SlideShare a Scribd company logo
1
มูสิกชาดก
พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]
ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑
๓. มูสิกชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๓๗๓)
ว่าด้วยหนูถูกฆ่าตาย
(เวลาจะไปสระโบกขรณีเพื่อสรงสนาน พระราชาตรัสว่า)
[๑๒๓] คนบ่นเพ้ออยู่ว่า นางหนูไปไหน ไปที่ไหน
เราคนเดียวเท่านั้นรู้ว่า นางหนูถูกฆ่าอยู่ในบ่อน้า
(เวลาเสด็จเข้าไปยังปราสาท พระราชาเสด็จดาเนินสาธยายไปว่า)
[๑๒๔] เหตุที่เจ้าเที่ยวมองข้างโน้นข้างนี้ไปมาเสมือนหนึ่งลา
ทาให้เรารู้ว่า เจ้าฆ่านางหนูที่บ่อน้าแล้ว ยังปรารถนาจะกินพระเจ้ายวะอีก
(พระราชาเสด็จดาเนินท่องบ่นจนถึงหัวบันไดว่า)
[๑๒๕] นี่เจ้าโง่ เจ้ายังเป็นเด็กเล็กนัก ยังเป็นวัยรุ่น มายืนถือท่อนไม้ยาว
เราจักไม่ยอมให้ชีวิตแก่เจ้า
(พระราชารอดพ้นจากความตาย ทรงร่าเริงยินดี ทรงเปล่งอุทานว่า)
[๑๒๖] เราผู้ถูกบุตรปองฆ่า รอดพ้นจากความตาย
เพราะอยู่บนวิมานในอากาศก็หาไม่ เพราะบุตรสุดที่รักเสมอด้วยอวัยวะก็หาไม่
แต่เราพ้นจากความตายเพราะคาถาที่อาจารย์ผูกให้
[๑๒๗] บุคคลควรเรียนสูตร (คาว่า สูตร ในที่นี้ได้แก่ปริยัติ) ทุกอย่าง
ไม่ว่าจะเป็ นชั้นต่า ชั้นสูง หรือปานกลาง และควรรู้จุดมุ่งหมายของวิชาทุกอย่าง
แต่ว่าไม่ควรใช้วิชาทุกอย่าง
เวลาที่สูตรซึ่งได้ศึกษามาแล้วนาประโยชน์มาให้ก็ยังมีอยู่
มูสิกชาดกที่ ๓ จบ
---------------------
คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา
มูสิกชาดก
ว่าด้วย ควรเรียนทุกอย่างแต่ไม่ควรใช้ทุกอย่าง
พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระเวฬุวันวิหาร
ทรงปรารภพระเจ้าอชาตศัตรู จึงตรัสพระธรรมเทศนานี้ ดังนี้
เรื่องปัจจุบันได้ให้พิสดารมาแล้วใน ถุสชาดก ในหนหลังนั่นแล.
ส่วนในชาดกนี้
พระศาสดาทรงเห็นพระราชาทรงหยอกเล่นกับพระโอรสพลาง
ทรงฟังธรรมพลางอย่างนั้น ทรงทราบว่า ภัยจักเกิดขึ้นแก่พระราชา
เพราะอาศัยพระโอรสนั้น จึงตรัสว่า มหาบพิตร
พระราชาครั้งเก่าก่อนทั้งหลายทรงรังเกียจสิ่งที่ควรรังเกียจ
2
ได้ทรงกระทาโอรสของพระองค์ไว้ ณ ส่วนข้างหนึ่ง ด้วยทรงดาริว่า
พระโอรสจงครองราชสมบัติในเวลาเราแก่ชราตามัว.
แล้วทรงนาเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :-
ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในนครพาราณสี
พระโพธิสัตว์บังเกิดในสกุลพราหมณ์ในเมืองตักกสิลา
ได้เป็นอาจารย์ทิศาปาโมกข์.
โอรสของพระเจ้าพาราณสี
พระนามว่ายวกุมาร ได้เรียนศิลปะทุกอย่างในสานักของพระโพธิสัตว์นั้น
แล้วให้การซักถาม คือทดสอบวิชาแล้ว ประสงค์จะกลับมาบ้านเมือง
จึงอาลาอาจารย์นั้น.
อาจารย์รู้ได้ด้วยอานาจวิชาดูอวัยวะว่า อันตรายจักมีแก่กุมารนี้
เพราะอาศัยบุตรเป็นเหตุ คิดว่าเราจักบาบัดอันตรายของพระกุมารนั้น
จึงเริ่มไตร่ตรองหาข้อเปรียบเทียบสักข้อหนึ่ง.
ก็ในกาลนั้น
ม้าของอาจารย์ทิศาปาโมกข์นั้นมีอยู่ตัวหนึ่งแผลเกิดขึ้นที่เท้าของม้านั้น.
พวกคนเลี้ยงม้าจึงกระทาม้าตัวนั้นไว้เฉพาะในเรือน เพื่อจะตามรักษาแผล.
ในที่ไม่ไกลเรือนนั้นมีบ่อน้าอยู่บ่อหนึ่ง ครั้งนั้น
หนูตัวหนึ่งออกจากเรือนกัดแผลที่เท้าของม้า. ม้าไม่สามารถจะห้ามมันได้.
วันหนึ่ง ม้านั้นไม่อาจอดกลั้นเวทนาได้
จึงเอาเท้าดีดหนูซึ่งมากัดกินแผลให้ตายตกลงไปในบ่อน้า.
พวกคนเลี้ยงม้าไม่เห็นหนูมาจึงกล่าวกันว่า ในวันอื่นๆ หนูมากัดแผล
บัดนี้ไม่ปรากฏ มันไปเสียที่ไหนหนอ.
พระโพธิสัตว์กระทาเหตุนั้นให้ประจักษ์แล้ว กล่าวว่าคนอื่นๆ ไม่รู้
จึงพากันกล่าวว่า หนูไปเสียที่ไหน แต่เราเท่านั้นย่อมรู้ว่า
หนูถูกม้าฆ่าแล้วดีดลงไปในบ่อน้า.
พระโพธิสัตว์นั้นจึงกระทาเหตุนี้นั่นแหละให้เป็นข้อเปรียบเทียบแล้วป
ระพันธ์เป็ นคาถาที่หนึ่งมอบให้แก่พระราชกุมาร.
พระโพธิสัตว์นั้นไตร่ตรองหาข้อเปรียบเทียบข้ออื่นอีก
ได้เห็นม้าตัวนั้นแหละมีแผลหายแล้ว ออกไปที่ไร่ข้าวเหนียวแห่งหนึ่ง
แล้วสอดปากเข้าไปทางช่องรั้ว ด้วยหวังว่าจักกินข้าวเหนียว
จึงกระทาเหตุนั้นแหละให้เป็นข้อเปรียบเทียบ แล้วประพันธ์เป็ นคาถาที่ ๒
มอบให้แก่พระราชกุมารนั้น.
ส่วนคาถาที่ ๓ พระโพธิสัตว์ประพันธ์โดยกาลังปัญญาของตน
มอบคาถาที่ ๓ แม้นั้นให้แก่พระราชกุมารนั้น แล้วกล่าวว่า ดูก่อนพ่อ
เธอดารงอยู่ในราชสมบัติแล้ว เวลาเย็นเมื่อจะไปสระโบกขรณีสาหรับสรงสนาน
3
พึงเดินท่องบ่นคาถาที่ ๑ ไปจนถึงบันใดอันใกล้
เมื่อจะเข้าไปยังปราสาทอันเป็นที่อยู่ของเธอ พึงเดินท่องบ่นคาถาที่ ๒
ไปจนถึงที่ใกล้เชิงบันใด ต่อจากนั้นไป พึงเดินท่องบ่นคาถาที่ ๓
ไปจนถึงหัวบันใด ครั้นกล่าวแล้วจึงส่งพระกุมารไป.
พระกุมารนั้น ครั้นไปถึงแล้วได้เป็นอุปราช เมื่อพระบิดาสวรรคตแล้ว
ได้ครองราชสมบัติ. โอรสองค์หนึ่งของพระองค์ประสูติแล้ว
พระโอรสนั้นในเวลามีพระวัสสา ๑๖ ปี คิดว่าจักปลงพระชนม์พระบิดา
เพราะความโลภในราชสมบัติ จึงตรัสกะอุปัฏฐาก (มหาดเล็ก) ทั้งหลายว่า
พระบิดาของเรายังหนุ่ม เราคอยเวลาถวายพระเพลิงพระบิดานี้
จักเป็นคนแก่คร่าคร่าเพราะชรา
ประโยชน์อะไรด้วยราชสมบัติแม้ที่ได้ในกาลเช่นนั้น.
อุปัฏฐากเหล่านั้นทูลว่า ข้าแต่สมมติเทพ
พระองค์ไม่อาจไปยังประเทศชายแดน แล้วกระทาความเป็นโจร
พระองค์จงปลงพระชนม์พระบิดาของพระองค์ด้วยอุบายบางอย่าง
แล้วยึดเอาราชสมบัติ. พระโอรสนั้นรับว่าได้
แล้วไปยังที่ใกล้สระโบกขรณีสาหรับสรงสนานตอนเย็นของพระราชา
ในภายในพระราชนิเวศน์ ได้ถือพระขรรค์ยืนอยู่ด้วยตั้งใจว่า จักฆ่าพระบิดานั้น
ณ ที่นี้.
ในเวลาเย็น พระราชาทรงสั่งนางทาสีชื่อหนูไปด้วยพระดารัสว่า
เจ้าจงไปชาระหลังสระโบกขรณีให้สะอาด แล้วจงมา เราจักอาบน้า.
นางทาสีนั้นไปชาระหลังสระโบกขรณีอยู่ เห็นพระกุมาร.
พระกุมารจึงฟันนางทาสีนั้นขาด ๒ ท่อน แล้วทิ้งให้ตกลงไปในสระโบกขรณี
เพราะกลัวว่า กรรมของตนจะปรากฏขึ้น.
พระราชาได้เสด็จไปเพื่อจะสรงสนาน. ชนที่เหลือกล่าวว่า
แม้จนวันนี้นางหนูผู้เป็นทาสียังไม่กลับมา นางหนูไปไหน ไปที่ไร.
พระราชาตรัสคาถาที่ ๑ ว่า :-
คนพร่าบ่นอยู่ว่า นางหนูไปไหน นางหนูไปไหน
เราคนเดียวเท่านั้นรู้ว่า นางหนูตายอยู่ในบ่อน้าดังนี้.
พระองค์ได้เสด็จไปถึงฝั่งสระโบกขรณี.
พระราชาได้เสด็จดาเนินตรัสคาถาที่ไปถึงฝั่งสระโบกขรณี
พระกุมารคิดว่า
พระบิดาของเราได้ทรงทราบกรรมที่เรากระทาไว้จึงกลัวหนีไปบอกเรื่องนั้นแก่พ
วกอุปัฏฐาก.
พอล่วงไป ๗-๘ วัน อุปัฏฐากเหล่านั้นจึงทูลพระกุมารนั้นอีกว่า
ข้าแต่สมมติเทพ ถ้าพระราชาจะทรงทราบไซร้ จะไม่ทรงนิ่งไว้
4
ก็คานั้นคงจะเป็ นคาที่พระราชานั้นตรัสโดยทรงคาดคะเนเอา
พระองค์จงปลงพระชนม์พระบิดานั้นเถิด.
วันรุ่งขึ้น พระกุมารนั้นถือพระขรรค์ประทับยืนที่ใกล้เชิงบันใด
ในเวลาพระราชาเสด็จมา ทรงมองหาโอกาสที่จะประหารไปรอบด้าน.
พระราชาได้เสด็จดาเนินสาธยายคาถาที่ ๒ ว่า :-
เหตุใดท่านจึงคิดอย่างนี้ และมองหาโอกาสจะประหารทางโน้นทางนี้
แล้วกลับไปเสมือนลา เพราะฉะนั้น เราจึงรู้ว่า
ท่านฆ่าทาสีชื่อว่านางหนูตายทิ้งไว้ในบ่อน้า
วันนี้ยังปรารถนาจะบริโภคโภชนะข้าวเหนียวอีกหรือ.
แม้คาถานี้ก็แสดงเนื้อความนี้ สาหรับพระราชาผู้ไม่ทรงทราบเลยว่า
เพราะเหตุที่นั้นคิดอย่างนี้ และมองหาโอกาสจะประหารอยู่ทางโน้นทางนี้
แล้วกลับไปเสมือนลาฉะนั้น เพราะฉะนั้น เราจึงรู้จักท่านว่า
วันก่อนท่านฆ่าทาสีชื่อนางหนูที่สระโบกขรณี*(ตรงนี้น่าจะเป็ นว่า “วันนี้
ยังปรารถนาจะฆ่าพระเจ้ายวราชอีก”) วันนี้
ยังปรารถนาจะบริโภคโภชนะข้าวเหนียวอีก.*
พระกุมารสะดุ้งพระทัยหนีไปด้วยคิดว่า พระบิดาเห็นเราแล้ว.
พระกุมารนั้นให้เวลาล่วงไปประมาณกึ่งเดือนแล้วคิดว่า
จักเอาท่อนไม้ประหารพระราชาให้ตาย
จึงถือท่อนไม้สาหรับประหารท่อนหนึ่งมีด้ามยาวแล้วได้ยืนกุมอยู่.
พระราชาตรัสว่า :-
แน่ะเจ้าผู้โง่เขลา เจ้ายังเป็ นเด็กอ่อน ตั้งอยู่ในปฐมวัย มีผมดาสนิท
มายืนถือท่อนไม้ยาวนี้อยู่ เราจะไม่ยอมยกชีวิตให้แก่เจ้า.
คาถาแม้นี้ก็ข่มขู่พระกุมาร
แสดงเนื้อความนี้สาหรับพระราชาผู้ไม่รู้นั่นแลว่า
เจ้าคนโง่เจ้าจักไม่ได้บริโภคข้าวเหนียวของตน บัดนี้
เราจักไม่ให้ชีวิตแก่เจ้าผู้ไม่มีความละอาย เราจักฆ่าตัดให้เป็นท่อนน้อยท่อนใหญ่
แล้วให้เสียบไว้บนหลาวนั่นแหละ.
พระราชาทรงสาธยายคาถาที่ ๓ พลางขึ้นถึงหัวบันใด. วันนั้น
พระกุมารนั้นไม่อาจหลบหนี กราบทูลว่า ข้าแต่สมมติเทพ
ขอพระองค์โปรดประทานชีวิตแก่ข้าพระองค์เถิดพระเจ้าข้า
แล้วหมอบลงที่ใกล้พระบาทของพระราชา.
พระราชาทรงคุกคามพระกุมารนั้นแล้ว ให้จองจาด้วยโซ่ตรวน
แล้วให้ขังไว้ในเรือนจา ทรงนั่งเหนือราชอาสน์ที่ประดับประดา ณ
ภายใต้เศวตฉัตร ทรงดาริว่า พราหมณ์ทิศาปาโมกข์ผู้อาจารย์ของเรา
เห็นอันตรายนี้แก่เรา จึงได้ให้คาถา ๓ คาถานี้ จึงร่าเริงยินดี.
5
เมื่อจะเปล่งอุทาน จึงได้ตรัสคาถาที่เหลือว่า :-
เราเป็นผู้อันบุตรปรารถนาจะฆ่าเสีย
จะพ้นจากความตายเพราะภพในอากาศ
หรือเพราะบุตรที่รักเปรียบด้วยอวัยวะก็หาไม่
เราพ้นจากความตายเพราะคาถาที่อาจารย์ผูกให้.
บุคคลควรเรียนวิชาที่ควรเรียนทุกอย่าง ไม่ว่าจะเลว ดี หรือปานกลาง
บุคคลควรรู้ประโยชน์ของวิชาที่เรียนทั้งหมด แต่ไม่ควรประกอบใช้ทั้งหมด
ศิลปะที่ศึกษาแล้วนาประโยชน์มาให้ในเวลาใด แม้เวลาเช่นนั้นย่อมจะมีแท้.
ในกาลต่อมา เมื่อพระบิดาสวรรคตแล้ว
พระกุมารก็ได้ดารงอยู่ในราชสมบัติ.
พระศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว
จึงทรงประชุมชาดกว่า
ก็อาจารย์ทิศาปาโมกข์ในครั้งนั้น ได้เป็ น เราตถาคต ฉะนี้แล.
จบ อรรถกถามูสิกชาดกที่ ๓
-----------------------------------------------------

More Related Content

More from maruay songtanin

530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
maruay songtanin
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
maruay songtanin
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
maruay songtanin
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
maruay songtanin
 
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
maruay songtanin
 
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
maruay songtanin
 

More from maruay songtanin (20)

530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
530 สังกิจจชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
529 โสณกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
528 มหาโพธิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
527 อุมมาทันตีชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬา...
 
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
526 นฬินิกาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๘ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๒๐ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
525 จูฬสุตโสมชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ...
 
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
524 สังขปาลชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
523 อลัมพุสาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]...
 
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
522 สรภังคชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
521 เตสกุณชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
520 คันธตินทุกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬา...
 
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
519 สัมพุลาชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
518 ปัณฑรกนาคราชชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุ...
 
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
517 ทกรักขสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
516 มหากปิชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
515 สัมภวชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
514 ฉัททันตชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
513 ชยัททิสชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
512 กุมภชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx
 
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
511 กิงฉันทชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ]....
 

373 มูสิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ].docx

  • 1. 1 มูสิกชาดก พระไตรปิฎกเล่มที่ ๒๗ พระสุตตันตปิฎกเล่มที่ ๑๙ [ฉบับมหาจุฬาฯ] ขุททกนิกาย ชาดก ภาค ๑ ๓. มูสิกชาดก (จากพระไตรปิฎก ลาดับเรื่องที่ ๓๗๓) ว่าด้วยหนูถูกฆ่าตาย (เวลาจะไปสระโบกขรณีเพื่อสรงสนาน พระราชาตรัสว่า) [๑๒๓] คนบ่นเพ้ออยู่ว่า นางหนูไปไหน ไปที่ไหน เราคนเดียวเท่านั้นรู้ว่า นางหนูถูกฆ่าอยู่ในบ่อน้า (เวลาเสด็จเข้าไปยังปราสาท พระราชาเสด็จดาเนินสาธยายไปว่า) [๑๒๔] เหตุที่เจ้าเที่ยวมองข้างโน้นข้างนี้ไปมาเสมือนหนึ่งลา ทาให้เรารู้ว่า เจ้าฆ่านางหนูที่บ่อน้าแล้ว ยังปรารถนาจะกินพระเจ้ายวะอีก (พระราชาเสด็จดาเนินท่องบ่นจนถึงหัวบันไดว่า) [๑๒๕] นี่เจ้าโง่ เจ้ายังเป็นเด็กเล็กนัก ยังเป็นวัยรุ่น มายืนถือท่อนไม้ยาว เราจักไม่ยอมให้ชีวิตแก่เจ้า (พระราชารอดพ้นจากความตาย ทรงร่าเริงยินดี ทรงเปล่งอุทานว่า) [๑๒๖] เราผู้ถูกบุตรปองฆ่า รอดพ้นจากความตาย เพราะอยู่บนวิมานในอากาศก็หาไม่ เพราะบุตรสุดที่รักเสมอด้วยอวัยวะก็หาไม่ แต่เราพ้นจากความตายเพราะคาถาที่อาจารย์ผูกให้ [๑๒๗] บุคคลควรเรียนสูตร (คาว่า สูตร ในที่นี้ได้แก่ปริยัติ) ทุกอย่าง ไม่ว่าจะเป็ นชั้นต่า ชั้นสูง หรือปานกลาง และควรรู้จุดมุ่งหมายของวิชาทุกอย่าง แต่ว่าไม่ควรใช้วิชาทุกอย่าง เวลาที่สูตรซึ่งได้ศึกษามาแล้วนาประโยชน์มาให้ก็ยังมีอยู่ มูสิกชาดกที่ ๓ จบ --------------------- คาอธิบายเพิ่มเติมนามาจากบางส่วนของอรรถกถา มูสิกชาดก ว่าด้วย ควรเรียนทุกอย่างแต่ไม่ควรใช้ทุกอย่าง พระศาสดา เมื่อประทับอยู่ ณ พระเวฬุวันวิหาร ทรงปรารภพระเจ้าอชาตศัตรู จึงตรัสพระธรรมเทศนานี้ ดังนี้ เรื่องปัจจุบันได้ให้พิสดารมาแล้วใน ถุสชาดก ในหนหลังนั่นแล. ส่วนในชาดกนี้ พระศาสดาทรงเห็นพระราชาทรงหยอกเล่นกับพระโอรสพลาง ทรงฟังธรรมพลางอย่างนั้น ทรงทราบว่า ภัยจักเกิดขึ้นแก่พระราชา เพราะอาศัยพระโอรสนั้น จึงตรัสว่า มหาบพิตร พระราชาครั้งเก่าก่อนทั้งหลายทรงรังเกียจสิ่งที่ควรรังเกียจ
  • 2. 2 ได้ทรงกระทาโอรสของพระองค์ไว้ ณ ส่วนข้างหนึ่ง ด้วยทรงดาริว่า พระโอรสจงครองราชสมบัติในเวลาเราแก่ชราตามัว. แล้วทรงนาเอาเรื่องในอดีตมาสาธก ดังต่อไปนี้ :- ในอดีตกาล เมื่อพระเจ้าพรหมทัตครองราชสมบัติอยู่ในนครพาราณสี พระโพธิสัตว์บังเกิดในสกุลพราหมณ์ในเมืองตักกสิลา ได้เป็นอาจารย์ทิศาปาโมกข์. โอรสของพระเจ้าพาราณสี พระนามว่ายวกุมาร ได้เรียนศิลปะทุกอย่างในสานักของพระโพธิสัตว์นั้น แล้วให้การซักถาม คือทดสอบวิชาแล้ว ประสงค์จะกลับมาบ้านเมือง จึงอาลาอาจารย์นั้น. อาจารย์รู้ได้ด้วยอานาจวิชาดูอวัยวะว่า อันตรายจักมีแก่กุมารนี้ เพราะอาศัยบุตรเป็นเหตุ คิดว่าเราจักบาบัดอันตรายของพระกุมารนั้น จึงเริ่มไตร่ตรองหาข้อเปรียบเทียบสักข้อหนึ่ง. ก็ในกาลนั้น ม้าของอาจารย์ทิศาปาโมกข์นั้นมีอยู่ตัวหนึ่งแผลเกิดขึ้นที่เท้าของม้านั้น. พวกคนเลี้ยงม้าจึงกระทาม้าตัวนั้นไว้เฉพาะในเรือน เพื่อจะตามรักษาแผล. ในที่ไม่ไกลเรือนนั้นมีบ่อน้าอยู่บ่อหนึ่ง ครั้งนั้น หนูตัวหนึ่งออกจากเรือนกัดแผลที่เท้าของม้า. ม้าไม่สามารถจะห้ามมันได้. วันหนึ่ง ม้านั้นไม่อาจอดกลั้นเวทนาได้ จึงเอาเท้าดีดหนูซึ่งมากัดกินแผลให้ตายตกลงไปในบ่อน้า. พวกคนเลี้ยงม้าไม่เห็นหนูมาจึงกล่าวกันว่า ในวันอื่นๆ หนูมากัดแผล บัดนี้ไม่ปรากฏ มันไปเสียที่ไหนหนอ. พระโพธิสัตว์กระทาเหตุนั้นให้ประจักษ์แล้ว กล่าวว่าคนอื่นๆ ไม่รู้ จึงพากันกล่าวว่า หนูไปเสียที่ไหน แต่เราเท่านั้นย่อมรู้ว่า หนูถูกม้าฆ่าแล้วดีดลงไปในบ่อน้า. พระโพธิสัตว์นั้นจึงกระทาเหตุนี้นั่นแหละให้เป็นข้อเปรียบเทียบแล้วป ระพันธ์เป็ นคาถาที่หนึ่งมอบให้แก่พระราชกุมาร. พระโพธิสัตว์นั้นไตร่ตรองหาข้อเปรียบเทียบข้ออื่นอีก ได้เห็นม้าตัวนั้นแหละมีแผลหายแล้ว ออกไปที่ไร่ข้าวเหนียวแห่งหนึ่ง แล้วสอดปากเข้าไปทางช่องรั้ว ด้วยหวังว่าจักกินข้าวเหนียว จึงกระทาเหตุนั้นแหละให้เป็นข้อเปรียบเทียบ แล้วประพันธ์เป็ นคาถาที่ ๒ มอบให้แก่พระราชกุมารนั้น. ส่วนคาถาที่ ๓ พระโพธิสัตว์ประพันธ์โดยกาลังปัญญาของตน มอบคาถาที่ ๓ แม้นั้นให้แก่พระราชกุมารนั้น แล้วกล่าวว่า ดูก่อนพ่อ เธอดารงอยู่ในราชสมบัติแล้ว เวลาเย็นเมื่อจะไปสระโบกขรณีสาหรับสรงสนาน
  • 3. 3 พึงเดินท่องบ่นคาถาที่ ๑ ไปจนถึงบันใดอันใกล้ เมื่อจะเข้าไปยังปราสาทอันเป็นที่อยู่ของเธอ พึงเดินท่องบ่นคาถาที่ ๒ ไปจนถึงที่ใกล้เชิงบันใด ต่อจากนั้นไป พึงเดินท่องบ่นคาถาที่ ๓ ไปจนถึงหัวบันใด ครั้นกล่าวแล้วจึงส่งพระกุมารไป. พระกุมารนั้น ครั้นไปถึงแล้วได้เป็นอุปราช เมื่อพระบิดาสวรรคตแล้ว ได้ครองราชสมบัติ. โอรสองค์หนึ่งของพระองค์ประสูติแล้ว พระโอรสนั้นในเวลามีพระวัสสา ๑๖ ปี คิดว่าจักปลงพระชนม์พระบิดา เพราะความโลภในราชสมบัติ จึงตรัสกะอุปัฏฐาก (มหาดเล็ก) ทั้งหลายว่า พระบิดาของเรายังหนุ่ม เราคอยเวลาถวายพระเพลิงพระบิดานี้ จักเป็นคนแก่คร่าคร่าเพราะชรา ประโยชน์อะไรด้วยราชสมบัติแม้ที่ได้ในกาลเช่นนั้น. อุปัฏฐากเหล่านั้นทูลว่า ข้าแต่สมมติเทพ พระองค์ไม่อาจไปยังประเทศชายแดน แล้วกระทาความเป็นโจร พระองค์จงปลงพระชนม์พระบิดาของพระองค์ด้วยอุบายบางอย่าง แล้วยึดเอาราชสมบัติ. พระโอรสนั้นรับว่าได้ แล้วไปยังที่ใกล้สระโบกขรณีสาหรับสรงสนานตอนเย็นของพระราชา ในภายในพระราชนิเวศน์ ได้ถือพระขรรค์ยืนอยู่ด้วยตั้งใจว่า จักฆ่าพระบิดานั้น ณ ที่นี้. ในเวลาเย็น พระราชาทรงสั่งนางทาสีชื่อหนูไปด้วยพระดารัสว่า เจ้าจงไปชาระหลังสระโบกขรณีให้สะอาด แล้วจงมา เราจักอาบน้า. นางทาสีนั้นไปชาระหลังสระโบกขรณีอยู่ เห็นพระกุมาร. พระกุมารจึงฟันนางทาสีนั้นขาด ๒ ท่อน แล้วทิ้งให้ตกลงไปในสระโบกขรณี เพราะกลัวว่า กรรมของตนจะปรากฏขึ้น. พระราชาได้เสด็จไปเพื่อจะสรงสนาน. ชนที่เหลือกล่าวว่า แม้จนวันนี้นางหนูผู้เป็นทาสียังไม่กลับมา นางหนูไปไหน ไปที่ไร. พระราชาตรัสคาถาที่ ๑ ว่า :- คนพร่าบ่นอยู่ว่า นางหนูไปไหน นางหนูไปไหน เราคนเดียวเท่านั้นรู้ว่า นางหนูตายอยู่ในบ่อน้าดังนี้. พระองค์ได้เสด็จไปถึงฝั่งสระโบกขรณี. พระราชาได้เสด็จดาเนินตรัสคาถาที่ไปถึงฝั่งสระโบกขรณี พระกุมารคิดว่า พระบิดาของเราได้ทรงทราบกรรมที่เรากระทาไว้จึงกลัวหนีไปบอกเรื่องนั้นแก่พ วกอุปัฏฐาก. พอล่วงไป ๗-๘ วัน อุปัฏฐากเหล่านั้นจึงทูลพระกุมารนั้นอีกว่า ข้าแต่สมมติเทพ ถ้าพระราชาจะทรงทราบไซร้ จะไม่ทรงนิ่งไว้
  • 4. 4 ก็คานั้นคงจะเป็ นคาที่พระราชานั้นตรัสโดยทรงคาดคะเนเอา พระองค์จงปลงพระชนม์พระบิดานั้นเถิด. วันรุ่งขึ้น พระกุมารนั้นถือพระขรรค์ประทับยืนที่ใกล้เชิงบันใด ในเวลาพระราชาเสด็จมา ทรงมองหาโอกาสที่จะประหารไปรอบด้าน. พระราชาได้เสด็จดาเนินสาธยายคาถาที่ ๒ ว่า :- เหตุใดท่านจึงคิดอย่างนี้ และมองหาโอกาสจะประหารทางโน้นทางนี้ แล้วกลับไปเสมือนลา เพราะฉะนั้น เราจึงรู้ว่า ท่านฆ่าทาสีชื่อว่านางหนูตายทิ้งไว้ในบ่อน้า วันนี้ยังปรารถนาจะบริโภคโภชนะข้าวเหนียวอีกหรือ. แม้คาถานี้ก็แสดงเนื้อความนี้ สาหรับพระราชาผู้ไม่ทรงทราบเลยว่า เพราะเหตุที่นั้นคิดอย่างนี้ และมองหาโอกาสจะประหารอยู่ทางโน้นทางนี้ แล้วกลับไปเสมือนลาฉะนั้น เพราะฉะนั้น เราจึงรู้จักท่านว่า วันก่อนท่านฆ่าทาสีชื่อนางหนูที่สระโบกขรณี*(ตรงนี้น่าจะเป็ นว่า “วันนี้ ยังปรารถนาจะฆ่าพระเจ้ายวราชอีก”) วันนี้ ยังปรารถนาจะบริโภคโภชนะข้าวเหนียวอีก.* พระกุมารสะดุ้งพระทัยหนีไปด้วยคิดว่า พระบิดาเห็นเราแล้ว. พระกุมารนั้นให้เวลาล่วงไปประมาณกึ่งเดือนแล้วคิดว่า จักเอาท่อนไม้ประหารพระราชาให้ตาย จึงถือท่อนไม้สาหรับประหารท่อนหนึ่งมีด้ามยาวแล้วได้ยืนกุมอยู่. พระราชาตรัสว่า :- แน่ะเจ้าผู้โง่เขลา เจ้ายังเป็ นเด็กอ่อน ตั้งอยู่ในปฐมวัย มีผมดาสนิท มายืนถือท่อนไม้ยาวนี้อยู่ เราจะไม่ยอมยกชีวิตให้แก่เจ้า. คาถาแม้นี้ก็ข่มขู่พระกุมาร แสดงเนื้อความนี้สาหรับพระราชาผู้ไม่รู้นั่นแลว่า เจ้าคนโง่เจ้าจักไม่ได้บริโภคข้าวเหนียวของตน บัดนี้ เราจักไม่ให้ชีวิตแก่เจ้าผู้ไม่มีความละอาย เราจักฆ่าตัดให้เป็นท่อนน้อยท่อนใหญ่ แล้วให้เสียบไว้บนหลาวนั่นแหละ. พระราชาทรงสาธยายคาถาที่ ๓ พลางขึ้นถึงหัวบันใด. วันนั้น พระกุมารนั้นไม่อาจหลบหนี กราบทูลว่า ข้าแต่สมมติเทพ ขอพระองค์โปรดประทานชีวิตแก่ข้าพระองค์เถิดพระเจ้าข้า แล้วหมอบลงที่ใกล้พระบาทของพระราชา. พระราชาทรงคุกคามพระกุมารนั้นแล้ว ให้จองจาด้วยโซ่ตรวน แล้วให้ขังไว้ในเรือนจา ทรงนั่งเหนือราชอาสน์ที่ประดับประดา ณ ภายใต้เศวตฉัตร ทรงดาริว่า พราหมณ์ทิศาปาโมกข์ผู้อาจารย์ของเรา เห็นอันตรายนี้แก่เรา จึงได้ให้คาถา ๓ คาถานี้ จึงร่าเริงยินดี.
  • 5. 5 เมื่อจะเปล่งอุทาน จึงได้ตรัสคาถาที่เหลือว่า :- เราเป็นผู้อันบุตรปรารถนาจะฆ่าเสีย จะพ้นจากความตายเพราะภพในอากาศ หรือเพราะบุตรที่รักเปรียบด้วยอวัยวะก็หาไม่ เราพ้นจากความตายเพราะคาถาที่อาจารย์ผูกให้. บุคคลควรเรียนวิชาที่ควรเรียนทุกอย่าง ไม่ว่าจะเลว ดี หรือปานกลาง บุคคลควรรู้ประโยชน์ของวิชาที่เรียนทั้งหมด แต่ไม่ควรประกอบใช้ทั้งหมด ศิลปะที่ศึกษาแล้วนาประโยชน์มาให้ในเวลาใด แม้เวลาเช่นนั้นย่อมจะมีแท้. ในกาลต่อมา เมื่อพระบิดาสวรรคตแล้ว พระกุมารก็ได้ดารงอยู่ในราชสมบัติ. พระศาสดา ครั้นทรงนาพระธรรมเทศนานี้มาแสดงแล้ว จึงทรงประชุมชาดกว่า ก็อาจารย์ทิศาปาโมกข์ในครั้งนั้น ได้เป็ น เราตถาคต ฉะนี้แล. จบ อรรถกถามูสิกชาดกที่ ๓ -----------------------------------------------------