงดโทษแก่กระผมเถิด. เมื่อพระปัจเจกพุทธเจ้ากล่าวว่า
ข้อนี้ยกไว้เถอะ บัดนี้ท่านจะกระทาอย่างไร จงมาถอนเอาลูกศรไปเสีย
เขาไหว้แล้วถอนลูกศร เวทนาเป็ นอันมากเกิดขึ้นแล้ว.
พระปัจเจกพุทธเจ้าปรินิพพาน ณ ที่นั้นเอง. คนเฝ้ าสวนคิดว่า
ถ้าพระราชาทรงทราบจักไม่ยอมไว้ชีวิตเรา จึงพาลูกเมียหนีไป.
ในทันใดนั้นเอง
ด้วยเทวานุภาพได้ดลบันดาลให้เกิดโกลาหลทั่วพระนครว่า
พระปัจเจกพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว.
วันรุ่งขึ้น ผู้คนพากันไปพระราชอุทยาน เห็นพระปัจเจกพุทธเจ้าแล้ว
กราบทูลพระราชาว่า คนเฝ้ าสวนฆ่าพระปัจเจกพุทธเจ้าแล้วหนีไป.
พระราชาเสด็จไปด้วยบริวารเป็ นอันมาก ทรงบูชาศพเจ็ดวัน
แล้วทรงทาฌาปนกิจด้วยสักการะใหญ่ เก็บพระธาตุ ก่อพระเจดีย์บรรจุพระธาตุ
บูชาพระเจดีย์นั้น ครอบครองราชสมบัติโดยธรรม.
ฝ่ายนายสุมังคละ พอล่วงไปหนึ่งปี คิดว่า
เราจักรู้วาระน้าจิตของพระราชา จึงมาหาอามาตย์คนหนึ่ง กล่าวว่า ท่านจงรู้ว่า
พระราชาทรงรู้สึกในเราอย่างไร?
อามาตย์นั้นกล่าวพรรณนาคุณของนายสุมังคละในสานักของพระราชา.
พระราชาทาเป็นไม่ได้ยินเสีย. อามาตย์ไม่ได้กล่าวอะไรๆ อีก
กลับมาบอกนายสุมังคละว่า พระราชาทรงไม่พอพระทัย.
พอล่วงไปปีที่สอง นายสุมังคละย้อนมาอีก
พระราชาได้ทรงนิ่งเสียเช่นคราวก่อน.
พอล่วงไปปีที่สาม นายสุมังคละได้พาลูกเมียมา. อามาตย์รู้ว่า
พระราชามีพระทัยอ่อนลงแล้ว จึงพานายสุมังคละไปยืนที่ประตูพระราชวัง
แล้วกราบทูลพระราชาว่า นายสุมังคละมา.
4
พระราชารับสั่งให้เรียกนายสุมังคละมา ทรงทาปฏิสันถาร แล้วตรัสว่า สุมังคละ
เหตุไรท่านจึงฆ่าพระปัจเจกพุทธเจ้าผู้เป็นบุญเขตของเราเสีย?
นายสุมังคละกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้สมมติเทพ
ข้าพระองค์มิได้มีเจตนาฆ่าพระปัจเจกพุทธเจ้า ข้าพระองค์เข้าใจผิด
คิดว่าเป็นเนื้อจึงได้ยิงไป
ดังนี้แล้วได้กราบทูลเหตุการณ์ที่เป็นมานั้นให้ทรงทราบ.
ลาดับนั้น พระราชาทรงปลอบโยนเขาว่า ถ้าเช่นนั้น ท่านอย่ากลัวเลย
แล้วตั้งให้เป็ นผู้เฝ้ าพระราชอุทยานอีก.
ลาดับนั้น อามาตย์ได้กราบทูลถามว่า ข้าแต่พระองค์ผู้สมมติเทพ
เหตุไรพระองค์ แม้ได้ฟังคุณของนายสุมังคละถึง ๒ ครั้ง ก็ไม่ตรัสอะไรๆ
แต่พอได้ฟังในครั้งที่ ๓ เหตุไรจึงทรงเรียกมาอนุเคราะห์.
พระราชาตรัสว่า แน่ะพ่อ ธรรมดาพระราชากาลังพิโรธ
ทาอะไรลงไปด้วยความผลุนผลันไม่สมควร ฉะนั้นครั้งก่อนๆ เราจึงนิ่งเสีย ครั้งที่
๓ เรารู้ใจของเราว่า ความโกรธนายสุมังคละอ่อนลงแล้ว จึงให้เรียกเขามา ดังนี้
เมื่อจะทรงแสดงราชวัตร ได้ตรัสคาถาเหล่านี้ความว่า :-
พระเจ้าแผ่นดินทรงรู้ว่า
เรากาลังกริ้วจัดไม่พึงลงอาชญาอันไม่สมควรแก่ตนโดยไม่ใช่ฐานะก่อน
พึงเพิกถอนความทุกข์ของผู้อื่นอย่างร้ายแรงไว้.
เมื่อใดพึงรู้ว่าจิตของตนผ่องใส พึงใคร่ครวญความผิดที่ผู้อื่นทาไว้
พึงพิจารณาให้เห็นแจ่มแจ้งด้วยตนเองว่า นี่ส่วนประโยชน์ นี่ส่วนโทษ
เมื่อนั้นจึงปรับไหมบุคคลนั้นๆ ตามสมควร.
อนึ่ง พระเจ้าแผ่นดินพระองค์ใดไม่ถูกอคติครอบงา
ย่อมแนะนาผู้อื่นที่ควรแนะนาและไม่ควรแนะนาได้ พระเจ้าแผ่นดินพระองค์นั้น
ชื่อว่าไม่เผาผู้อื่นและพระองค์เอง
พระเจ้าแผ่นดินพระองค์ใดในโลกนี้ ทรงลงอาชญาสมควรแก่โทษ
พระเจ้าแผ่นดินพระองค์นั้น อันคุณงามความดีคุ้มครองแล้ว ย่อมไม่เสื่อมจากสิริ.
กษัตริย์เหล่าใดถูกอคติครอบงา ไม่ทรงพิจารณาเสียก่อนแล้วทาลงไป
ทรงลงอาชญาโดยผลุนผลัน กษัตริย์เหล่านั้นประกอบไปด้วยโทษน่าติเตียน
ย่อมละทิ้งชีวิตไป และพ้นไปจากโลกนี้แล้วก็ย่อมไปสู่ทุคติ.
พระราชาเหล่าใดทรงยินดีแล้วในทศพิธราชธรรม
อันพระอริยเจ้าประกาศไว้ พระราชาเหล่านั้นเป็ นผู้ประเสริฐด้วยกาย วาจาและใจ
พระราชาเหล่านั้นทรงดารงมั่นอยู่แล้วในขันติโสรัจจะ และสมาธิ
ย่อมถึงโลกทั้งสอง โดยวิธีอย่างนั้น.
เราเป็นพระราชาผู้เป็ นใหญ่ของสัตว์และมนุษย์ทั้งหลาย
ถ้าเราโกรธขึ้นมา เราก็ตั้งตนไว้ในแบบอย่างที่โบราณราชแต่งตั้งไว้
5
คอยห้ามปรามประชาชนอยู่อย่างนั้น ลงอาชญาโดยอุบายอันแยบคาย
ด้วยความปราณี.
ท่านกล่าวอธิบายไว้ดังนี้.
แน่ะพ่อ ธรรมดาพระราชาผู้เป็ นใหญ่ในแผ่นดินรู้ว่า เรากาลังโกรธจัด
คือถูกความโกรธที่มีกาลังครอบงา ไม่พึงด่วนลงอาชญาอันต่างด้วยอาชญามีวัตถุ
๘ ประการเป็ นต้น ต่อผู้อื่น คือไม่พึงยังอาชญาให้เป็นไป.
เพราะเหตุไร?
เพราะว่า พระราชาทรงกริ้วแล้วไม่พึงรีบลงอาชญา ๘ อย่าง ๑๖
อย่างโดยอฐานะ คือโดยเหตุอันไม่บังควร ไม่พึงรับสั่งให้เขานาสินไหมมาเท่านี้
หรือให้ลงทัณฑ์นี้แก่เขา ซึ่งไม่สมควรแก่ความเป็ นพระราชาของตน
พึงถอนความทุกข์ร้ายแรง คือทุกข์ที่มีกาลังของผู้อื่นเสีย.
ท่านกล่าวคาอธิบายไว้ดังนี้
ก็เมื่อใด พระราชารู้ความผ่องใสแห่งจิตของตนซึ่งเกิดขึ้นในผู้อื่น
พึงประกอบคือกาหนดความผิด คือคดีที่ผู้อื่นทาไว้แผนกหนึ่ง
เมื่อนั้นทรงใคร่ครวญอย่างนี้แล้ว พึงทาข้อความให้แจ่มแจ้งด้วยตนเองว่า
ในคดีนี้ นี้เป็ นส่วนประโยชน์ นี้เป็ นส่วนโทษของผู้นั้น ดังนี้แล้ว
จึงเรียกเอาทรัพย์ของผู้ทาผิดนั้น ๘ กหาปณะหรือ ๑๖ กหาปณะ
ให้พอแก่แปดหรือสิบหกกระทง มาตั้งลงปรับไหมคล้ายลงอาชญา
คือใช้แทนโทษ.
อนึ่ง พระเจ้าแผ่นดินพระองค์ใด ไม่ถูกกิเลสมีฉันทาคติเป็นต้น
แปดเปื้อนครอบงา ย่อมแนะนาคือกาหนดรู้ผู้ควรแนะนา และไม่ควรแนะนาได้
พระเจ้าแผ่นดินพระองค์นั้น ชื่อว่าไม่เผาผู้อื่น และไม่เผาพระองค์เอง.
อธิบายว่า
พระเจ้าแผ่นดินลงพระอาชญาโดยหาเหตุมิได้ด้วยอานาจแห่งอคติมีฉันทาคติเป็น
ต้น ชื่อว่าย่อมเผา คือทาให้ไหม้ได้แก่เบียดเบียนทั้งผู้อื่น ทั้งพระองค์เอง
เพราะบาปกรรมมีฉันทาคติเป็นต้นนั้นเป็ นเหตุ ก็พระราชาเช่นนี้ชื่อว่าเผาผู้อื่น
เผาพระองค์เองด้วยประการฉะนี้.
เมื่อพระเจ้าพรหมทัตตรัสแสดงคุณของพระองค์ด้วยคาถา ๖
คาถาอย่างนี้แล้ว ราชบริษัททั้งหมดพากันชื่นชมยินดี
กล่าวสรรเสริญคุณของพระราชาว่า คุณสมบัติคือศีลและอาจาระนี้
สมควรแก่พวกเราทีเดียว.
ส่วนนายสุมังคละ เมื่อพวกบริษัทกล่าวจบแล้ว
ก็ลุกขึ้นถวายบังคมพระราชา ประคองอัญชลีกล่าวสรรเสริญพระราชา
ได้กล่าวคาถา ๓ คาถาความว่า :-
ข้าแต่กษัตริย์ผู้ชนาธิปัตย์ บริวารสมบัติ และปัญญา
6
มิได้ละพระองค์ในกาลไหนๆ เลย พระองค์มิได้มักกริ้วโกรธ
มีพระหฤทัยผ่องใสอยู่เป็นนิตย์ ขอพระองค์ทรงปราศจากทุกข์ บารุงพระชนม์ชีพ
ยืนอยู่ตลอดร้อยพรรษาเถิด.
ข้าแต่กษัตริย์ ขอพระองค์จงประกอบด้วยคุณธรรมเหล่านี้
คือโบราณราชวัตรมั่นคง พระราชทานอภัยให้ทูลเตือนได้ ไม่ทรงกริ้วโกรธ
มีความสุขสาราญไม่เดือดร้อน ปกครองแผ่นดินให้ร่มเย็น
แม้จุติจากโลกนี้ไปแล้ว ก็จงทรงถึงสุคติเถิด.
พระเจ้าธรรมิกราชทรงฉลาดในอุบาย
เมื่อครองราชสมบัติด้วยอุบายอันเป็นธรรม คือกุศลกรรมบถ ๑๐
อันบัณฑิตแนะนากล่าวไว้ดีแล้วอย่างนี้ พึงยังมหาชนผู้กาเริบร้อนกายและจิต
ให้ดับหายไป เหมือนมหาเมฆ ยังแผ่นดินให้ชุ่มชื้นด้วยน้า ฉะนั้น.
ความว่า เมื่อนายสุมังคละจะแสดงความว่า พระเจ้าธรรมิกราช
เมื่อบาบัดความกระวนกระวายทางกายและทางใจ ได้ด้วยข้อปฏิบัตินี้ ชื่อว่า
พึงทามหาชนผู้กาเริบร้อนด้วยทุกข์กายทุกข์ใจ ให้ดับเย็นได้
เหมือนมหาเมฆยังแผ่นดินให้ชุ่มชื่นด้วยน้าฉะนั้น
ขอพระองค์จงทามหาชนให้ดับเข็ญ เช่นนั้นเถิด.
พระศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแสดงด้วยการประทานโ
อวาทแก่พระเจ้าโกศลแล้ว ทรงประชุมชาดกว่า
พระปัจเจกพุทธเจ้าในครั้งนั้น ได้ปรินิพพานแล้ว
นายสุมังคละ คนเฝ้ าพระราชอุทยานในครั้งนั้น
ได้มาเป็น พระอานนท์ ในบัดนี้
พระราชาในครั้งนั้น ได้มาเป็น เราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถาสุมังคลชาดกที่ ๔
-----------------------------------------------------

More Related Content

More from maruay songtanin

530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 

420 สุมังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

  • 1. 1 สุมังคลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ ๔. สุมังคลชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๔๒๐) ว่าด้วยนายสุมังคละ (พระราชาตรัสกับอามาตย์ว่า) [๒๗] ผู้เป็นใหญ่รู้ตัวว่าเรากาลังโกรธจัดก็อย่าเพิ่งลงโทษ เพราะผู้ลงโทษอันไม่เหมาะสมแก่ตนโดยขาดเหตุผลแล้ว จะพึงก่อทุกข์ให้เกิดขึ้นแก่บุคคลอื่นอย่างมากมาย [๒๘] เมื่อใดผู้เป็นใหญ่รู้สึกว่าตนมีจิตผ่องใส พึงพิจารณาคดีที่คนอื่นทาผิด เมื่อพิจารณาด้วยตนเองว่า คดีเป็นอย่างนี้ๆ เมื่อนั้นพึงลงโทษตามความเหมาะสมแก่เขา [๒๙] ส่วนผู้ใดไม่ลาเอียง พิจารณาความเหมาะสมและไม่เหมาะสม ผู้นั้นชื่อว่าไม่เบียดเบียนผู้อื่นและตนเอง ผู้เป็นใหญ่คนใดในโลกนี้ลงโทษตามสมควร ผู้นั้นย่อมมีคุณงามความดีคุ้มครอง ไม่เสื่อมจากสิริ [๓๐] กษัตริย์เหล่าใดทรงลาเอียง ไม่ทรงพิจารณาก่อนกระทา ทรงรีบลงพระอาชญา กษัตริย์เหล่านั้นมีโทษอันน่าติเตียน สวรรคตพ้นจากโลกนี้ไปแล้วย่อมไปสู่ทุคติ [๓๑] กษัตริย์เหล่าใดทรงยินดีในธรรมที่อริยชนประกาศไว้แล้ว กษัตริย์เหล่านั้นนับว่าทรงยอดเยี่ยม ด้วยกายกรรม วจีกรรม และมโนกรรม กษัตริย์เหล่านั้นทรงดารงมั่นอยู่ในธรรม คือ ขันติ โสรัจจะ และสมาธิ ทรงไปสู่โลกทั้ง ๒ โดยวิธีเช่นนั้น [๓๒] เราเป็ นพระราชาผู้เป็นใหญ่กว่าชายและหญิง ถึงแม้เราจะโกรธก็จะหักห้ามความโกรธ ได้ดารงตนไว้อย่างนั้นต่อชุมชน จะอนุเคราะห์ลงอาชญาโดยธรรม (นายสุมังคละกล่าวสดุดีพระราชาว่า) [๓๓] ขอเดชะพระบรมกษัตริย์ผู้เป็นใหญ่แห่งหมู่ชน ขอพระสิริสมบัติอย่าได้ละพระองค์ในกาลไหนๆ เลย ขอพระองค์อย่าทรงกริ้ว มีพระราชหฤทัยผ่องใสอยู่เป็นนิตย์ ปราศจากความทุกข์ รักษาพระองค์อยู่ตลอด ๑๐๐ ปีเถิด [๓๔] ขอเดชะพระบรมกษัตริย์ ขอพระองค์จงทรงประกอบด้วยคุณธรรมเหล่านี้ คือ ทรงมีพระอริยวัตรอันมั่นคง ทรงรับอนุสาสนีโดยง่าย ไม่ทรงกริ้ว ทรงพระสาราญ
  • 2. 2 ปกครองแผ่นดินโดยปราศจากการเบียดเบียน อนึ่ง พระองค์แม้เสด็จพ้นจากโลกนี้ไปแล้ว ขอจงเสด็จสู่สุคติเถิด [๓๕] พระธรรมิกราชาธิราชเมื่อทรงปกครองโดยกุศโลบาย อันชอบธรรม ด้วยเหตุที่เหมาะสม ด้วยคาอันเป็นสุภาษิต พึงทามหาชนผู้มีความกระวนกระวายให้เย็นใจ ดุจมหาเมฆยังเมทนีดลให้ชุ่มฉ่าด้วยน้า สุมังคลชาดกที่ ๔ จบ ------------------ คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา สุมังคลชาดก ว่าด้วย คุณธรรมของกษัตริย์ พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระวิหารเชตวัน ทรงปรารภราโชวาทสูตร จึงตรัสเรื่องนี้ ดังนี้. ก็ในครั้งนั้น พระศาสดา อันพระเจ้าปเสนทิโกศลทูลอาราธนาให้ตรัสเรื่องราว จึงได้ทรงนาเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :- ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในนครพาราณสี ทรงบาเพ็ญมหาทาน พระองค์มีคนเฝ้ าพระราชอุทยานคนหนึ่ง ชื่อสุมังคละ. ครั้งนั้น พระปัจเจกพุทธเจ้าองค์หนึ่งออกจากเงื้อมภูเขานันทมูลกะ จาริกไปถึงพระนครพาราณสี อาศัยอยู่ในพระราชอุทยาน วันรุ่งขึ้นเข้าไปบิณฑบาตในพระนคร. พระราชาทอดพระเนตรเห็นพระปัจเจกพุทธเจ้านั้นแล้ว ทรงเลื่อมใส ไหว้แล้วนิมนต์ให้ขึ้นไปสู่ปราสาท นั่งบนราชอาสน์ ทรงอังคาสด้วยของเคี้ยวของฉันมีรสเลิศต่างๆ ครั้นได้ทรงสดับอนุโมทนาแล้ว ทรงเลื่อมใสยิ่งขึ้น ขออาราธนาให้อยู่ในพระราชอุทยานของพระองค์ ส่วนพระปัจเจกพุทธเจ้าเสด็จไปพระราชอุทยาน แม้พระองค์เองพอเสวยพระกระยาหารเช้าแล้ว ก็เสด็จไปจัดแจงที่พักกลางคืน และที่พักกลางวันเป็ นต้น ให้คนเฝ้ าพระราชอุทยานทาหน้าที่ไวยาวัจจกร แล้วเสด็จเข้าพระนคร. จาเดิมแต่นั้นมา พระปัจเจกพุทธเจ้าก็ฉันที่พระราชมณเฑียรเป็ นนิตย์ อยู่ที่พระราชอุทยานนั้น สิ้นกาลนาน. แม้นายสุมังคละก็บารุงพระปัจเจกพุทธเจ้าโดยเคารพ. อยู่มาวันหนึ่ง พระปัจเจกพุทธเจ้าเรียกนายสุมังคละมาบอกว่า เราจักอยู่อาศัยบ้านโน้น ๒-๓ วันแล้วจักมา ท่านจงกราบทูลพระราชาด้วย ดังนี้แล้วก็หลีกไป. นายสุมังคละก็ได้กราบทูลพระราชาแล้ว.
  • 3. 3 พระปัจเจกพุทธเจ้าอยู่ที่บ้านนั้น ๒-๓ วัน เวลาเย็นพระอาทิตย์อัสดงคตแล้ว กลับมาสู่พระราชอุทยาน. นายสุมังคละไม่รู้ว่าพระปัจเจกพุทธเจ้ามา ได้ไปเรือนของตน. พระปัจเจกพุทธเจ้าเก็บบาตรจีวร แล้วจงกรมหน่อยหนึ่ง นั่งอยู่บนแผ่นหิน. ก็ในวันนั้นมีแขกมาเรือนของคนเฝ้ าพระราชอุทยานหลายคน นายสุมังคละคิดว่า เราจักฆ่าเนื้อที่พระราชาไม่ห้ามในพระราชอุทยาน เพื่อปรุงสูปะพยัญชนะเลี้ยงแขก จึงถือธนูไปสู่สวน สอดสายตาหาเนื้อเห็นพระปัจเจกพุทธเจ้า เข้าใจว่า ชะรอยจักเป็นเนื้อใหญ่ จึงเอาลูกศรพาดสายยิงไป. พระปัจเจกพุทธเจ้าเปิดผ้าคลุมศีรษะกล่าวว่า สุมังคละ. เขามีความกลัว กล่าวว่า ข้าแต่ท่านผู้เจริญ กระผมไม่รู้ว่าท่านมาแล้ว เข้าใจว่า เป็นเนื้อจึงยิงไป ขอท่านได้โปรดงดโทษแก่กระผมเถิด. เมื่อพระปัจเจกพุทธเจ้ากล่าวว่า ข้อนี้ยกไว้เถอะ บัดนี้ท่านจะกระทาอย่างไร จงมาถอนเอาลูกศรไปเสีย เขาไหว้แล้วถอนลูกศร เวทนาเป็ นอันมากเกิดขึ้นแล้ว. พระปัจเจกพุทธเจ้าปรินิพพาน ณ ที่นั้นเอง. คนเฝ้ าสวนคิดว่า ถ้าพระราชาทรงทราบจักไม่ยอมไว้ชีวิตเรา จึงพาลูกเมียหนีไป. ในทันใดนั้นเอง ด้วยเทวานุภาพได้ดลบันดาลให้เกิดโกลาหลทั่วพระนครว่า พระปัจเจกพุทธเจ้าปรินิพพานแล้ว. วันรุ่งขึ้น ผู้คนพากันไปพระราชอุทยาน เห็นพระปัจเจกพุทธเจ้าแล้ว กราบทูลพระราชาว่า คนเฝ้ าสวนฆ่าพระปัจเจกพุทธเจ้าแล้วหนีไป. พระราชาเสด็จไปด้วยบริวารเป็ นอันมาก ทรงบูชาศพเจ็ดวัน แล้วทรงทาฌาปนกิจด้วยสักการะใหญ่ เก็บพระธาตุ ก่อพระเจดีย์บรรจุพระธาตุ บูชาพระเจดีย์นั้น ครอบครองราชสมบัติโดยธรรม. ฝ่ายนายสุมังคละ พอล่วงไปหนึ่งปี คิดว่า เราจักรู้วาระน้าจิตของพระราชา จึงมาหาอามาตย์คนหนึ่ง กล่าวว่า ท่านจงรู้ว่า พระราชาทรงรู้สึกในเราอย่างไร? อามาตย์นั้นกล่าวพรรณนาคุณของนายสุมังคละในสานักของพระราชา. พระราชาทาเป็นไม่ได้ยินเสีย. อามาตย์ไม่ได้กล่าวอะไรๆ อีก กลับมาบอกนายสุมังคละว่า พระราชาทรงไม่พอพระทัย. พอล่วงไปปีที่สอง นายสุมังคละย้อนมาอีก พระราชาได้ทรงนิ่งเสียเช่นคราวก่อน. พอล่วงไปปีที่สาม นายสุมังคละได้พาลูกเมียมา. อามาตย์รู้ว่า พระราชามีพระทัยอ่อนลงแล้ว จึงพานายสุมังคละไปยืนที่ประตูพระราชวัง แล้วกราบทูลพระราชาว่า นายสุมังคละมา.
  • 4. 4 พระราชารับสั่งให้เรียกนายสุมังคละมา ทรงทาปฏิสันถาร แล้วตรัสว่า สุมังคละ เหตุไรท่านจึงฆ่าพระปัจเจกพุทธเจ้าผู้เป็นบุญเขตของเราเสีย? นายสุมังคละกราบทูลว่า ข้าแต่พระองค์ผู้สมมติเทพ ข้าพระองค์มิได้มีเจตนาฆ่าพระปัจเจกพุทธเจ้า ข้าพระองค์เข้าใจผิด คิดว่าเป็นเนื้อจึงได้ยิงไป ดังนี้แล้วได้กราบทูลเหตุการณ์ที่เป็นมานั้นให้ทรงทราบ. ลาดับนั้น พระราชาทรงปลอบโยนเขาว่า ถ้าเช่นนั้น ท่านอย่ากลัวเลย แล้วตั้งให้เป็ นผู้เฝ้ าพระราชอุทยานอีก. ลาดับนั้น อามาตย์ได้กราบทูลถามว่า ข้าแต่พระองค์ผู้สมมติเทพ เหตุไรพระองค์ แม้ได้ฟังคุณของนายสุมังคละถึง ๒ ครั้ง ก็ไม่ตรัสอะไรๆ แต่พอได้ฟังในครั้งที่ ๓ เหตุไรจึงทรงเรียกมาอนุเคราะห์. พระราชาตรัสว่า แน่ะพ่อ ธรรมดาพระราชากาลังพิโรธ ทาอะไรลงไปด้วยความผลุนผลันไม่สมควร ฉะนั้นครั้งก่อนๆ เราจึงนิ่งเสีย ครั้งที่ ๓ เรารู้ใจของเราว่า ความโกรธนายสุมังคละอ่อนลงแล้ว จึงให้เรียกเขามา ดังนี้ เมื่อจะทรงแสดงราชวัตร ได้ตรัสคาถาเหล่านี้ความว่า :- พระเจ้าแผ่นดินทรงรู้ว่า เรากาลังกริ้วจัดไม่พึงลงอาชญาอันไม่สมควรแก่ตนโดยไม่ใช่ฐานะก่อน พึงเพิกถอนความทุกข์ของผู้อื่นอย่างร้ายแรงไว้. เมื่อใดพึงรู้ว่าจิตของตนผ่องใส พึงใคร่ครวญความผิดที่ผู้อื่นทาไว้ พึงพิจารณาให้เห็นแจ่มแจ้งด้วยตนเองว่า นี่ส่วนประโยชน์ นี่ส่วนโทษ เมื่อนั้นจึงปรับไหมบุคคลนั้นๆ ตามสมควร. อนึ่ง พระเจ้าแผ่นดินพระองค์ใดไม่ถูกอคติครอบงา ย่อมแนะนาผู้อื่นที่ควรแนะนาและไม่ควรแนะนาได้ พระเจ้าแผ่นดินพระองค์นั้น ชื่อว่าไม่เผาผู้อื่นและพระองค์เอง พระเจ้าแผ่นดินพระองค์ใดในโลกนี้ ทรงลงอาชญาสมควรแก่โทษ พระเจ้าแผ่นดินพระองค์นั้น อันคุณงามความดีคุ้มครองแล้ว ย่อมไม่เสื่อมจากสิริ. กษัตริย์เหล่าใดถูกอคติครอบงา ไม่ทรงพิจารณาเสียก่อนแล้วทาลงไป ทรงลงอาชญาโดยผลุนผลัน กษัตริย์เหล่านั้นประกอบไปด้วยโทษน่าติเตียน ย่อมละทิ้งชีวิตไป และพ้นไปจากโลกนี้แล้วก็ย่อมไปสู่ทุคติ. พระราชาเหล่าใดทรงยินดีแล้วในทศพิธราชธรรม อันพระอริยเจ้าประกาศไว้ พระราชาเหล่านั้นเป็ นผู้ประเสริฐด้วยกาย วาจาและใจ พระราชาเหล่านั้นทรงดารงมั่นอยู่แล้วในขันติโสรัจจะ และสมาธิ ย่อมถึงโลกทั้งสอง โดยวิธีอย่างนั้น. เราเป็นพระราชาผู้เป็ นใหญ่ของสัตว์และมนุษย์ทั้งหลาย ถ้าเราโกรธขึ้นมา เราก็ตั้งตนไว้ในแบบอย่างที่โบราณราชแต่งตั้งไว้
  • 5. 5 คอยห้ามปรามประชาชนอยู่อย่างนั้น ลงอาชญาโดยอุบายอันแยบคาย ด้วยความปราณี. ท่านกล่าวอธิบายไว้ดังนี้. แน่ะพ่อ ธรรมดาพระราชาผู้เป็ นใหญ่ในแผ่นดินรู้ว่า เรากาลังโกรธจัด คือถูกความโกรธที่มีกาลังครอบงา ไม่พึงด่วนลงอาชญาอันต่างด้วยอาชญามีวัตถุ ๘ ประการเป็ นต้น ต่อผู้อื่น คือไม่พึงยังอาชญาให้เป็นไป. เพราะเหตุไร? เพราะว่า พระราชาทรงกริ้วแล้วไม่พึงรีบลงอาชญา ๘ อย่าง ๑๖ อย่างโดยอฐานะ คือโดยเหตุอันไม่บังควร ไม่พึงรับสั่งให้เขานาสินไหมมาเท่านี้ หรือให้ลงทัณฑ์นี้แก่เขา ซึ่งไม่สมควรแก่ความเป็ นพระราชาของตน พึงถอนความทุกข์ร้ายแรง คือทุกข์ที่มีกาลังของผู้อื่นเสีย. ท่านกล่าวคาอธิบายไว้ดังนี้ ก็เมื่อใด พระราชารู้ความผ่องใสแห่งจิตของตนซึ่งเกิดขึ้นในผู้อื่น พึงประกอบคือกาหนดความผิด คือคดีที่ผู้อื่นทาไว้แผนกหนึ่ง เมื่อนั้นทรงใคร่ครวญอย่างนี้แล้ว พึงทาข้อความให้แจ่มแจ้งด้วยตนเองว่า ในคดีนี้ นี้เป็ นส่วนประโยชน์ นี้เป็ นส่วนโทษของผู้นั้น ดังนี้แล้ว จึงเรียกเอาทรัพย์ของผู้ทาผิดนั้น ๘ กหาปณะหรือ ๑๖ กหาปณะ ให้พอแก่แปดหรือสิบหกกระทง มาตั้งลงปรับไหมคล้ายลงอาชญา คือใช้แทนโทษ. อนึ่ง พระเจ้าแผ่นดินพระองค์ใด ไม่ถูกกิเลสมีฉันทาคติเป็นต้น แปดเปื้อนครอบงา ย่อมแนะนาคือกาหนดรู้ผู้ควรแนะนา และไม่ควรแนะนาได้ พระเจ้าแผ่นดินพระองค์นั้น ชื่อว่าไม่เผาผู้อื่น และไม่เผาพระองค์เอง. อธิบายว่า พระเจ้าแผ่นดินลงพระอาชญาโดยหาเหตุมิได้ด้วยอานาจแห่งอคติมีฉันทาคติเป็น ต้น ชื่อว่าย่อมเผา คือทาให้ไหม้ได้แก่เบียดเบียนทั้งผู้อื่น ทั้งพระองค์เอง เพราะบาปกรรมมีฉันทาคติเป็นต้นนั้นเป็ นเหตุ ก็พระราชาเช่นนี้ชื่อว่าเผาผู้อื่น เผาพระองค์เองด้วยประการฉะนี้. เมื่อพระเจ้าพรหมทัตตรัสแสดงคุณของพระองค์ด้วยคาถา ๖ คาถาอย่างนี้แล้ว ราชบริษัททั้งหมดพากันชื่นชมยินดี กล่าวสรรเสริญคุณของพระราชาว่า คุณสมบัติคือศีลและอาจาระนี้ สมควรแก่พวกเราทีเดียว. ส่วนนายสุมังคละ เมื่อพวกบริษัทกล่าวจบแล้ว ก็ลุกขึ้นถวายบังคมพระราชา ประคองอัญชลีกล่าวสรรเสริญพระราชา ได้กล่าวคาถา ๓ คาถาความว่า :- ข้าแต่กษัตริย์ผู้ชนาธิปัตย์ บริวารสมบัติ และปัญญา
  • 6. 6 มิได้ละพระองค์ในกาลไหนๆ เลย พระองค์มิได้มักกริ้วโกรธ มีพระหฤทัยผ่องใสอยู่เป็นนิตย์ ขอพระองค์ทรงปราศจากทุกข์ บารุงพระชนม์ชีพ ยืนอยู่ตลอดร้อยพรรษาเถิด. ข้าแต่กษัตริย์ ขอพระองค์จงประกอบด้วยคุณธรรมเหล่านี้ คือโบราณราชวัตรมั่นคง พระราชทานอภัยให้ทูลเตือนได้ ไม่ทรงกริ้วโกรธ มีความสุขสาราญไม่เดือดร้อน ปกครองแผ่นดินให้ร่มเย็น แม้จุติจากโลกนี้ไปแล้ว ก็จงทรงถึงสุคติเถิด. พระเจ้าธรรมิกราชทรงฉลาดในอุบาย เมื่อครองราชสมบัติด้วยอุบายอันเป็นธรรม คือกุศลกรรมบถ ๑๐ อันบัณฑิตแนะนากล่าวไว้ดีแล้วอย่างนี้ พึงยังมหาชนผู้กาเริบร้อนกายและจิต ให้ดับหายไป เหมือนมหาเมฆ ยังแผ่นดินให้ชุ่มชื้นด้วยน้า ฉะนั้น. ความว่า เมื่อนายสุมังคละจะแสดงความว่า พระเจ้าธรรมิกราช เมื่อบาบัดความกระวนกระวายทางกายและทางใจ ได้ด้วยข้อปฏิบัตินี้ ชื่อว่า พึงทามหาชนผู้กาเริบร้อนด้วยทุกข์กายทุกข์ใจ ให้ดับเย็นได้ เหมือนมหาเมฆยังแผ่นดินให้ชุ่มชื่นด้วยน้าฉะนั้น ขอพระองค์จงทามหาชนให้ดับเข็ญ เช่นนั้นเถิด. พระศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแสดงด้วยการประทานโ อวาทแก่พระเจ้าโกศลแล้ว ทรงประชุมชาดกว่า พระปัจเจกพุทธเจ้าในครั้งนั้น ได้ปรินิพพานแล้ว นายสุมังคละ คนเฝ้ าพระราชอุทยานในครั้งนั้น ได้มาเป็น พระอานนท์ ในบัดนี้ พระราชาในครั้งนั้น ได้มาเป็น เราตถาคต ฉะนี้แล. จบ อรรถกถาสุมังคลชาดกที่ ๔ -----------------------------------------------------