SlideShare a Scribd company logo
1 of 2
3.1 หลักการชุบเคลือบผิวด้วยพลาสติก
3.1.1 ประเภทของพลาสติก
1. การชุบพลาสติก (Plating on plastics)
ปัจจุบันพลาสติกมีบทบาทในการชุบเป็นอย่างมาก ทั้งนี้เนื่องจากว่าพลาสติกมีน้าหนักเบา ราคาถูก และไม่เป็นสนิม
เหมือนโลหะ ทนการกัดกร่อนได้ดี การขึ้นรูปที่ซับซ้อนได้ง่ายกว่าโลหะ แม้ว่าการทนต่อความร้อนและความแข็งของ
พลาสติกจะไม่ดีเท่าโลหะ แต่ปัจจุบันได้มีการเติมสารบางอย่างลงไปในพลาสติกซึ่งทาให้พลาสติกมีความแข็งเพิ่มขึ้น
1.1 ประเภทของพลาสติก พลาสติกที่ใช้กันอยู่ทั่วไปนั้นสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้ดังนี้
1. เทอร์โมพลาสติก (Thermoplastic) เป็นพลาสติกเนื้อก่อนไม่แข็งมาก ทนความร้อนได้ไม่มากนัก และสามารถแปร
รูปได้ง่าย เมื่อถูกความร้อนมักจะหลอมเหลวเช่น A.B.S. (Acrylonitrile Butadiene Styrene ) P.P. (Polypropylene) P.V.C.
(Poly Vinyl chloride)
2. เทอร์โมเซท (Thermoset) เป็นพลาสติกที่สามารถทนความร้อนได้สู.กว่าประเภทแรก พลาสติกจาพวกนี้เมื่อถูก
ความร้อนครั้งแรกจะหลอมเหลวครั้งเดียว เมื่อแข็งตัวแล้วหากนามาให้ความร้อนอีกจะไม่หลอมเหลวอีก เช่น ฟีนอลิค ยูเรีย เม
ลามีน เป็นต้น สาหรับพลาสติกที่นามาชุบได้นั้นจะต้องไม่ใช่พลาสติก ที่มีผิวอ่อน จะต้องเป็นพลาสติกที่มีผิวแข็ง แต่ไม่แข็ง
มากจนเกินไป เพราะสารละลายที่ใช้ในกระบวนการชุบ จะไม่สามารถเปลี่ยนคุณสมบัติของผิวพลาสติกได้ พลาสติกที่นามา
ชุบได้นั้น เช่น A.B.S. P.P. P.P.O. แต่นิยมใช้มากที่สุดคือ A.B.S. เพราะผิวชนิดนี้ไม่แข็งหรืออ่อนไป และยังสามารถ
เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของผิวได้ดีอีกด้วย
A.B.S. เป็นพลาสติกที่ทนแรงกระทบได้ดีมาก ทนความร้อนได้ประมาณ 80-85
ซ. ทนกรด ทนด่างได้ดีพอสมควร
นิยมใช้ทาลูกบิดวิทยุ – โทรทัศน์ ชิ้นส่วนเครื่องพิมพ์ดีด โทรศัพท์ หวี ไฟท้ายรถมอเตอร์ไซต์กระดุมป้ ายตกแต่งรถ ชิ้นส่วน
ของเครื่องสุขภัณฑ์ เป็นต้น
การเลือกชนิดของพลาสติก A.B.S. เพื่อการชุบ
ในอุตสาหกรรมชุบโลหะบนพลาสติกแล้ว ส่วนมากพลาสติกที่นามาชุบจะใช้พลาสติก A.B.S. พลาสติกชนิดอื่นๆ ก็
มีการพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในการชุบเช่นกัน เช่น Polypropylene และ Polycarbonate แต่ยังไม่แพร่หลายและอาจมีปัญหา
ทางด้านการฉีดขึ้นรูป จึงไม่เป็นที่นิยม
พลาสติก A.B.S. ประกอบขึ้นด้วย Acrylonitrile Butadiene และ Styrene ซึ่งส่วนประกอบอันนี้มีหลายอัตราส่วน
ด้วยกันล้วนแต่การใช้งาน ส่วน A.B.S. ที่ใช้เพื่อการชุบนั้นจะต้องมีส่วนผสมของ Butadiene อยู่ 20 ถึง 25 เปอร์เซ็นต์
พลาสติก A.B.S. เพื่อการชุบนี้ก็มีหลายเกรด แต่ละเกรดก็มีขั้นตอนการชุบแตกต่างกันไป
เปรียบเทียบข้อดีข้อเสียระหว่างชิ้นงานที่ชุบโครเมี่ยมบนพลาสติกกับบนโลหะ
ข้อดี
1. น้าหนักเบากว่า 5 ถึง 10 เท่าในชิ้นงานขนาดเท่ากัน
2. เนื้อของพลาสติกไม่มีการขึ้นสนิม ฉะนั้นอายุการใช้งานจึงเก็บความสวยงามไว้ได้นานกว่าโลหะ
3. ขบวนการขัดก็ไม่จาเป็นต้องใช้ แต่โลหะก่อนจะชุบต้องผ่านการขัดให้ผิวเรียบก่อนซึ่งจาเป็นต้องใช้เครื่องขัด ล้อ
ขัด ยาขัด และแรงคน หรือเครื่องขัด ขบวนการนี้จึงทาให้โลหะต้นทุนสูงกว่า
4. พลาสติกราคาถูกกว่า เมื่อเปรียบเทียบกับเหล็ก สังกะสีหล่อ (zinc diecasting หรือโลหะอื่นๆ
ข้อเสีย
1. ทนอุณหภูมิสูงไม่ได้คือทนได้ไม่เกิน 80-85
ซ. หากอุณหภูมิสูงกว่านี้จะทาให้พลาสติกเสียรูป
2. ทนความเค้นต่ากว่าโลหะ
3. กรรมวิธีการอบชุบยากกว่าโลหะ
4. ใช้โครมิคมากในขบวนการกัดผิว ซึ่งอาจก่อให้เกิดปัญหาด้านน้าทิ้ง
3.1.2 เทคนิคการเคลือบ
การเคลือบพาสติกบนโลหะนี้มีหลายวิธีด้วยกัน แต่จะกล่าวในที่นี้เพียงวิธีเดียวเพื่อที่ง่ายต่อการปฏิบัติ
ฟลูอิดไดซ์เบด (Fluidized Bed) วิธีนี้เป็นวิธีที่นิยมใช้กันมาก ชิ้นส่วนที่จะเคลือบต้องทาความสะอาดผิวให้ปราศจาก
น้ามัน ไขมัน และสนิม เมื่อชิ้นงานล้างทาความสะอาดแล้วก็อบที่อุณหภูมิ 100-400
ซ. ( Pre heat )แล้วจุ่มลงในถังบรรจุ
พลาสติก ซึ่งใต้ถังมีลมเป่าเพื่อให้พลาสติกลอยตัวขึ้นถูกกับผิวชิ้นงานที่ร้อนทาให้เกิดการเคลือบติดอยู่บนชิ้นงาน แล้วนา
ชิ้นงานเข้าเตาอบอีกครั้ง เพื่อให้ผลพลาสติกหลอมละลายเข้าด้วยกันให้สม่าเสมอ เตาอบช่วงนี้ให้อุณหภูมิประมาณ 300
ซ.
หรือจะใช้ระบบคอนเวเยอร์ ผ่านเตาอบในอัตราความเร็ว 10 ฟุต/นาที ใช้เวลาผ่านเตาประมาณ 1นาที แล้วล้างชิ้นงานด้วยน้า
เย็น เป็นอันเสร็จเรียบร้อย
1. ผงพลาสติก ( Plastic Powder ) พลาสติกที่นามาเคลือบนี้มีเทอร์โมพลาสติกกับเทอร์โมเซทติ้งพลาสติก และในการ
เคลือบนี้ยังแบ่งออกเป็นเคลือบหนาและเคลือบบางๆประเภทเคลือบหนาคือหนาเกิน100ไมครอนขึ้นไป พลาสติกที่ใช้เคลือบ
ประเภทเคลือบหนาคือ
โพลีเอททีลีน (Polyethylene )
พี วี ซี ( P.V.C. )
ไนล่อน (Nylon )
เพนตอน (Penton )
พี ที เอฟ อี ( P.T.F.E. )
เซลลุโลสซิค ( Cellulosics )
โพลีทีน ( Polythene )
ประเภทเคลือบเพียงบางๆ คือเคลือบน้อยกว่า 100 ไมครอน การเคลือบอย่างนี้ใช้พลาสติกจาพวก อีพ๊อกซี (Epoxy)
อาครีลิค (Acrylic) โพลีเอสเตอร์ ( polyester )

More Related Content

What's hot

บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์oraneehussem
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223Preeyapat Lengrabam
 
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วนใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วนkanjana2536
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตPinutchaya Nakchumroon
 
แผ่นพับฝนหลวง
แผ่นพับฝนหลวงแผ่นพับฝนหลวง
แผ่นพับฝนหลวงstudentkc3 TKC
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลายSaipanya school
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสงPonpirun Homsuwan
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์wirayuth jaksuwan
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีพัน พัน
 
การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdf
การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdfการจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdf
การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdfssuserca71fb
 
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว sawed kodnara
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3กมลรัตน์ ฉิมพาลี
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสWuttipong Tubkrathok
 
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตบทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตฟลุ๊ค ลำพูน
 

What's hot (20)

บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
บทที่12 เชื้อเพลิงซากดึกดำบรรพ์
 
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
แบบฝึกหัดหน่วยที่ 1 แก๊สและสมบัติของแก๊ส วิชาเคมี3 ว32223
 
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วนใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
ใบความรู้ เรื่อง ทศนิยมและเศษส่วน
 
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิตบทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
บทที่ 3 เซลล์ของสิ่งมีชีวิต
 
แผ่นพับฝนหลวง
แผ่นพับฝนหลวงแผ่นพับฝนหลวง
แผ่นพับฝนหลวง
 
4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย4 การเตรียมสารละลาย
4 การเตรียมสารละลาย
 
ฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐานฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐาน
 
Punmanee study 5
Punmanee study 5Punmanee study 5
Punmanee study 5
 
การหักเหของแสง
การหักเหของแสงการหักเหของแสง
การหักเหของแสง
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์กล้องจุลทรรศน์
กล้องจุลทรรศน์
 
กัมมันตรังสี
กัมมันตรังสีกัมมันตรังสี
กัมมันตรังสี
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
แนวข้อสอบ
แนวข้อสอบแนวข้อสอบ
แนวข้อสอบ
 
การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdf
การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdfการจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdf
การจัดทำแผนการจัดการศึกษาเฉพาะบุคคล-IEPสำหรับศูนย์การศึกษาพิเศษ.pdf
 
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
บทที่ 4 สมการเชิงเส้นตัวแปรเดียว
 
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
หน่วยการเรียนรู้ระบบย่อยอาหารและการสลายอาหารระดับเซลล์.3
 
สารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบสสารละลายกรด-เบส
สารละลายกรด-เบส
 
โจทย์ประยุกต์อนุพันธ์+วาดกราฟ
โจทย์ประยุกต์อนุพันธ์+วาดกราฟโจทย์ประยุกต์อนุพันธ์+วาดกราฟ
โจทย์ประยุกต์อนุพันธ์+วาดกราฟ
 
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโตบทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
บทที่ 11 การสืบพันธ์และการเจริญเติบโต
 

Viewers also liked

Viewers also liked (20)

งานโลหะแผ่น6 3
งานโลหะแผ่น6 3งานโลหะแผ่น6 3
งานโลหะแผ่น6 3
 
งานโลหะแผ่น6 1
งานโลหะแผ่น6 1งานโลหะแผ่น6 1
งานโลหะแผ่น6 1
 
9 1
9 19 1
9 1
 
งานโลหะแผ่น4 1
งานโลหะแผ่น4 1งานโลหะแผ่น4 1
งานโลหะแผ่น4 1
 
การเขียนภาพแผ่นคลี่
การเขียนภาพแผ่นคลี่การเขียนภาพแผ่นคลี่
การเขียนภาพแผ่นคลี่
 
Document 1820130813093402
Document 1820130813093402Document 1820130813093402
Document 1820130813093402
 
9 3
9 39 3
9 3
 
Global Problem
Global ProblemGlobal Problem
Global Problem
 
Carta pelas aguas
Carta pelas aguasCarta pelas aguas
Carta pelas aguas
 
Intro to sustainability intro
Intro to sustainability introIntro to sustainability intro
Intro to sustainability intro
 
Introdução às Metodologias Ágeis de Desenvolvimento
Introdução às Metodologias Ágeis de DesenvolvimentoIntrodução às Metodologias Ágeis de Desenvolvimento
Introdução às Metodologias Ágeis de Desenvolvimento
 
Palestra Encontro Gamer 2016 - FCS na Indústria de Jogos
Palestra Encontro Gamer 2016 - FCS na Indústria de JogosPalestra Encontro Gamer 2016 - FCS na Indústria de Jogos
Palestra Encontro Gamer 2016 - FCS na Indústria de Jogos
 
Crm 002
Crm 002Crm 002
Crm 002
 
Las 48 leyes del poder
Las 48 leyes del poderLas 48 leyes del poder
Las 48 leyes del poder
 
Flateel
FlateelFlateel
Flateel
 
Proyecto cine
Proyecto cineProyecto cine
Proyecto cine
 
Why should healthcare professionals care about social media?
Why should healthcare professionals care about social media?Why should healthcare professionals care about social media?
Why should healthcare professionals care about social media?
 
Resumen
ResumenResumen
Resumen
 
Mfhp12 c excel_4ed_solucoes
Mfhp12 c excel_4ed_solucoesMfhp12 c excel_4ed_solucoes
Mfhp12 c excel_4ed_solucoes
 
Presentation_NEW.PPTX
Presentation_NEW.PPTXPresentation_NEW.PPTX
Presentation_NEW.PPTX
 

More from Pannathat Champakul (20)

เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯเค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ระบบการจัดการเรียนรู้ยูบิควิตัสด้วยจินตวิศวกรรมฯ
 
505
505505
505
 
407
407407
407
 
603
603603
603
 
602
602602
602
 
601
601601
601
 
600
600600
600
 
504
504504
504
 
503
503503
503
 
502
502502
502
 
501
501501
501
 
500
500500
500
 
406
406406
406
 
405
405405
405
 
404
404404
404
 
403
403403
403
 
402
402402
402
 
401
401401
401
 
400
400400
400
 
305
305305
305
 

งานโลหะแผ่น3 1 2

  • 1. 3.1 หลักการชุบเคลือบผิวด้วยพลาสติก 3.1.1 ประเภทของพลาสติก 1. การชุบพลาสติก (Plating on plastics) ปัจจุบันพลาสติกมีบทบาทในการชุบเป็นอย่างมาก ทั้งนี้เนื่องจากว่าพลาสติกมีน้าหนักเบา ราคาถูก และไม่เป็นสนิม เหมือนโลหะ ทนการกัดกร่อนได้ดี การขึ้นรูปที่ซับซ้อนได้ง่ายกว่าโลหะ แม้ว่าการทนต่อความร้อนและความแข็งของ พลาสติกจะไม่ดีเท่าโลหะ แต่ปัจจุบันได้มีการเติมสารบางอย่างลงไปในพลาสติกซึ่งทาให้พลาสติกมีความแข็งเพิ่มขึ้น 1.1 ประเภทของพลาสติก พลาสติกที่ใช้กันอยู่ทั่วไปนั้นสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทใหญ่ๆ ได้ดังนี้ 1. เทอร์โมพลาสติก (Thermoplastic) เป็นพลาสติกเนื้อก่อนไม่แข็งมาก ทนความร้อนได้ไม่มากนัก และสามารถแปร รูปได้ง่าย เมื่อถูกความร้อนมักจะหลอมเหลวเช่น A.B.S. (Acrylonitrile Butadiene Styrene ) P.P. (Polypropylene) P.V.C. (Poly Vinyl chloride) 2. เทอร์โมเซท (Thermoset) เป็นพลาสติกที่สามารถทนความร้อนได้สู.กว่าประเภทแรก พลาสติกจาพวกนี้เมื่อถูก ความร้อนครั้งแรกจะหลอมเหลวครั้งเดียว เมื่อแข็งตัวแล้วหากนามาให้ความร้อนอีกจะไม่หลอมเหลวอีก เช่น ฟีนอลิค ยูเรีย เม ลามีน เป็นต้น สาหรับพลาสติกที่นามาชุบได้นั้นจะต้องไม่ใช่พลาสติก ที่มีผิวอ่อน จะต้องเป็นพลาสติกที่มีผิวแข็ง แต่ไม่แข็ง มากจนเกินไป เพราะสารละลายที่ใช้ในกระบวนการชุบ จะไม่สามารถเปลี่ยนคุณสมบัติของผิวพลาสติกได้ พลาสติกที่นามา ชุบได้นั้น เช่น A.B.S. P.P. P.P.O. แต่นิยมใช้มากที่สุดคือ A.B.S. เพราะผิวชนิดนี้ไม่แข็งหรืออ่อนไป และยังสามารถ เปลี่ยนแปลงคุณสมบัติของผิวได้ดีอีกด้วย A.B.S. เป็นพลาสติกที่ทนแรงกระทบได้ดีมาก ทนความร้อนได้ประมาณ 80-85 ซ. ทนกรด ทนด่างได้ดีพอสมควร นิยมใช้ทาลูกบิดวิทยุ – โทรทัศน์ ชิ้นส่วนเครื่องพิมพ์ดีด โทรศัพท์ หวี ไฟท้ายรถมอเตอร์ไซต์กระดุมป้ ายตกแต่งรถ ชิ้นส่วน ของเครื่องสุขภัณฑ์ เป็นต้น การเลือกชนิดของพลาสติก A.B.S. เพื่อการชุบ ในอุตสาหกรรมชุบโลหะบนพลาสติกแล้ว ส่วนมากพลาสติกที่นามาชุบจะใช้พลาสติก A.B.S. พลาสติกชนิดอื่นๆ ก็ มีการพัฒนาขึ้นมาเพื่อใช้ในการชุบเช่นกัน เช่น Polypropylene และ Polycarbonate แต่ยังไม่แพร่หลายและอาจมีปัญหา ทางด้านการฉีดขึ้นรูป จึงไม่เป็นที่นิยม พลาสติก A.B.S. ประกอบขึ้นด้วย Acrylonitrile Butadiene และ Styrene ซึ่งส่วนประกอบอันนี้มีหลายอัตราส่วน ด้วยกันล้วนแต่การใช้งาน ส่วน A.B.S. ที่ใช้เพื่อการชุบนั้นจะต้องมีส่วนผสมของ Butadiene อยู่ 20 ถึง 25 เปอร์เซ็นต์ พลาสติก A.B.S. เพื่อการชุบนี้ก็มีหลายเกรด แต่ละเกรดก็มีขั้นตอนการชุบแตกต่างกันไป เปรียบเทียบข้อดีข้อเสียระหว่างชิ้นงานที่ชุบโครเมี่ยมบนพลาสติกกับบนโลหะ ข้อดี 1. น้าหนักเบากว่า 5 ถึง 10 เท่าในชิ้นงานขนาดเท่ากัน 2. เนื้อของพลาสติกไม่มีการขึ้นสนิม ฉะนั้นอายุการใช้งานจึงเก็บความสวยงามไว้ได้นานกว่าโลหะ 3. ขบวนการขัดก็ไม่จาเป็นต้องใช้ แต่โลหะก่อนจะชุบต้องผ่านการขัดให้ผิวเรียบก่อนซึ่งจาเป็นต้องใช้เครื่องขัด ล้อ ขัด ยาขัด และแรงคน หรือเครื่องขัด ขบวนการนี้จึงทาให้โลหะต้นทุนสูงกว่า 4. พลาสติกราคาถูกกว่า เมื่อเปรียบเทียบกับเหล็ก สังกะสีหล่อ (zinc diecasting หรือโลหะอื่นๆ
  • 2. ข้อเสีย 1. ทนอุณหภูมิสูงไม่ได้คือทนได้ไม่เกิน 80-85 ซ. หากอุณหภูมิสูงกว่านี้จะทาให้พลาสติกเสียรูป 2. ทนความเค้นต่ากว่าโลหะ 3. กรรมวิธีการอบชุบยากกว่าโลหะ 4. ใช้โครมิคมากในขบวนการกัดผิว ซึ่งอาจก่อให้เกิดปัญหาด้านน้าทิ้ง 3.1.2 เทคนิคการเคลือบ การเคลือบพาสติกบนโลหะนี้มีหลายวิธีด้วยกัน แต่จะกล่าวในที่นี้เพียงวิธีเดียวเพื่อที่ง่ายต่อการปฏิบัติ ฟลูอิดไดซ์เบด (Fluidized Bed) วิธีนี้เป็นวิธีที่นิยมใช้กันมาก ชิ้นส่วนที่จะเคลือบต้องทาความสะอาดผิวให้ปราศจาก น้ามัน ไขมัน และสนิม เมื่อชิ้นงานล้างทาความสะอาดแล้วก็อบที่อุณหภูมิ 100-400 ซ. ( Pre heat )แล้วจุ่มลงในถังบรรจุ พลาสติก ซึ่งใต้ถังมีลมเป่าเพื่อให้พลาสติกลอยตัวขึ้นถูกกับผิวชิ้นงานที่ร้อนทาให้เกิดการเคลือบติดอยู่บนชิ้นงาน แล้วนา ชิ้นงานเข้าเตาอบอีกครั้ง เพื่อให้ผลพลาสติกหลอมละลายเข้าด้วยกันให้สม่าเสมอ เตาอบช่วงนี้ให้อุณหภูมิประมาณ 300 ซ. หรือจะใช้ระบบคอนเวเยอร์ ผ่านเตาอบในอัตราความเร็ว 10 ฟุต/นาที ใช้เวลาผ่านเตาประมาณ 1นาที แล้วล้างชิ้นงานด้วยน้า เย็น เป็นอันเสร็จเรียบร้อย 1. ผงพลาสติก ( Plastic Powder ) พลาสติกที่นามาเคลือบนี้มีเทอร์โมพลาสติกกับเทอร์โมเซทติ้งพลาสติก และในการ เคลือบนี้ยังแบ่งออกเป็นเคลือบหนาและเคลือบบางๆประเภทเคลือบหนาคือหนาเกิน100ไมครอนขึ้นไป พลาสติกที่ใช้เคลือบ ประเภทเคลือบหนาคือ โพลีเอททีลีน (Polyethylene ) พี วี ซี ( P.V.C. ) ไนล่อน (Nylon ) เพนตอน (Penton ) พี ที เอฟ อี ( P.T.F.E. ) เซลลุโลสซิค ( Cellulosics ) โพลีทีน ( Polythene ) ประเภทเคลือบเพียงบางๆ คือเคลือบน้อยกว่า 100 ไมครอน การเคลือบอย่างนี้ใช้พลาสติกจาพวก อีพ๊อกซี (Epoxy) อาครีลิค (Acrylic) โพลีเอสเตอร์ ( polyester )