SlideShare a Scribd company logo
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
52
ฟสิกส บทที่ 3 มวล แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
ตอนที่ 1 มวล และ แรง
มวล (m) คือ เนื้อของสาร
ควรรู
1) มวลจะใชหนวยมาตรฐาน S.I. เปน กิโลกรัม (kg)
2) มวลเปนปริมาณซึ่งคงที่
3) มวล อาจหมายถึง สภาพตานการเคลื่อนที่ (ความเฉื่อย)
1(มช 30) ปริมาณใดในทางฟสิกส ที่บอกใหเราทราบวา วัตถุใดมีความเฉื่อยมากนอยเพียงใด
ก. แรง ข. น้ําหนัก ค. ความเรง ง. มวล (ขอ ง)
2(มช 30) วัตถุอันหนึ่งมีมวล 3 กิโลกรัม บนโลก เมื่อนําวัตถุนี้ไปดาวจูปเตอรซึ่งมี g เปน
10 เทาของโลก วัตถุนี้จะมีมวลเปนกี่กิโลกรัม
ก. 3.0 ข. 9.8 ค. 30 ง. 98 (ขอ ก)
แรง (F ) คือ อํานาจที่พยายามจะทําใหมวลเกิดการเคลื่อนที่ดวยความเรง
ควรรู 1) แรงใชหนวยมาตรฐาน S.I. เปน นิวตัน (N)
2) แรงลัพธ คือ แรงซึ่งเกิดจากแรงยอย ๆ หลายแรงรวมกันเขามา
วิธีการหาคาแรงลัพธ
กรณีที่ 1 หากแรงยอยมีทิศทางเดียวกัน
Fลัพธ = F1 + F2
ทิศทางแรงลัพธ จะเหมือนแรงยอยนั้น
มวลมาก
ตานการเคลื่อนที่มากตองใชแรงผลักมาก
มวลนอย
ใชแรงนอย
ตานการเคลื่อนที่นอย
แรงลัพธ
F1
F2
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
53
กรณีที่ 2 หากแรงยอยมีทิศตรงกันขาม
Fลัพธ = F1 – F2
ทิศทางแรงลัพธ จะเหมือนแรงที่มากกวา
กรณีที่ 3 หากแรงยอยมีทิศเอียงทํามุมตอกัน
Fลัพธ = ±cos2F12F2
2F2
1F ΙΙ
tan  = ±
±
cos2F1F
sin2F
Ι
3. แรง 2 แรง ขนาด 3 นิวตัน และ 4 นิวตัน กระทําตอวัตถุชิ้นหนึ่ง ณ จุดเดียวกัน จงหา
ขนาดของแรงลัพธ ถา
ก. กระทําในทิศทางเดียวกัน ข. ทิศทางตรงกันขาม ค. ถาทั้งสองตั้งฉากกัน
( ก. 7 นิวตัน ข. 1 นิวตัน ค. 5 นิวตัน )
วิธีทํา
4(En 42/1) เมื่อแรงสองแรงทํามุมกันคาตาง ๆ ผลรวมของแรงมีคาต่ําสุด 2 นิวตัน และมีคา
สูงสุด 14 นิวตัน ผลรวมของแรงทั้งสองเมื่อกระทําตั้งฉากกันจะมีคาเทาใด (ขอ 2)
1. 12 N 2. 10 N 3. 5 2 4. 8
วิธีทํา
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
54
การแตกแรง
หากมีแรง 1 แรง สมมุติเปนแรง F
เราสามารถแตกออกเปน 2 แรงยอย
ซึ่งตั้งฉากกันได ดังรูปภาพ
แรงยอยที่ติดมุม ± จะมีคา F cos±
แรงยอยที่ไมติดมุม ± จะมีคา F sin±
5. จากรูป จงหาแรง x และ y
1) 2)
( 1. x = 5 N , y = 5 3 N 2. x = 4 2 , y = 4 2 )
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
ตอนที่ 2 กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
กฏขอที่ 1
“หากแรงลัพธที่กระทําตอวัตถุมีคาเปนศูนย วัตถุจะรักษาสภาพเดิม”
กฏขอที่ 2 “หากแรงลัพธที่กระทําตอวัตถุมีคาไมเปนศูนย วัตถุจะเคลื่อนที่ดวยความเรง
และความเรงที่เกิดขึ้น จะแปรผันตรงกับแรง และ แปรผกผันกับมวล”
จากกฏขอนี้จะไดสมการ a = mF หรือ F = m a
อยูนิ่ง ๆ เหมือนเดิม
เคลื่อนที่ดวยความเร็วคงที่
y
x60o
10 N
45o
x
y8 N
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
55
กฏขอที่ 3 “เมื่อมีแรงกริยาก็ยอมตองมีแรงปฏิกิริยาซึ่งมีขนาดเทากัน แตมีทิศตรงกันขาม”
Fกริยา = –Fปฏิกิริยา
6. กฏขอที่ 1 ของนิวตันคืออะไร
ก. กฏของแรงกิริยา ข. กฏของแรงปฏิกิริยา
ค. กฏของมวลสาร ง. กฏของความเฉื่อย (ขอ ง)
เหตุผล
7(มช 40) เมื่อรถหยุดกระทันหัน ผูโดยสารจะคะมําไปขางหนา ปรากฏการณนี้เปนไปตามกฏ
นิวตันขอ
ก. ขอ 1 ข. ขอ 2 ค. ขอ 3 ง. ทุกขอ (ขอ ก)
เหตุผล
8. เข็มขัดนิรภัยและที่พิงศีรษะที่ติดอยูกับเบาะนั่งในรถยนตบางคันมีไวเพื่อประโยชนอะไร
เหตุผล
9(มช 24) ใชมาตัวหนึ่งลากรถ แรงที่ทําใหมาเคลื่อนที่ไปขางหนาคือ
ก. แรงที่มากระทําตอรถ ข. แรงที่รถกระทําตอมา
ค. แรงที่มากระทําตอพื้น ง. แรงพื้นกระทําตอเทามา (ขอ ง)
เหตุผล
10(มช 32) เมื่อตกตนไมลงมากระทบพื้นจะรูสึกเจ็บ เหตุที่เจ็บอธิบายไดดวยกฏทางฟสิกสขอใด
ก. กฏขอที่หนึ่งของนิวตัน ข. กฏขอที่สองของนิวตัน
ค. กฏขอที่สามของนิวตัน ง. กฏแรงดึงดูดระหวางมวลของนิวตัน (ขอ ค)
เหตุผล
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
56
11(มช 25) ขอความใดที่ไมถูกตอง ตามลักษณะของแรงที่กลาวถึงในกฏขอที่ 3 ของนิวตัน (ขอ ค)
ก. ประกอบดวยแรงสองแรง ข. มีขนาดเทากันและมีทิศตรงกันขาม
ค. เปนแรงที่ทําใหแรงลัพธบนวัตถุมีคาเปน 0 ง. เปนแรงที่กระทําบนวัตถุตางชนิดกัน
เหตุผล
12. ขณะยิงปน แรงที่ปนดันลูกกระสุน และแรงที่ลูกกระสุนดันปนมีขนาดเทากันกับทิศตรง
กันขามแรงลัพธที่กระทําตอลูกกระสุนเปนศูนยหรือไม เพราะเหตุใดลูกกระสุนจึงเคลื่อนที่
ไปได
เหตุผล
13. จากขอความที่วา “ จรวดไมสามารถเคลื่อนที่ขึ้นจากผิวดวงจันทรได เพราะไมมีอากาศ
ผลัก” คํากลาวนี้ถูกตองหรือไม จงอธิบาย
เหตุผล
14. ถาจรวดพนแกสและเชื้อเพลิงที่เผาไหมออกไป ทําใหเกิดแรงขับเคลื่อนจรวดคงตัว
ความเรงของจรวดจะคงตัวหรือไม อยางไร เพราะเหตุใด
เหตุผล
วัตถุมวล m กิโลกรัมใดๆ เมื่อยูบนผิวโลกจะถูกโลกดูด ทําใหเกิดความเรงเทากับ 10
เมตรตอวินาที2 เรียก ความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงโลก (g)
เราสามารถหาแรงที่โลกดูดวัตถุใดๆ ไดเสมอจาก
F = m g
แรงที่โลกดูดวัตถุนี้ เราจะเรียกชื่อเฉพาะวา น้ําหนัก (W)
ดังนั้น W = m g
ควรทราบวา น้ําหนัก กับมวลนั้นไมเหมือนกัน
น้ําหนัก ( W ) มวล ( m )
1) หนวยเปนนิวตัน
2) เปลี่ยนแปลงได
3) เปนเวกเตอร
1) หนวยเปนกิโลกรัม
2) มีคาคงที่ เปลี่ยนไมได
3) เปนสเกลลาร
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
57
15. นักบินอวกาศมวล 75 kg ซึ่งน้ําหนักตัวของเขาบนดาวเคราะหดวงหนึ่งพบวาหนัก 225 N
ความเรงเนื่องจากแรงดึงดูดของดาวเคราะหนั้นเปนกี่ m/s2
ก. 2 m/s2 ข. 3 m/s2 ค. 5 m/s2 ง. 10 m/s2 (ขอ ข)
วิธีทํา
16. สมมติวามีการจําลองมวลที่มาตรฐาน 1 กิโลกรัม จากกรุงปารีสมาไวกรุงเทพฯ น้ําหนัก
และ มวลของมวลจําลองนี้ที่กรุงเทพฯ แตกตางกับที่กรุงปารีสเทาใด
( ถา g ที่กรุงปารีส และกรุงเทพฯ เปน 9.81 และ 9.78 เมตร/วินาที2 ตามลําดับ)
วิธีทํา (0.03 N , 0 kg)
17(En 32) แขวนวัตถุดวยเชือก จากเพดานแรงปฏิกิริยาตามกฏขอที่ 3 ของนิวตันของแรง
ซึ่งเปนน้ําหนักของวัตถุคือ
1. แรงที่เสนเชือกกระทําตอเพดาน
2. แรงที่เสนเชือกกระทําตอวัตถุ
3. แรงโนมถวงที่วัตถุกระทําตอโลก
4. แรงที่วัตถุกระทําตอเสนเชือก (ขอ 3)
เหตุผล
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
ตอนที่ 3 การคํานวณเกี่ยวกับกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน ( 1 )
18. รถทดลองมวล 15 กิโลกรัม ถูกแรงดึง 30 นิวตัน จะเคลื่อนที่ดวยความเรงเทาใด และหาก
ตอนแรกมวลนี้อยูนิ่งๆ ถามวาเมื่อเวลาผานไป 2 วินาที จะเคลื่อนที่ไปไดไกลกี่เมตร
วิธีทํา ( 2 m/s2 , 4 m)
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
58
19. แรงลัพธกระทําตอวัตถุมวล 50 กิโลกรัม ทําให
มวลเคลื่อนที่ โดยมีความเร็วสัมพันธกับเวลาดัง
กราฟที่กําหนดให จงหาแรงลัพธที่กระทําตอวัตถุนี้
ในหนวยนิวตัน (50 นิวตัน)
วิธีทํา
ควรทราบเพิ่มเติม
ในสมการ F = m a ความเรงซึ่งในแนวเดียวกับแรงนั้น
แรงลัพธในแนว มวลที่ถูกแรงนั้นกระทํา
ขนานกับการเคลื่อนที่
20. แรงสองแรงมีขนาดเทากัน เทากับ 3.0 นิวตัน กระทําตอมวล 6.0 กิโลกรัม จงหาขนาด
และทิศของความเรงของวัตถุเมื่อแรงทั้งสอง (1 m/s2 , 0 m/s2)
ก. กระทําในทิศเดียวกัน ข. กระทําในทิศตรงกันขาม
วิธีทํา
21. แรงขนาด 6 และ 8 นิวตัน กระทําตอมวล 2 กิโลกรัม ในแนวขนานกับพื้นราบ ถาแรง
ทั้งสองตั้งฉากตอวัตถุจะเคลื่อนที่ดวยความเรงเทาไร
ก. 5 m/s2 ข. 3 m/s2 ค. 2 m/s2 ง. 1 m/s2 (ขอ ก)
วิธีทํา
ความเร็ว (m/s)
เวลา (s)
10
10
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
59
22. จากรูป หากวัตถุไถลไปบนพื้นราบอยางเดียว
จงหาความเรงของการเคลื่อนที่ (8 m/s2)
วิธีทํา
23. วางมวล 10 กิโลกรัม ไวบนกระดานลื่น เมื่อเอียงกระดานทํามุม 30o กับแนวราบ มวลจะ
เคลื่อนที่ดวยความเรงกี่เมตร/วินาที2
1. 1 2. 3 3. 5 4 . 7 (ขอ 3)
วิธีทํา
24. จากรูปวัตถุ 20 kg และ 10 kg วางติดกันบน
พื้นที่ไมมีแรงเสียดทาน ใหหา แรง P และ Q
ในรูปภาพ ( 60 N , 20 N )
วิธีทํา
25(En 41/2) แทงไมมวล 5 , 3 และ
2 กิโลกรัม วางติดกันบนพื้นเกลี้ยง
ถาออกแรงผลัก 10 นิวตัน ดังรูป
จงหาขนาดของแรงที่แทงไม 2 กิโลกรัม กระทําตอแทงไม 3 กิโลกรัม
1. 2.0 N 2. 5.0 N 3. 8.0 N 4 . 10.0 N (ขอ 1)
วิธีทํา
60o5 kg
80 N
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
60
26. จากรูปวัตถุมวล 30 kg และ 20 kg
ผูกติดกันดวยเชือก อยูบนพื้นที่ไมมี
แรงเสียดทาน หากความเรงของการ
เคลื่อนที่มีคา 3 m/s2 ใหหาแรง T1 และ T2 ( 150 N , 90 N )
วิธีทํา
27(มช 42) จากรูป มวลขนาด 10 , 8 และ
6 กิโลกรัม วางบนพื้นที่ไมมีความฝด
ออกแรงขนาด 120 นิวตัน ลากมวลทั้ง
สามไป จงหาวาขนาดของแรงดึงในเสน
เชือก T1 และ T2 มีคากี่นิวตัน
1. T1 = T2 = 60 2. T1 = T2 = 120
3. T1 = 50 , T2 = 90 4. T1 = 90 , T2 = 50 (ขอ 3)
วิธีทํา
28. มวล 3 ชิ้น วางอยูบนพื้นที่ไมมีแรงเสียด
ทาน และถูกดึงดวยแรง T3 = 30 N อยาก
ทราบวา T2 / T1 มีคา (3.0)
วิธีทํา
20 kg30 kg
T2 T1
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
61
ตอนที่ 4 การคํานวณเกี่ยวกับกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน ( 2 )
29. นักเรียนคนหนึ่งถือเชือกมวลนอยมาก ซึ่งปลายขางหนึ่งผูกติดกับ
เหล็กมวล 7 kg ใหหาแรงดึงเชือกเมื่อ
ก. ดึงเชือกขึ้นดวยความเรง 2 เมตร/วินาที2
ข. หยอนเชือกลงดวยความเรง 2 เมตร/วินาที2 ( 84 N , 56 N )
วิธีทํา
30. นักเรียนคนหนึ่งถือเชือกมวลนอยมาก ซึ่งปลายขางหนึ่ง
ผูกติดกับเหล็กมวล 1 kg ใหหาแรงดึงเชือก เมื่อดึงเชือกขึ้น
ดวยความเรง 5 เมตร/วินาที2 (15 นิวตัน)
วิธีทํา
31. จากขอที่ผานมา ใหหาแรงดึงเชือก เมื่อหยอนเชือกลงดวยความเรง 5 เมตร/วินาที2
วิธีทํา (5 นิวตัน)
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
62
32(En 42/1) นักกระโดดรมมวล 65 กิโลกรัม ลงถึงพื้นดินดวยการยอตัว ขณะยืดตัวขึ้นจุด
ศูนยกลางมวลของรางกายมีขนาดของความเรง 30 เมตรตอ(วินาที)2 แรงที่พื้นกระทําตอ
เทาของนักกระโดดรมคนนี้เปนเทาใด (ขอ 4)
1. 650 N 2. 1300 N 3. 1950 N 4 . 2600 N
วิธีทํา
33. ชายคนหนึ่งมวล 50 กิโลกรัม ยืนอยูในลิฟท จงหาแรงที่พื้นลิฟทกระทําตอชายคนนั้นเมื่อ
ลิฟทเริ่มเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรง 1.2 m/s2 (560 N)
วิธีทํา
34. จากขอที่ผานมา จงหาแรงที่พื้นลิฟทกระทําตอชายคนนั้น เมื่อลิฟทกําลังเคลื่อนที่ลงดวย
ความเรง 1.2 m/s2 (440 N)
วิธีทํา
35. จากขอที่ผานมา จงหาแรงที่พื้นลิฟทกระทําตอชายคนนั้น เมื่อลิฟทเคลื่อนที่ดวยความเร็ว
สม่ําเสมอ 2 m/s ( 500 N)
วิธีทํา
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
63
36(En 27) นายแดงยืนอยูบนตาชั่งสปริงในลิฟท ถาลิฟทอยูนิ่ง ๆ นายแดงอานน้ําหนักตัวเองได
56 kg ถาลิฟทเคลื่อนที่ลงดวยความเรง 2 m/s2 นายแดงจะอานน้ําหนัก ตัวเองจากตาชั่ง
นั้นไดกี่กิโลกรัม
ก. 40 ข. 44.8 ค. 50 ง . 67.2 (ขอ ข)
วิธีทํา
37. นักเรียนคนหนึ่งมวล 50 kg ยืนอยูบนตาชั่งในลิฟทที่กําลังเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรง 1 m/s2
ในขณะเดียวกันมือของเขาก็ดึงเชือกที่แขวนอยูกับเพดานลิฟท ถาเชือกมีความตึง 150 นิวตัน
เข็มของตาชั่งสปริงจะชี้ที่กี่กิโลกรัม (40 kg)
วิธีทํา
38. ถาเรายืนชั่งน้ําหนักใกลๆ กับโตะ แลวใชมือกดลงบนโตะไว คาที่อานไดจากเครื่องชั่งจะ
เพิ่มขึ้นหรือลดลง เพราะเหตุใด ( ลดลง )
วิธีทํา
39(En 36) ชายคนหนึ่งมวล 75 kg อยูในลิฟท กดปุมใหลิฟทลง ลิฟทเริ่มลงดวยความเรงจน
มีความเร็วคงที่ แลวเริ่มลดอัตราเร็วลงดวยขนาดของความเรง 1 m/s2 เพื่อจะหยุดแรงที่
ลิฟทกระทําตอชายคนนี้ขณะที่ลิฟทกําลังจะหยุดเปนกี่นิวตัน (825 นิวตัน)
วิธีทํา
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
64
40. ลิฟทตัวหนึ่งมีมวล 500 กิโลกรัม บรรทุกสัมภาระมวล 100 กิโลกรัม หากลิฟทนี้เคลื่อน
ที่ขึ้นดวยความเรงสูงสุดไดเพียง 2 เมตร/วินาที2 จงหาแรงดึงสายเคเบิลสูงสุดที่กระทํา
ตอลิฟทนี้ ( 7200 นิวตัน )
วิธีทํา
41. ลิฟทตัวหนึ่งมีมวล 500 กิโลกรัม เคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรงสูงสุดไดเพียง 2 เมตร/วินาที2
หากแรงดึงสายเคเบิลสูงสุดที่มีไดมีคา 8400 นิวตัน จงหาวาลิฟทนี้สามารถบรรทุกสัมภาระ
ไดมากที่สุดกี่กิโลกรัม ( 200 )
วิธีทํา
42. ผูกเชือก (ดายเย็บผาที่เหนียวพอประมาณ) กับถุงทราย 1 ถุง ดึงขึ้นอยางชาๆ กับดึงขึ้น
อยางรวดเร็วผลที่เกิดขึ้นคือ เมื่อดึงขึ้นอยางชาๆ เชือกไมขาด แตดึงขึ้นอยางรวดเร็วเชือก
ขาด จงใหเหตุผล
เหตุผล
43. “การที่ยานอวกาศลงบนดวงจันทรไดอยางนิ่มนวล จะตองใชจรวดยั้งความเร็ว”
จงอธิบายวาแรงที่จรวดยั้งความเร็วควรเปนอยางไร
เหตุผล
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
65
ตอนที่ 5 การคํานวณเกี่ยวกับกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน ( 3 )
44. วัตถุมวล 3 kg และ 2 kg ผูกติดกันดวยเชือก ดังรูป วัตถุทั้งสอง
ถูกดึงขึ้นดวยเชือกอีกเสนดวยความเรง 2 m/s2 ในแนวดิ่ง แรง
ดึงเชือกทั้งสองมีคาเทาใด ( T1 = 60 N , T2 = 24 N )
วิธีทํา
45(En 43/1) มวล 2 กอนมีมวลกอนละ 1 กิโลกรัม ผูกติดเชือกน้ําหนักเบา และแขวนติดกับ
เพดานของลิฟทดังรูป ถาลิฟทเคลื่อนที่ลงดวยความเรง
2 เมตรตอ(วินาที)2จงหาแรงดึงในเชือก T1 และ T2
1. T1 = 16 N และ T2 = 8 N
2. T1 = 20 N และ T2 = 10 N
3. T1 = T2 = 20 N
4. T1 = 24 N และ T2 = 12 N (ขอ 1)
วิธีทํา
46. จากรูป m1 , m2 มวล 2 kg และ 0.5 kg
อยูบนพื้นเกลี้ยงระบบจะเคลื่อนที่ดวยความเรงเทาใด
วิธีทํา ( 2 m/s2)
47. จากขอที่ผานมา เชือกจะมีแรงดึงเชือกเทาใด (4 N)
วิธีทํา
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
66
48. จากขอที่ผานมา ระบบจะมีความเร็วสูงสุดเทาใด (2 m/s)
วิธีทํา
49. มวล 2 และ 8 กิโลกรัม ถูกจัดดังรูป(A)โดยพื้นโตะ และรอกเกลี้ยง เมื่อจัดใหมตามรูป(B)
อัตราสวนของความเรงของระบบ A ตอระบบ B เปนเทาใด (1/4 )
วิธีทํา
50. จากรูปวัตถุจะมีความเรงเทาไร และมีความเรงมีทิศทางไปทางใด
วิธีทํา (6.67 m/s2)
51. จากรูปขอที่ผานมาเชือกจะมีความตึงเทาใด (33.33 นิวตัน)
วิธีทํา
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
67
52. จากรูปตาชั่งเบา A มีมวลมากกวา B และ A กําลังเคลื่อนที่ดวยความเรง 2 m/s2
ขณะนั้นตาชั่งอานคาได 12 นิวตัน มวล A หนักเทาไร
ก. 1.0 kg ข. 1.5 kg
ค. 2.0 kg ง . 2.5 kg (ขอ ข)
วิธีทํา
53. จากขอที่ผานมา มวล B หนักเทาใด
ก. 0.5 kg ข. 0.8 kg ค. 1.0 kg ง . 1.2 kg (ขอ ค)
วิธีทํา
54(มช 41) A และ B เปนรอกเบาเกลี้ยงไมมีน้ําหนัก ตรึงอยูบนโตะเกลี้ยงดังแสดงในรูป C
เปนเครื่องชั่งสปริงที่ปลายทั้งสองขาง มีมวลขางละ 2 กิโลกรัม ผูกติดกับเชือกเบาคลอง
ผานรอก A และ B จะอานคาน้ําหนักของ
มวลบนเครื่องชั่งสปริงไดเทาใด (ขอ 1)
1. 2 กิโลกรัม 2. 4 กิโลกรัม
3. 2 นิวตัน 4 . 4 นิวตัน
วิธีทํา
55. ลูกปนมวล 0.02 kg เคลื่อนที่ดวยความเร็ว 400 m/s วิ่งเขาชนในแนวตั้งฉากกับตนไม
แนวราบปรากฏวาเจาะเนื้อไมเขาลึก 0.1 เมตร จึงหยุดนิ่ง จงหาแรงตานทานการเคลื่อนที่
ที่เนื้อไมกระทําตอลูกปน (16000 นิวตัน)
วิธีทํา
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
68
56(มช 34) ลูกปนมวล 0.002 กิโลกรัม เคลื่อนที่ออกจากลํากลองปนซึ่งยาว 0.80 เมตร ดวยอัตรา
เร็ว 400 เมตร/วินาที จงหาแรงที่ดันใหลูกปนหลุดออกจากลํากลองจะมีคากี่นิวตัน (200)
วิธีทํา
57(En 31) ในการทดลองการเคลื่อนที่ของนิวตัน มีการ
ชดเชยความฝด และใชแรงขนาดตาง ๆ ลากมวล
และวัดความเรง เมื่อเขียนกราฟระหวางแรง และ
ความเรงไดรูปกราฟดังนี้ มวลที่ทดลองมีคา
1. 0.8 kg 2. 1.0 kg
3. 1.1 kg 4. 1.2 kg (ขอ 4)
วิธีทํา
58. นักเรียนคนหนึ่งทดลองดึงวัตถุ A , B , C และ
D โดยใชแรงตาง ๆ กัน เมื่อนําแรง F มาเขียน
กราฟกับความเรง a ของวัตถุแตละกอน จะได
กราฟดังรูปวัตถุกอนใดมวลมากที่สุด และกอน
ใดนอยที่สุด (ขอ 1)
1. C , A 2. C , D 3. A , B 4. A , D
วิธีทํา
59. วัตถุมวล 400 กรัม ถูกแขวนไวแนนดวยเสนดายเล็กๆ เสนหนึ่ง
ที่ดานลางทรงกลมมีเสนดายชนิดเดียวกันผูกติดแนนอยู โดยการ
พิจารณาแรงที่กระทําตอทรงกลม ใหหาวาจะตองกระตุกดายเสน
ลางดวยความเรงกรณีใดบาง ดายเสนลางจึงจะมีโอกาสขาดกอน
ดายเสนบน ( ขอ 2. )
ก. 8 m/s2 ข. 16 m/s2 ค. 24 m/s2
1. ขอ ก. และ ข. 2. ขอ ข. และ ค. 3. ขอ ค.และ ก. 4. ไมมีใดขอถูก
-0.2 0.5 1.0 1.5
0.5
1.0
1.5
F(N)
a(ms )-2
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
69
ตอนที่ 6 แรงเสียดทาน
แรงเสียดทาน คือ แรงที่เกิดจากการเสียดสีระหวางผิวสัมผัสคูหนึ่งๆใดๆ มีทิศตานการเคลื่อนที่เสมอ
ประเภทของแรงเสียดทาน
ประเภทที่ 1 แรงเสียดทานสถิตย (fs) คือ แรงเสียดทานที่มีตอนวัตถุอยูนิ่ง ๆ
สมบัติ 1.1 มีคาไมคงที่
1.2 ต่ําสุด= 0 และ fs(สูงสุด) = ℵsN
เมื่อ ℵs คือ สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานสถิตย
N คือ แรงดันพื้น
ประเภทที่ 2 แรงเสียดทานจลน (fk) คือ แรงเสียดทานที่มีตอนวัตถุกําลังเคลื่อนที่
สมบัติ 2.1 fk < fs (สูงสุด)
2.2 fk = ℵkN
เมื่อ ℵk คือ สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานจลน
N คือ แรงดันพื้น
60(มช 26) เมื่อดันกลองใบหนึ่ง กลองไมเคลื่อนที่เลยเพราะ
ก. กลองมีน้ําหนักมาก
ข. โตะมีแรงเสียดทานมาก
ค. กลองมีแรงปฏิกิริยาโตตอบเทากับแรงดัน
ง. ถูกทุกขอ (ขอ ข)
วิธีทํา
61(มช 24) ถา N เปนแรงปฏิกิริยาที่พื้นกระทําตอวัตถุ และ ℵs เปนสัมประสิทธิ์ของความเสียด
ทานสถิตระหวางผิววัตถุและพื้นแรงเสียดทานสถิต ในขณะที่วัตถยังไมเคลื่อนที่จะมีคา
ก. 0 ข. ℵsN ค. ระหวาง 0 และ ℵsN ง. มากกวา ℵsN ( ค )
วิธีทํา
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
70
หลักในการคํานวณเกี่ยวกับแรงเสียดทาน
ขั้นที่ 1 ใหหาแรงเสียดทานใหไดกอน
โดย fs = ℵsN ใหหาแรงเสียดทานสถิตย (ตอนวัตถุอยูนิ่ง ๆ )
และ fk = ℵkN ใหหาแรงเสียดทานจลน (ตอนวัตถุกําลังเคลื่อนที่)
ขั้นที่ 2 กรณี 1 หาก a = 0 (วัตถุอยูนิ่งๆ , ความเร็วคงที่ , เริ่มจะเคลื่อนที่ )
ใหใช Fซาย = Fขวา
หรือ Fขึ้น = Fลง
กรณี 2 หาก a ⋅ 0
ใหใช Fลัพธ = m⌡a
62. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม อยูบนพื้นที่มี ส.ป.ส ความเสียดทาน 0.2 จงหาแรงนอยที่สุดที่จะ
ทําใหวัตถุเริ่มเคลื่อนที่ (4 N)
วิธีทํา
63. จากขอที่ผานมา จงหาแรงที่จะทําใหวัตถุเคลื่อนที่ดวยความเรง 2 เมตร/วินาที2 (8 N)
วิธีทํา
64. F เปนแรงซึ่งใชในการดึงใหวัตถุมวล 100 กิโลกรัม จนเกิดความเรง 2 เมตร/วินาที2
อยากทราบวา F มีคากี่นิวตัน
1. 0 2. 100
3. 300 4. 200 (ขอ 3)
วิธีทํา
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
71
65(มช 37) แทงไม 2 อัน A และ B มีน้ําหนัก 2 กิโลกรัม และ 4 กิโลกรัม ผูกติดกันดวย
เชือกเบาถูกลากดวยแรง F ไปบนพื้นไมที่อยูในแนวระดับซึ่งมีสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน
สถิตเปน 0.7 และ สัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลนเปน 0.4 จงหาขนาดของแรง F ที่จะทํา
ใหแทงไมทั้งสอง เคลื่อนที่ไปบนพื้นดวยความเร็วคงที่ (ขอ 1)
1. 24 นิวตัน 2. 42 นิวตัน
3. 2.4 นิวตัน 4. 4.2 นิวตัน
วิธีทํา
66. มวล 10 และ 15 กิโลกรัม วางบนพื้นฝด
ตอกันดวยเชือกเบา ออกแรง 300 นิวตัน
ดึงในแนวราบทําใหระบบมีความเรงคงที่
ถาสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานจลนมีคา 0.5 ทุกผิวสัมผัส จงคํานวณความเรงของระบบ
1. 7 เมตร/วินาที2 2. 5 เมตร/วินาที2
3. 3 เมตร/วินาที2 4. 1 เมตร/วินาที2 (ขอ 1)
วิธีทํา
67. จากขอผานมา แรงตึงในเสนเชือก
1. 100 นิวตัน 2. 120 นิวตัน
3. 140 นิวตัน 4. 160 นิวตัน (ขอ 2)
วิธีทํา
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
72
68. วัตถุ 15 2 กิโลกรัม วางบนระนาบเอียงฝดทํามุม 45o กับแนวราบออกแรง F ดึง
วัตถุขนานกับระนาบเอียง ถาสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานสถิตมีคา 0.5 จงหาแรง F
ที่พอดีทําใหวัตถุขยับขึ้น
1. 75 นิวตัน 2. 150 นิวตัน
3. 175 นิวตัน 4. 225 นิวตัน (ขอ 4)
วิธีทํา
69. จากขอที่ผานมา จงคํานวณแรง F ที่พอดีทําใหวัตถุขยับลง (ขอ 1)
1. 75 นิวตัน 2. 225 นิวตัน 3. 350 นิวตัน 4. 450 นิวตัน
วิธีทํา
70. จากขอที่ผานมา จงคํานวณแรง F ที่ทําใหวัตถุเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรง 5 2 เมตร/วินาที2
1. 75 นิวตัน 2. 225 นิวตัน 3. 375 นิวตัน 4. 450 นิวตัน (ขอ 3)
วิธีทํา
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
73
71. มวล m วางบนพื้นเอียงซึ่งทํามุม 30o กับ
แนวระดับ ถาวัดไดวามวลนั้นไถลลงพื้น
เอียงดวยความเรง 8
1 g สัมประสิทธิ์ความ
เสียดทานจลนระหวางมวลนั้นกับพื้นจะเปน
เทาไร (0.4)
วิธีทํา
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
ตอนที่ 7 กฏแรงดึงดูดระหวางมวล
เมื่อมวล 2 กอนอยูหางกันขนาดหนึ่ง มวลทั้งสองจะมีแรงดึงดูดกันเสมอ
เราสามารถหาแรงดึงดดระหวางมวล 2 กอนใดๆ ไดเสมอ จาก
เมื่อ FG คือ แรงดึงดูดระหวางมวล (นิวตัน)
m1 , m2 คือ ขนาดของมวลกอนที่ 1 และ กอนที่ 2 ตามลําดับ (กิโลกรัม)
R คือ ระยะหางระหวางใจกลางมวลทั้งสอง (เมตร)
G คือ คานิจความโนมถวงสากล คือ 6.672 x 10–11 N⌡m2/kg2
72. ดาว A มีมวล 6 x 1020 กิโลกรัม มียานอวกาศมวล 5 x 102 กิโลกรัม โคจรอยูรอบเปน
วงกลมรัศมี 5x107 กิโลเมตร ดาว A จะมีแรงดึงดูดยานอวกาศนี้เทาใด ( 8.01x10–9 N)
วิธีทํา
300
a = 8
1 g
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
74
เราสามารถหาความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงไดจาก
g = 2R
Gm
เมื่อ g คือ ความเรงเนื่องจากแรงดึงดูด ณ จุดใด ๆ (m/s2)
G คือ คานิจความโนมถวงสากลคือ 6.672 x 10–11N⌡m2/kg2
m คือ มวลดวงดาวนั้น ๆ (kg)
R คือ ระยะจากใจกลางดวงดาวถึงจุดที่จะหาคา g
73. จงหาคาความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของโลก ณ.จุดที่หางจากใจกลางโลก 10000 กิโล-
เมตร กําหนดมวลโลก = 6 x 1024 กิโลกรัม (4 เมตร/วินาที2)
วิธีทํา
74. ดาวเทียมดวงหนึ่งถูกสงขึ้นไปโคจรหางจากผิวโลกเปน 2 เทาของรัศมีโลก ดาวเทียมดวง
นี้ จะมีคาความเรงเนื่องจากสนามความโนมถวงเปนเทาใด ( กําหนด ความเรงที่ผิวโลก = g )
1. 9
1 g 2. 4
1 g 3. 3
1g 4. 2
1 g (ขอ 1)
วิธีทํา
75(En 30) ดาวเคราะหดวงหนึ่งมีมวลมากกวาโลก 2 เทา แตมีรัศมีเปนครึ่งหนึ่งของโลก จงหาคา
ความเรงเนื่องจากความโนมถวงที่ผิวของดาวเคราะหดวงนั้น ( กําหนด ความเรงที่ผิวโลก = g )
ก. 4
1 g ข. 2 g ค. 4 g ง. 8g (ขอ ง)
วิธีทํา
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
75
76(En 27) ถามวลของดวงจันทรเปน 1/80 เทาของโลก และรัศมีเปน 1/4 เทาของรัศมี
โลกใหมวลโลกเปน M และรัศมีโลกเปน R G เปนคานิจความโนมถวงสากล วัตถุที่ตก
อยางอิสระบนดวงจันทรจะมีความเรงเทาใด (g คือ ความเรงที่ผิวโลก)
ก. 1
4 g ข. 1
5 g ค. 1
6 g ง. 1
20 g (ขอ ข)
วิธีทํา
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
ตอนที่ 8 จุดศูนยกลางมวล และ จุดศูนยถวง
จุดศูนยกลางมวล (C.M.) คือ ตําแหนงซึ่งเปนที่รวมของ มวล ของวัตถุทั้งกอน
จุดศูนยถวง (C.G.) คือ ตําแหนงซึ่งเปนที่รวมของ น้ําหนักวัตถุทั้งกอน
สูตรหาจุดศูนยกลางมวล
C.M. = ( X , Y )
เมื่อ X =
¦
¦
M
MX
และ Y =
¦
¦
M
MY
สูตรหาจุดศูนยถวง
C.G. = ( X , Y )
เมื่อ X =
¦
¦
W
WX
และ Y =
¦
¦
W
WY
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
76
77. แผนพลาสติกบางเบารูปสี่เหลี่ยมจตุรัส มีความ
ยาวดานละ 20 เซนติเมตร มีมวล 1 , 2 , 3
และ 4 กิโลกรัม ติดอยูที่มุมทั้งสี่ดาน จงหา
จุดศูนยกลางมวลของระบบนี้ ( 14 , 10)
วิธีทํา
78. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม รูปสี่เหลี่ยมจตุรัส มี
ความยาวดานละ 20 เซนติเมตร มีมวล1 , 2 ,
3 และ 4 กิโลกรัม ติดอยูที่มุมทั้งสี่ดาน
จงหาจุดศูนยกลางมวลของระบบนี้ ( 12 , 10)
วิธีทํา
79. จงหาจุดศูนยถวง (C.G.) ของวัตถุรูปตัว L ใน
รูปตอไปนี้ ( 2.6 , 5.8 )
วิธีทํา
Y
X
1 kg
3 kg2 kg
4 kg
1 cm 6 cm
8 cm
1 cm
2 cm
1 kg
3 kg2 kg
4 kg
10 kg
Y
X
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
77
80. คาน AB สม่ําเสมอยาว 3 เมตร หนัก 20
นิวตัน ที่ปลาย A และ B ติดน้ําหนักไว 30
นิวตัน และ 40 นิวตัน ตามลําดับ จุดศูนย
ถวงจะอยูหางจากปลาย A เทาใด (1.67 m)
วิธีทํา
81. แทงเหล็กรูปรางดังรูป จะมีจุดศูนยถวงอยู
สูงจากพื้นเทาใด ( 4.6 m )
วิธีทํา
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
30 N 20 N 40 N
2 m
4 m
2 m
3 m
5 m
1 m
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
78
แบบฝกหัด ฟสิกส บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่
กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
1. แรง 2 แรง ขนาด 6 นิวตัน และ 8 นิวตัน กระทําตอวัตถุชิ้นหนึ่ง ณ จุดเดียวกัน จงหา
ขนาด และ ทิศทางของแรงลัพธ ถา
ก. กระทําในทิศทางเดียวกัน ข. ทิศทางตรงกันขาม ค. ถาทั้งสองตั้งฉากกัน
( ก. 14 นิวตัน ทิศเดียงกับแรงยอย ข. 2 นิวตัน ทิศเดียวกับแรง 8 นิวตัน
ค. 10 นิวตัน เอียงทํามุม 53o กับแรง 6 นิวตัน )
2. แรง 2 แรง ขนาด 15 นิวตัน และ 20 นิวตัน จะมีแรงลัพธขนาดนอยที่สุดกี่นิวตัน
ก. 0 ข. 5 ค. 10 ง. 15 (ขอ ข)
3. จากขอที่ผานมา แรงลัพธมีขนาดมากที่สุดกี่นิวตัน
ก. 20 ข. 25 ค. 30 ง. 35 (ขอ ง)
4. จากขอที่ผานมา ขนาดของแรงลัพธที่เปนไปไมได
ก. 4 ข. 5 ค. 6 ง. 7 (ขอ ก)
5. แรง 2 แรง มีขนาดเทากับ F กระทําที่จุดเดียวกันเปนมุม 120o ตอกัน จงหาขนาดแรงลัพธ
ก. F ข. 2 F ค. 3 F ง. 2 F (ขอ ก)
6. จากขอที่ผานมา ถาขนาดของแรงลัพธเทากับ 2 F จงหามุมระหวางแรง F ทั้งสอง
ก. 30o ข. 45o ค. 60o ง. 90o (ขอ ง)
7. วัตถุกอนหนึ่งเมื่อถูกแรง 50 นิวตัน กระทําจะเคลื่อนที่ดวยความเรง 4 เมตร/วินาที2
อยากทราบวาวัตถุนี้มีมวลกี่กิโลกรัม
ก. 2.5 ข. 5.0 ค. 10.0 ง. 12.5 (ขอ ง)
8. วัตถุมวล 5 กิโลกรัม ตกจากตึกสูง 50 เมตร ขณะลอยในอากาศมีแรงกระทําตอวัตถุเทาใด
ก. 50 นิวตัน ข. 100 นิวตัน ค. 250 นิวตัน ง. 500 นิวตัน (ขอ ก)
9. วัตถุมวล 20 กิโลกรัม วางอยูบนพื้นราบถูกแรง 100 นิวตัน กระทําในแนวขนานกับพื้น
ทําใหวัตถุเคลื่อนที่ไดระยะทางเทาใด ในเวลา 20 วินาที
ก. 100 เมตร ข. 500 เมตร ค. 1000 เมตร ง. 2000 เมตร (ขอ ค)
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
79
10. จากขอที่ผานมา เมื่อสิ้นสุดวินาทีที่ 20 วัตถุมีความเร็วกี่เมตร/วินาที
ก. 10 ข. 20 ค. 50 ง. 100 (ขอ ง)
11. วัตถุมวล 20 กิโลกรัม เคลื่อนที่มาดวยความเร็ว 10 เมตร/วินาที ตองออกแรงตานการ
เคลื่อนที่เทาใดวัตถุจึงจะหยุดไดในเวลา 5 วินาที
ก. 10 นิวตัน ข. 20 นิวตัน ค. 30 นิวตัน ง. 40 นิวตัน (ขอ ง)
12. จากขอที่ผานมา วัตถุเคลื่อนที่ไดระยะทางเทาใด กอนหยุด
ก. 15 เมตร ข. 20 เมตร ค. 25 เมตร ง. 50 เมตร (ขอ ค)
13. ลังใบหนึ่งตกจากรถบรรทุกที่กําลังแลนดวยความเร็ว 72 กิโลกรัม/ชั่วโมง แลวไถลไปบน
พื้นถนนไดไกล 20 เมตร จงหาความเรงของลังใบนี้ ขณะไถลบนพื้น มีคากี่เมตร/วินาที2
ก. –10 ข. –5 ค. 5 ง. 10 (ขอ ก)
14. จากขอที่ผานมา แรงที่พื้นถนนกระทําตอลังมีคากี่นิวตัน ถาลังใบนี้มีมวล 40 กิโลกรัม
ก. 200 ข. 400 ค. 600 ง. 800 (ขอ ข)
15. แรง 30 นิวตัน กระทําตอวัตถุมวลกอนหนึ่งในทิศทํามุม 60o กับพื้นราบ ถาวัตถุเคลื่อนที่
ดวยความเรง 3 m/s2 มวลกอนนั้นมีคากี่กิโลกรัม
ก. 4 ข. 5 ค. 6 ง. 8 (ขอ ข)
16. จากขอที่ผานมา ถาแรงกระทําตอวัตถุ จากหยุดนิ่งเปนเวลา 4 วินาที วัตถุจะเคลื่อนที่ได
ระยะ
ก. 6 เมตร ข. 10 เมตร ค. 18 เมตร ง. 24 เมตร (ขอ ง)
17. จากรูปเปนกราฟระหวางความเร็ว v และเวลา t ใน
การเคลื่อนที่ของวัตถุมวล 5 กิโลกรัม จงหาวาในการ
เปลี่ยนตําแหนงของวัตถุจากจุด A ไปยังจุด B วัตถุนี้
วัตถุนี้จะตองใชไดรับแรงจากภาย นอกกี่นิวตัน
ก. 5 นิวตัน ข. 50 นิวตัน
ค. 500 นิวตัน ง. 5000 นิวตัน (ขอ ง)
v(km/s)
B
(8, 12)
(0, 4)
A
t(s)
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
80
ขอมูลตอไปนี้ใชสําหรับโจทย 3 ขอถัดไป
จากรูป วัตถุมวล m1 = 6 กิโลกรัม, m2 = 4 กิโลกรัม วางอยูบนพื้นที่ไมมีความผิด เมื่อ
ออกแรง 40 นิวตัน กระทําตอมวล m1 ทําใหมวลทั้งสองเคลื่อนที่ติดกันไป
18. มวล m1 และ m2 เคลื่อนที่ดวยความเรง กี่เมตร/วินาที2
ก. 2 ข. 4 ค. 6 ง. 8 (ขอ ข)
19. แรงกระทําระหวางมวล m1 และ m2 มีคาเปนกี่นิวตัน
ก. 8 ข. 16 ค. 32 ง. 40 (ขอ ข)
20. จากรูปวัตถุมวล 10 kg และ 5 kg
ผูกติดกันดวยเชือก อยูบนพื้นที่ไมมี
แรงเสียดทาน หากความเรงของการ
เคลื่อนที่มีคา 2 m/s2 ใหหาแรง T1 และ T2 ( 30 N , 20 N )
21. มวล 3 ชิ้น วางอยูบนพื้นที่ไมมีแรงเสียด
ทาน และถูกดึงดวยแรง T3 = 60 N อยาก
ทราบวา T2 / T1 มีคา (3.0)
22(มช 30) นักเรียนคนหนึ่งใชเชือกมวล 0.5 kg
ผูกติดกับถุงทรายมวล 4 kg ถานักเรียนใชมือ
ดึงเชือกที่จุด A ดวยแรง 9 นิวตัน ในแนว
ระดับ จงหาวาถุงทรายจะดึงเชือกที่จุด B ดวย
แรงกี่นิวตัน (8.0 นิวตัน)
23(มช 29) หัวรถจักรคันหนึ่งลากรถพวงอีก 2 คัน ถาไมคิดคาแรงเสียดทาน จงหาวาแรงดึง
ระหวางหัวรถจักรกับรถพวงคันแรกจะมีคาเปนกี่เทาของแรงดึงระหวางรถพวงคันที่ 1 และ
คันที่ 2
ก. 1/3 ข. 1/2 ค. 1 ง. 2 (ขอ ง)
40 N m1 m2
5 kg10 kg
T2 T1
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
81
24(มช 24) ถา T1 = 4 นิวตัน และพื้นไมมีความเสียดทาน ถาตองการใหวัตถุทั้งสามเคลื่อนที่
ดวยความเรง a เมตรตอวินาที2 แรง P ตองมีขนาดกี่นิวตัน (ขอ ค)
ก. 7 ข. 9.3
ค. 17 ง. 22.6
25(En 37) จากรูป ถามวล 1 กิโลกรัม
และ 2 กิโลกรัม อยูบนพื้นราบผิวเกลี้ยง
และไมคิดมวลเครื่องชั่งสปริง และเชือก คาที่อานไดจากเครื่องชั่งเปนเทาใด
1. 0 N 2. 5 N 3. 6 N 4. 10 N (ขอ 2)
26. เชือกเสนหนึ่งทนแรงตึงไดมากที่สุด 600 นิวตัน นําไปฉุดวัตถุมวล 50 กิโลกรัม ที่วาง
บนพื้น ระดับลื่นในแนวระดับ จะทําใหวัตถุมีความเรงมากที่สุดกี่เมตร/วินาที2
ก. 6 ข. 8 ค. 10 ง. 12 (ขอ ง)
27. จากขอที่ผานมา ถาเปลี่ยนเปนฉุดวัตถุขึ้นในแนวดิ่ง วัตถุจะมีความเรงมากที่สุดกี่ m/s2
ก. 2 ข. 4 ค. 6 ง. 8 (ขอ ก)
28. จากขอที่ผานมา ถาหยอนวัตถุลงในแนวดิ่ง ดวยความเรง 2 เมตร/วินาที2 เชือกจะมีแรงตึงเทาใด
ก. 200 นิวตัน ข. 400 นิวตัน ค. 500 นิวตัน ง. 600 นิวตัน (ขอ ข)
29. ชายคนหนึ่งดึงวัตถุขึ้นไปบนยอดตึกสูง 50 m โดยใชวิธีนําเชือกเบาผูกกับวัตถุคลองกับ
รอกลื่นดังรูป พบวาขณะวัตถุขึ้นไปถึงยอดตึกจะมีความเร็ว 2.0 เมตร/วินาที ถาวัตถุมี
มวล 25 kg ชายคนนั้นตองออกแรงดึงเทาไร
1. 50 นิวตัน 2. 150 นิวตัน
3. 250 นิวตัน 4. 350 นิวตัน (ขอ 4)
30. หญิงตุมมวล 80 กิโลกรัม ยืนบนตาชั่งในลิฟตที่กําลังเคลื่อนลงดวยความเรง 2
เมตร/วินาที2 จงหาตัวเลขที่ปรากฎบนตาชั่ง มีคากี่กิโลกรัม
ก. 64 ข. 72 ค. 80 ง. 96 (ขอ ก)
31. จากขอที่ผานมา ถาลิฟตกําลังจะหยุด โดยลดอัตราเร็วลงอยางสม่ําเสมอ วินาทีละ 2 เมตร/-
วินาที ขณะนั้นตาชั่งอานไดกี่กิโลกรัม
ก. 64 ข. 72 ค. 80 ง. 96 (ขอ ง)
37o
P
8 kg5 kg 4 kg
T2T1
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
82
32. นิวตันมีมวล 60 กิโลกรัมยืนอยูบนตาชั่งในลิฟตที่กําลังเคลื่อนที่ลงดวยความเรง 0.5
เมตร/วินาที2 ในขณะหนึ่งเขาไดใชมือทั้งสองขางดึงเชือกที่หอยลงมาจากเพดานลิฟต เมื่อ
เขามองที่ตาชั่งเข็มชี้ที่ 55 กิโลกรัม อยากทราบวาเชือกมีแรงตึงเทาใด (20 N)
33. วัตถุกอนหนึ่งมีมวล 1 กิโลกรัม หอยแขวนไวกับตาชั่งสปริงซึ่งติดไวกับเพดานลิฟต
ลิฟตเริ่มเคลื่อนที่ลงจากหนุดนิ่งดวยความเรง 0.5 เมตร/วินาที2 จนมีความเร็วคงที่ 1
เมตร/วินาที แลวลดอัตราเร็วลงจนหยุดนิ่งดวยขนาดความเรง 0.5 เมตร/วินาที2 ใน
ระหวางลิฟตลดอัตราเร็วลงนั้นตาชั่งสปริงอานคาไดเทาใด (10.5 N)
34(มข 36) ลิฟท และน้ําหนักบรรทุกรวมกันมีมวล 800 kg เคลื่อนที่ลงดวยความเร็ว 6 m/s ถา
ทําใหลิฟทหยุดในระยะทาง 15 เมตร ดวยความหนวงคงที่ จงหาความตึงในสายเคเบิล
ก. 7040 นิวตัน ข. 8960 นิวตัน ค. 160 นิวตัน ง. 1760 นิวตัน (ขอ ข)
35(มช 28) ลิฟทเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรง 3 m/s2 ลวดที่แขวนลิฟททนแรงดึงไดไมเกิน
8000 นิวตัน ถากําหนดใหลิฟทมีมวล 200 kg และคน 1 คน มีมวลเฉลี่ย 60 kg
ลิฟทนี้จะบรรทุกคนไดมากที่สุดกี่คน (ใหใช g = 9.8 m/s2)
ก. 6 ข. 7 ค. 8 ง. 9 (ขอ ข)
36. ลิฟตขนคนงานกอสราง มีมวล 180 กิโลกรัม โดยลวดที่ดึงลิฟตสามารถทนแรงดึงไดไม
เกิน 9000 นิวตัน ถาความเรงสูงสุดของลิฟต มีขนาด 2 เมตร/วินาที2 ขณะขนคนงานขึ้น
ไปที่กอสราง ลิฟตเครื่องนี้จะบรรทุกคนงานไดมากที่สุดกี่คน ถาเฉลี่ยคนงานมีมวลคนละ
65 กิโลกรัม (8 คน)
37. ทารซานมวล 75 กิโลกรัม เขาไปอยูในลิฟต แลวโหนเชือกโดยขาลอยพนพื้น ถาขณะนั้น
ลิฟตกําลังเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรง 1.2 เมตร/วินาที2 จงหาแรงตึงเชือก (840 N)
38. ชายคนหนึ่งมีมวล 60 กิโลกรัม ยืนชั่งน้ําหนักบนลอเลื่อน ซึ่งเคลื่อนที่ลงตามพื้นเอียงลื่น
ทํามุม 30o กับแนวระดับ จงหาน้ําหนักที่อานไดจากตาชั่ง (450 N)
39. วัตถุ 2 ชิ้นมวล 7 และ 5 kg ตามลําดับ เชื่อมกันดวยเชือก
มวล 4 kg ดังรูป ถามีแรงฉุดวัตถุทั้งสองขึ้นดวยแรง 200
นิวตัน จงหาความตึงเชือกที่ปลายบน (112.5)
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
83
ขอมูลตอไปนี้ใชสําหรับโจทย 3 ขอถัดไป
จากรูปมวลสองกอน m1 และ m2 มีขนาด 4 และ 5 กิโลกรัม
ตามลําดับ ผูกติดกันดวยเชือกซึ่งมีมวล 1 กิโลกรัม และมีแรง F ขนาด
120 นิวตัน กระทําตอวัตถุในแนวดิ่ง
40. ความเรงของระบบมีคากี่เมตร/วินาที2
ก. 1.0 ข. 2.0
ค. 3.3 ง. 4.5 (ขอ ข)
41. แรงตึงเชือกที่ปลายบน มีคากี่นิวตัน
ก. 60 ข. 64 ค. 72 ง. 80 (ขอ ค)
42. แรงตึงเชือกที่ปลายลาง มีคากี่นิวตัน
ก. 60 ข. 64 ค. 72 ง. 80 (ขอ ก)
43(มช 37) ให T2 และ T1 เปนแรงตึงในเชือกเสนลาง และเสนบน
ในรูปตามลําดับ อัตราสวนของ T2 ตอ T1 Γ
1T
2T
Η ขณะที่
มวลแตละกอนมีอัตราเรง a ทิศพุงขึ้นตามแนวดิ่งจะเปน
1. 1 2.
2m+1m
1m
3.
2m+1m
2m
4. (m1 + m2)(a + g) (ขอ 3)
โจทยสําหรับคําถาม 3 ขอถัดไป
วัตถุ m1 วางอยูบนโตะที่ไมมีความฝด ผูกติดกับ
มวล m2 ดวยเชือกเบา แลวคลองผานรอกดังรูป
44. หลังจากมวล m2 เคลื่อนที่เปนระยะ 0.5 เมตร
อัตราเร็วของ m2 ขณะนั้นเทากับ 2 เมตร/วินาที
ความเรงของมวล m1 เทากับกี่เมตร/วินาที2
ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4 (ขอ ง)
45. ถา m1 มีมวล 0.3 กิโลกรัม m2 จะมีมวลกี่กิโลกรัม
ก. 0.1 ข. 0.2 ค. 0.3 ง. 0.4 (ขอ ข)
m1
m2
F
*
m1
m2
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
84
46. แรงตึงในเสนเชือกที่ผูกมวล m1 และ m2 มีคากี่นิวตัน
ก. 0.4 ข. 0.8 ค. 1.2 ง. 1.6 (ขอ ค)
ขอมูลสําหรับโจทย 3 ขอถัดไป
จากรูปวัตถุ A, B และ C มีมวล 3, 5
และ 2 กิโลกรัม ตามลําดับ ถาถือวา
ทุกผิวสัมผัสไมมีความฝด
47. ความเรงของวัตถุทั้งสาม มีคากี่เมตร/วินาที2
ก. 1 ข. 1.5 ค. 2.0 ง. 2.5 (ขอ ก)
48. แรงตึงเชือกที่ผูกระหวางวัตถุ A กับวัตถุ B มีคากี่นิวตัน
ก. 24 ข. 27 ค. 30 ง. 33 (ขอ ข)
49. แรงตึงเชือกที่ผูกระหวางวัตถุ B กับวัตถุ C มีคากี่นิวตัน
ก. 18 ข. 20 ค. 22 ง. 24 (ขอ ค)
ขอมูลตอไปนี้ใชสําหรับโจทย 3 ขอถัดไป
จากรูปวัตถุ A และ B ผูกติดกับเครื่องชั่งสปริง ซึ่งถือไดวาเชือกและสปริงเบา
50. ถา A และ B มีมวลเทากับ 10 กิโลกรัม เครื่องชั่งสปริงจะอานคาไดเทาใด
ก. 80 นิวตัน ข. 100 นิวตัน ค. 120 นิวตัน ง. 140 นิวตัน (ขอ ข)
51. ถา A และ B มีมวล 4 และ 6 กิโลกรัม ตามลําดับ เครื่องชั่งสปริงจะอานคาไดเทาใด
ก. 48 นิวตัน ข. 50 นิวตัน ค. 60 นิวตัน ง. 100 นิวตัน (ขอ ก)
52. ถา A และ B มีมวล 3 และ 2 กิโลกรัม ตามลําดับ เครื่องชั่งสปริงจะอานคาไดเทาใด
ก. 20 นิวตัน ข. 24 นิวตัน ค. 25 นิวตัน ง. 30 นิวตัน (ขอ ข)
A C
B
A B
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
85
53. ลูกปนมวล 40 กรัม ถูกยิงออกจากลํากลองปนดวยความเร็ว 300 เมตร/วินาที ทะลุแผน
ไมหนา 4 เซนติเมตร ทําใหอัตราเร็วของลูกปนขณะออกจากแผนไมอีกดานหนึ่งเทากับ
100 เมตร/วินาที ใหหาแรงเฉลี่ยที่แผนไมกระทําตอลูกปน (–4x104 N)
54. วัตถุหนึ่งมวล 0.5 กิโลกรัม กําลังจมลงสูกนสระน้ําดวยอัตราเรง 6 เมตร/วินาที2 แรง
เฉลี่ยที่น้ํากระทําตอวัตถุนี้มีคากี่นิวตัน
ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4 (ขอ ข)
กฎแรงดึงดูดระหวางมวล
55. ขอใดกลาวถูกตอง เกี่ยวกับแรงดึงดูดระหวางมวล
ก. แปรโดยตรงกับผลคูณของมวลทั้งสอง
ข. แปรผกผันกับกําลังสองของระยะหาง
ค. เปนแรงตางกระทํารวมของมวลทั้งสอง
ง. ที่กลาวมาถูกทุกขอ (ขอ ง)
56. จงหาคาความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของโลก ณ.จุดที่หางจากใจกลางโลก 10000 กิโล-
เมตร กําหนดมวลโลก = 6 x 1024 กิโลกรัม (4 เมตร/วินาที2)
57. ดาวเทียมดวงหนึ่งถูกสงขึ้นไปโคจรหางจากผิวโลกเปน 2 เทาของรัศมีโลก ดาวเทียมดวง
นี้ จะมีคาความเรงเนื่องจากสนามความโนมถวงเปนเทาใด ( กําหนด ความเรงที่ผิวโลก = g )
1. 9
1 g 2. 4
1 g 3. 3
1g 4. 2
1 g (ขอ 1)
58(En 30) ดาวเคราะหดวงหนึ่งมีมวลมากกวาโลก 2 เทา แตมีรัศมีเปนครึ่งหนึ่งของโลก จงหาคา
ความเรงเนื่องจากความโนมถวงที่ผิวของดาวเคราะหดวงนั้น ( กําหนด ความเรงที่ผิวโลก = g )
ก. 4
1 g ข. 2 g ค. 4 g ง. 8g (ขอ ง)
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
86
เฉลยแบบฝกหัด ฟสิกส บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ (บางขอ)
8. ตอบขอ ก
วิธีทํา ขณะวัตถุตกอยางเสรี จะมีความเรง (a) = g = 10 m/s2
จาก F = ma
F = 5(10)
F = 50 นิวตัน
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
15. ตอบ ขอ ข.
วิธีทํา จาก F = m a
30 cos 60o = m (3)
30 Γ 2
1 Η = 3 m
m = 5 kg
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
36. ตอบ 8 คน
วิธีทํา สมมุติวาในลิฟทมีคนทั้งหมด n คน
ดังนั้นมวลคนทั้งหมดเทากับ 65n กิโลกรัม
เมื่อรวมกับมวลลิฟทจะเทากับ 65n + 180 กิโลกรัม
น้ําหนักคนรวมกับลิฟทจึงเทากับ (65n + 180) g นิวตัน
จาก F = m a
9000 – (65n +180) g = (65n + 180) 2
n = 8.8 คน
แสดงวาลิฟทนี้บรรทุกคนไดสูงสุด 8 คน เกินนี้ไมไดเพราะน้ําหนักจะเกินเชือกจะขาด
( หามปด 8.8 คน ขึ้นเปน 9 คนเด็ดขาด เพราะน้ําหนักจะเกินเชือกจะขาดดังกลาว )
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
54. ตอบขอ ข.
วิธีทํา จาก F = ma
5 – R = 0.5 (6)
R = 2 นิวตัน
⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
(65n + 180) g
T = 9000 N
a = 2 m/s2
0.5 kg
m g = 5 นิวตัน
R
a = 6 m/s2

More Related Content

What's hot

เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานthanakit553
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
กิตติพงษ์ เสียงเสนาะ
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
Phanuwat Somvongs
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
Ning Thanyaphon
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
Phanuwat Somvongs
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่thanakit553
 
08งานและพลังงาน
08งานและพลังงาน08งานและพลังงาน
08งานและพลังงาน
กิตติพงษ์ เสียงเสนาะ
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันธงชัย ควรคนึง
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
Kan Pan
 
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กเรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กApinya Phuadsing
 
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
กิตติพงษ์ เสียงเสนาะ
 
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
Aey Usanee
 
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียนแผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
โรงเรียนเทพลีลา
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
Phanuwat Somvongs
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง
wiriya kosit
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบWijitta DevilTeacher
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
Weerachat Martluplao
 

What's hot (20)

เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docxแบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
แบบฝึกหัดเสริม สมดุลกล.docx
 
06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล06แบบฝึกเครื่องกล
06แบบฝึกเครื่องกล
 
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
บทที่ 3 มวล แรงและกฏการเคลื่อนที่
 
08งานและพลังงาน
08งานและพลังงาน08งานและพลังงาน
08งานและพลังงาน
 
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันมวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
มวล แรง และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
แรงและการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม
แรงและการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัมแรงและการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม
แรงและการเปลี่ยนแปลงโมเมนตัม
 
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็กเรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
เรื่องท่ี16ไฟฟ้าและแม่เหล็ก
 
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
03 มวลแรงและการเคลื่อนที่
 
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
การเคลื่อนที่แบบซิมเปิลฮาร์มอนิกส์
 
สมดุลกล3
สมดุลกล3สมดุลกล3
สมดุลกล3
 
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียนแผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง02 เคลื่อนที่แนวตรง
02 เคลื่อนที่แนวตรง
 
8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ8พลังงานภายในระบบ
8พลังงานภายในระบบ
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
 

Similar to เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน

P03
P03P03
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่นเรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่นthanakit553
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
menton00
 
5a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc35a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc3
Pasuda Khodmungkoon
 
123
123123
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
Chakkrawut Mueangkhon
 
เรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงานเรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงานApinya Phuadsing
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
Thepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันWannalak Santipapwiwatana
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่Janesita Sinpiang
 
งานพลังงาน
งานพลังงานงานพลังงาน
งานพลังงาน
Chakkrawut Mueangkhon
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
Thepsatri Rajabhat University
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
Thepsatri Rajabhat University
 
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.Newฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
New AcademicCenter
 
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53Sp Play'now
 

Similar to เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน (20)

P03
P03P03
P03
 
P08
P08P08
P08
 
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่นเรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
 
P03
P03P03
P03
 
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
ติวสบายฟิสิกส์ (เพิ่มเติม) บทที่ 03 แรงกฏการเคลื่อนที่
 
5a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc35a95945a4c8772000a29fbc3
5a95945a4c8772000a29fbc3
 
123
123123
123
 
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
มวลแรงกฎการเคลื่อนที่
 
เรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงานเรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงาน
 
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง มวล และกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
Ppt newton's law
Ppt newton's lawPpt newton's law
Ppt newton's law
 
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่แรง  มวล  กฎการเคลื่อนที่
แรง มวล กฎการเคลื่อนที่
 
งานพลังงาน
งานพลังงานงานพลังงาน
งานพลังงาน
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตันบทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
บทที่ 3 แรง และ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.Newฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
ฟิสิกส์ SME 3/2 3/3 Kru.New
 
Phy
PhyPhy
Phy
 
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
ข้อสอบวิทย์กสพท.ปี53
 

More from Apinya Phuadsing

แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมีแบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
Apinya Phuadsing
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนApinya Phuadsing
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนApinya Phuadsing
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนApinya Phuadsing
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนApinya Phuadsing
 
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาApinya Phuadsing
 
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาApinya Phuadsing
 
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาApinya Phuadsing
 
แนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
แนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาแนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
แนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาApinya Phuadsing
 
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมApinya Phuadsing
 
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าApinya Phuadsing
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2Apinya Phuadsing
 
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์Apinya Phuadsing
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์Apinya Phuadsing
 
เรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงเรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงApinya Phuadsing
 

More from Apinya Phuadsing (20)

แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมีแบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
แบบฝึกหัดเรื่องไฟฟ้าเคมี
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
 
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอนข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
ข้อตกลงเกี่ยวกับการเรียนการสอน
 
Img2
Img2Img2
Img2
 
Img1
Img1Img1
Img1
 
Img
ImgImg
Img
 
Img 0001
Img 0001Img 0001
Img 0001
 
Img 0001
Img 0001Img 0001
Img 0001
 
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
 
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
 
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
อุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
 
แนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
แนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยาแนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
แนะนำอุปกรณ์การสอนวิทยาศาสตร์ ร.ร.เลยอนุกูลวิทยา
 
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอมเรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
เรื่องที่19ฟิสิกส์อะตอม
 
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าเรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
เรื่องที่18คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
เรื่องที่17ไฟฟ้าและแม่เหล็ก2
 
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
เรื่องที่15ไฟฟ้าสถิตย์
 
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
เรื่องที่14แสงและทัศน์อุปกรณ์
 
เรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสงเรื่องที่13แสง
เรื่องที่13แสง
 

เรื่องที่3มวลแรงและกฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน

  • 1. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 52 ฟสิกส บทที่ 3 มวล แรง และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน ตอนที่ 1 มวล และ แรง มวล (m) คือ เนื้อของสาร ควรรู 1) มวลจะใชหนวยมาตรฐาน S.I. เปน กิโลกรัม (kg) 2) มวลเปนปริมาณซึ่งคงที่ 3) มวล อาจหมายถึง สภาพตานการเคลื่อนที่ (ความเฉื่อย) 1(มช 30) ปริมาณใดในทางฟสิกส ที่บอกใหเราทราบวา วัตถุใดมีความเฉื่อยมากนอยเพียงใด ก. แรง ข. น้ําหนัก ค. ความเรง ง. มวล (ขอ ง) 2(มช 30) วัตถุอันหนึ่งมีมวล 3 กิโลกรัม บนโลก เมื่อนําวัตถุนี้ไปดาวจูปเตอรซึ่งมี g เปน 10 เทาของโลก วัตถุนี้จะมีมวลเปนกี่กิโลกรัม ก. 3.0 ข. 9.8 ค. 30 ง. 98 (ขอ ก) แรง (F ) คือ อํานาจที่พยายามจะทําใหมวลเกิดการเคลื่อนที่ดวยความเรง ควรรู 1) แรงใชหนวยมาตรฐาน S.I. เปน นิวตัน (N) 2) แรงลัพธ คือ แรงซึ่งเกิดจากแรงยอย ๆ หลายแรงรวมกันเขามา วิธีการหาคาแรงลัพธ กรณีที่ 1 หากแรงยอยมีทิศทางเดียวกัน Fลัพธ = F1 + F2 ทิศทางแรงลัพธ จะเหมือนแรงยอยนั้น มวลมาก ตานการเคลื่อนที่มากตองใชแรงผลักมาก มวลนอย ใชแรงนอย ตานการเคลื่อนที่นอย แรงลัพธ F1 F2
  • 2. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 53 กรณีที่ 2 หากแรงยอยมีทิศตรงกันขาม Fลัพธ = F1 – F2 ทิศทางแรงลัพธ จะเหมือนแรงที่มากกวา กรณีที่ 3 หากแรงยอยมีทิศเอียงทํามุมตอกัน Fลัพธ = ±cos2F12F2 2F2 1F ΙΙ tan  = ± ± cos2F1F sin2F Ι 3. แรง 2 แรง ขนาด 3 นิวตัน และ 4 นิวตัน กระทําตอวัตถุชิ้นหนึ่ง ณ จุดเดียวกัน จงหา ขนาดของแรงลัพธ ถา ก. กระทําในทิศทางเดียวกัน ข. ทิศทางตรงกันขาม ค. ถาทั้งสองตั้งฉากกัน ( ก. 7 นิวตัน ข. 1 นิวตัน ค. 5 นิวตัน ) วิธีทํา 4(En 42/1) เมื่อแรงสองแรงทํามุมกันคาตาง ๆ ผลรวมของแรงมีคาต่ําสุด 2 นิวตัน และมีคา สูงสุด 14 นิวตัน ผลรวมของแรงทั้งสองเมื่อกระทําตั้งฉากกันจะมีคาเทาใด (ขอ 2) 1. 12 N 2. 10 N 3. 5 2 4. 8 วิธีทํา
  • 3. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 54 การแตกแรง หากมีแรง 1 แรง สมมุติเปนแรง F เราสามารถแตกออกเปน 2 แรงยอย ซึ่งตั้งฉากกันได ดังรูปภาพ แรงยอยที่ติดมุม ± จะมีคา F cos± แรงยอยที่ไมติดมุม ± จะมีคา F sin± 5. จากรูป จงหาแรง x และ y 1) 2) ( 1. x = 5 N , y = 5 3 N 2. x = 4 2 , y = 4 2 ) ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ ตอนที่ 2 กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน กฏขอที่ 1 “หากแรงลัพธที่กระทําตอวัตถุมีคาเปนศูนย วัตถุจะรักษาสภาพเดิม” กฏขอที่ 2 “หากแรงลัพธที่กระทําตอวัตถุมีคาไมเปนศูนย วัตถุจะเคลื่อนที่ดวยความเรง และความเรงที่เกิดขึ้น จะแปรผันตรงกับแรง และ แปรผกผันกับมวล” จากกฏขอนี้จะไดสมการ a = mF หรือ F = m a อยูนิ่ง ๆ เหมือนเดิม เคลื่อนที่ดวยความเร็วคงที่ y x60o 10 N 45o x y8 N
  • 4. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 55 กฏขอที่ 3 “เมื่อมีแรงกริยาก็ยอมตองมีแรงปฏิกิริยาซึ่งมีขนาดเทากัน แตมีทิศตรงกันขาม” Fกริยา = –Fปฏิกิริยา 6. กฏขอที่ 1 ของนิวตันคืออะไร ก. กฏของแรงกิริยา ข. กฏของแรงปฏิกิริยา ค. กฏของมวลสาร ง. กฏของความเฉื่อย (ขอ ง) เหตุผล 7(มช 40) เมื่อรถหยุดกระทันหัน ผูโดยสารจะคะมําไปขางหนา ปรากฏการณนี้เปนไปตามกฏ นิวตันขอ ก. ขอ 1 ข. ขอ 2 ค. ขอ 3 ง. ทุกขอ (ขอ ก) เหตุผล 8. เข็มขัดนิรภัยและที่พิงศีรษะที่ติดอยูกับเบาะนั่งในรถยนตบางคันมีไวเพื่อประโยชนอะไร เหตุผล 9(มช 24) ใชมาตัวหนึ่งลากรถ แรงที่ทําใหมาเคลื่อนที่ไปขางหนาคือ ก. แรงที่มากระทําตอรถ ข. แรงที่รถกระทําตอมา ค. แรงที่มากระทําตอพื้น ง. แรงพื้นกระทําตอเทามา (ขอ ง) เหตุผล 10(มช 32) เมื่อตกตนไมลงมากระทบพื้นจะรูสึกเจ็บ เหตุที่เจ็บอธิบายไดดวยกฏทางฟสิกสขอใด ก. กฏขอที่หนึ่งของนิวตัน ข. กฏขอที่สองของนิวตัน ค. กฏขอที่สามของนิวตัน ง. กฏแรงดึงดูดระหวางมวลของนิวตัน (ขอ ค) เหตุผล
  • 5. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 56 11(มช 25) ขอความใดที่ไมถูกตอง ตามลักษณะของแรงที่กลาวถึงในกฏขอที่ 3 ของนิวตัน (ขอ ค) ก. ประกอบดวยแรงสองแรง ข. มีขนาดเทากันและมีทิศตรงกันขาม ค. เปนแรงที่ทําใหแรงลัพธบนวัตถุมีคาเปน 0 ง. เปนแรงที่กระทําบนวัตถุตางชนิดกัน เหตุผล 12. ขณะยิงปน แรงที่ปนดันลูกกระสุน และแรงที่ลูกกระสุนดันปนมีขนาดเทากันกับทิศตรง กันขามแรงลัพธที่กระทําตอลูกกระสุนเปนศูนยหรือไม เพราะเหตุใดลูกกระสุนจึงเคลื่อนที่ ไปได เหตุผล 13. จากขอความที่วา “ จรวดไมสามารถเคลื่อนที่ขึ้นจากผิวดวงจันทรได เพราะไมมีอากาศ ผลัก” คํากลาวนี้ถูกตองหรือไม จงอธิบาย เหตุผล 14. ถาจรวดพนแกสและเชื้อเพลิงที่เผาไหมออกไป ทําใหเกิดแรงขับเคลื่อนจรวดคงตัว ความเรงของจรวดจะคงตัวหรือไม อยางไร เพราะเหตุใด เหตุผล วัตถุมวล m กิโลกรัมใดๆ เมื่อยูบนผิวโลกจะถูกโลกดูด ทําใหเกิดความเรงเทากับ 10 เมตรตอวินาที2 เรียก ความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงโลก (g) เราสามารถหาแรงที่โลกดูดวัตถุใดๆ ไดเสมอจาก F = m g แรงที่โลกดูดวัตถุนี้ เราจะเรียกชื่อเฉพาะวา น้ําหนัก (W) ดังนั้น W = m g ควรทราบวา น้ําหนัก กับมวลนั้นไมเหมือนกัน น้ําหนัก ( W ) มวล ( m ) 1) หนวยเปนนิวตัน 2) เปลี่ยนแปลงได 3) เปนเวกเตอร 1) หนวยเปนกิโลกรัม 2) มีคาคงที่ เปลี่ยนไมได 3) เปนสเกลลาร
  • 6. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 57 15. นักบินอวกาศมวล 75 kg ซึ่งน้ําหนักตัวของเขาบนดาวเคราะหดวงหนึ่งพบวาหนัก 225 N ความเรงเนื่องจากแรงดึงดูดของดาวเคราะหนั้นเปนกี่ m/s2 ก. 2 m/s2 ข. 3 m/s2 ค. 5 m/s2 ง. 10 m/s2 (ขอ ข) วิธีทํา 16. สมมติวามีการจําลองมวลที่มาตรฐาน 1 กิโลกรัม จากกรุงปารีสมาไวกรุงเทพฯ น้ําหนัก และ มวลของมวลจําลองนี้ที่กรุงเทพฯ แตกตางกับที่กรุงปารีสเทาใด ( ถา g ที่กรุงปารีส และกรุงเทพฯ เปน 9.81 และ 9.78 เมตร/วินาที2 ตามลําดับ) วิธีทํา (0.03 N , 0 kg) 17(En 32) แขวนวัตถุดวยเชือก จากเพดานแรงปฏิกิริยาตามกฏขอที่ 3 ของนิวตันของแรง ซึ่งเปนน้ําหนักของวัตถุคือ 1. แรงที่เสนเชือกกระทําตอเพดาน 2. แรงที่เสนเชือกกระทําตอวัตถุ 3. แรงโนมถวงที่วัตถุกระทําตอโลก 4. แรงที่วัตถุกระทําตอเสนเชือก (ขอ 3) เหตุผล ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ ตอนที่ 3 การคํานวณเกี่ยวกับกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน ( 1 ) 18. รถทดลองมวล 15 กิโลกรัม ถูกแรงดึง 30 นิวตัน จะเคลื่อนที่ดวยความเรงเทาใด และหาก ตอนแรกมวลนี้อยูนิ่งๆ ถามวาเมื่อเวลาผานไป 2 วินาที จะเคลื่อนที่ไปไดไกลกี่เมตร วิธีทํา ( 2 m/s2 , 4 m)
  • 7. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 58 19. แรงลัพธกระทําตอวัตถุมวล 50 กิโลกรัม ทําให มวลเคลื่อนที่ โดยมีความเร็วสัมพันธกับเวลาดัง กราฟที่กําหนดให จงหาแรงลัพธที่กระทําตอวัตถุนี้ ในหนวยนิวตัน (50 นิวตัน) วิธีทํา ควรทราบเพิ่มเติม ในสมการ F = m a ความเรงซึ่งในแนวเดียวกับแรงนั้น แรงลัพธในแนว มวลที่ถูกแรงนั้นกระทํา ขนานกับการเคลื่อนที่ 20. แรงสองแรงมีขนาดเทากัน เทากับ 3.0 นิวตัน กระทําตอมวล 6.0 กิโลกรัม จงหาขนาด และทิศของความเรงของวัตถุเมื่อแรงทั้งสอง (1 m/s2 , 0 m/s2) ก. กระทําในทิศเดียวกัน ข. กระทําในทิศตรงกันขาม วิธีทํา 21. แรงขนาด 6 และ 8 นิวตัน กระทําตอมวล 2 กิโลกรัม ในแนวขนานกับพื้นราบ ถาแรง ทั้งสองตั้งฉากตอวัตถุจะเคลื่อนที่ดวยความเรงเทาไร ก. 5 m/s2 ข. 3 m/s2 ค. 2 m/s2 ง. 1 m/s2 (ขอ ก) วิธีทํา ความเร็ว (m/s) เวลา (s) 10 10
  • 8. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 59 22. จากรูป หากวัตถุไถลไปบนพื้นราบอยางเดียว จงหาความเรงของการเคลื่อนที่ (8 m/s2) วิธีทํา 23. วางมวล 10 กิโลกรัม ไวบนกระดานลื่น เมื่อเอียงกระดานทํามุม 30o กับแนวราบ มวลจะ เคลื่อนที่ดวยความเรงกี่เมตร/วินาที2 1. 1 2. 3 3. 5 4 . 7 (ขอ 3) วิธีทํา 24. จากรูปวัตถุ 20 kg และ 10 kg วางติดกันบน พื้นที่ไมมีแรงเสียดทาน ใหหา แรง P และ Q ในรูปภาพ ( 60 N , 20 N ) วิธีทํา 25(En 41/2) แทงไมมวล 5 , 3 และ 2 กิโลกรัม วางติดกันบนพื้นเกลี้ยง ถาออกแรงผลัก 10 นิวตัน ดังรูป จงหาขนาดของแรงที่แทงไม 2 กิโลกรัม กระทําตอแทงไม 3 กิโลกรัม 1. 2.0 N 2. 5.0 N 3. 8.0 N 4 . 10.0 N (ขอ 1) วิธีทํา 60o5 kg 80 N
  • 9. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 60 26. จากรูปวัตถุมวล 30 kg และ 20 kg ผูกติดกันดวยเชือก อยูบนพื้นที่ไมมี แรงเสียดทาน หากความเรงของการ เคลื่อนที่มีคา 3 m/s2 ใหหาแรง T1 และ T2 ( 150 N , 90 N ) วิธีทํา 27(มช 42) จากรูป มวลขนาด 10 , 8 และ 6 กิโลกรัม วางบนพื้นที่ไมมีความฝด ออกแรงขนาด 120 นิวตัน ลากมวลทั้ง สามไป จงหาวาขนาดของแรงดึงในเสน เชือก T1 และ T2 มีคากี่นิวตัน 1. T1 = T2 = 60 2. T1 = T2 = 120 3. T1 = 50 , T2 = 90 4. T1 = 90 , T2 = 50 (ขอ 3) วิธีทํา 28. มวล 3 ชิ้น วางอยูบนพื้นที่ไมมีแรงเสียด ทาน และถูกดึงดวยแรง T3 = 30 N อยาก ทราบวา T2 / T1 มีคา (3.0) วิธีทํา 20 kg30 kg T2 T1
  • 10. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 61 ตอนที่ 4 การคํานวณเกี่ยวกับกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน ( 2 ) 29. นักเรียนคนหนึ่งถือเชือกมวลนอยมาก ซึ่งปลายขางหนึ่งผูกติดกับ เหล็กมวล 7 kg ใหหาแรงดึงเชือกเมื่อ ก. ดึงเชือกขึ้นดวยความเรง 2 เมตร/วินาที2 ข. หยอนเชือกลงดวยความเรง 2 เมตร/วินาที2 ( 84 N , 56 N ) วิธีทํา 30. นักเรียนคนหนึ่งถือเชือกมวลนอยมาก ซึ่งปลายขางหนึ่ง ผูกติดกับเหล็กมวล 1 kg ใหหาแรงดึงเชือก เมื่อดึงเชือกขึ้น ดวยความเรง 5 เมตร/วินาที2 (15 นิวตัน) วิธีทํา 31. จากขอที่ผานมา ใหหาแรงดึงเชือก เมื่อหยอนเชือกลงดวยความเรง 5 เมตร/วินาที2 วิธีทํา (5 นิวตัน)
  • 11. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 62 32(En 42/1) นักกระโดดรมมวล 65 กิโลกรัม ลงถึงพื้นดินดวยการยอตัว ขณะยืดตัวขึ้นจุด ศูนยกลางมวลของรางกายมีขนาดของความเรง 30 เมตรตอ(วินาที)2 แรงที่พื้นกระทําตอ เทาของนักกระโดดรมคนนี้เปนเทาใด (ขอ 4) 1. 650 N 2. 1300 N 3. 1950 N 4 . 2600 N วิธีทํา 33. ชายคนหนึ่งมวล 50 กิโลกรัม ยืนอยูในลิฟท จงหาแรงที่พื้นลิฟทกระทําตอชายคนนั้นเมื่อ ลิฟทเริ่มเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรง 1.2 m/s2 (560 N) วิธีทํา 34. จากขอที่ผานมา จงหาแรงที่พื้นลิฟทกระทําตอชายคนนั้น เมื่อลิฟทกําลังเคลื่อนที่ลงดวย ความเรง 1.2 m/s2 (440 N) วิธีทํา 35. จากขอที่ผานมา จงหาแรงที่พื้นลิฟทกระทําตอชายคนนั้น เมื่อลิฟทเคลื่อนที่ดวยความเร็ว สม่ําเสมอ 2 m/s ( 500 N) วิธีทํา
  • 12. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 63 36(En 27) นายแดงยืนอยูบนตาชั่งสปริงในลิฟท ถาลิฟทอยูนิ่ง ๆ นายแดงอานน้ําหนักตัวเองได 56 kg ถาลิฟทเคลื่อนที่ลงดวยความเรง 2 m/s2 นายแดงจะอานน้ําหนัก ตัวเองจากตาชั่ง นั้นไดกี่กิโลกรัม ก. 40 ข. 44.8 ค. 50 ง . 67.2 (ขอ ข) วิธีทํา 37. นักเรียนคนหนึ่งมวล 50 kg ยืนอยูบนตาชั่งในลิฟทที่กําลังเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรง 1 m/s2 ในขณะเดียวกันมือของเขาก็ดึงเชือกที่แขวนอยูกับเพดานลิฟท ถาเชือกมีความตึง 150 นิวตัน เข็มของตาชั่งสปริงจะชี้ที่กี่กิโลกรัม (40 kg) วิธีทํา 38. ถาเรายืนชั่งน้ําหนักใกลๆ กับโตะ แลวใชมือกดลงบนโตะไว คาที่อานไดจากเครื่องชั่งจะ เพิ่มขึ้นหรือลดลง เพราะเหตุใด ( ลดลง ) วิธีทํา 39(En 36) ชายคนหนึ่งมวล 75 kg อยูในลิฟท กดปุมใหลิฟทลง ลิฟทเริ่มลงดวยความเรงจน มีความเร็วคงที่ แลวเริ่มลดอัตราเร็วลงดวยขนาดของความเรง 1 m/s2 เพื่อจะหยุดแรงที่ ลิฟทกระทําตอชายคนนี้ขณะที่ลิฟทกําลังจะหยุดเปนกี่นิวตัน (825 นิวตัน) วิธีทํา
  • 13. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 64 40. ลิฟทตัวหนึ่งมีมวล 500 กิโลกรัม บรรทุกสัมภาระมวล 100 กิโลกรัม หากลิฟทนี้เคลื่อน ที่ขึ้นดวยความเรงสูงสุดไดเพียง 2 เมตร/วินาที2 จงหาแรงดึงสายเคเบิลสูงสุดที่กระทํา ตอลิฟทนี้ ( 7200 นิวตัน ) วิธีทํา 41. ลิฟทตัวหนึ่งมีมวล 500 กิโลกรัม เคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรงสูงสุดไดเพียง 2 เมตร/วินาที2 หากแรงดึงสายเคเบิลสูงสุดที่มีไดมีคา 8400 นิวตัน จงหาวาลิฟทนี้สามารถบรรทุกสัมภาระ ไดมากที่สุดกี่กิโลกรัม ( 200 ) วิธีทํา 42. ผูกเชือก (ดายเย็บผาที่เหนียวพอประมาณ) กับถุงทราย 1 ถุง ดึงขึ้นอยางชาๆ กับดึงขึ้น อยางรวดเร็วผลที่เกิดขึ้นคือ เมื่อดึงขึ้นอยางชาๆ เชือกไมขาด แตดึงขึ้นอยางรวดเร็วเชือก ขาด จงใหเหตุผล เหตุผล 43. “การที่ยานอวกาศลงบนดวงจันทรไดอยางนิ่มนวล จะตองใชจรวดยั้งความเร็ว” จงอธิบายวาแรงที่จรวดยั้งความเร็วควรเปนอยางไร เหตุผล ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
  • 14. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 65 ตอนที่ 5 การคํานวณเกี่ยวกับกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน ( 3 ) 44. วัตถุมวล 3 kg และ 2 kg ผูกติดกันดวยเชือก ดังรูป วัตถุทั้งสอง ถูกดึงขึ้นดวยเชือกอีกเสนดวยความเรง 2 m/s2 ในแนวดิ่ง แรง ดึงเชือกทั้งสองมีคาเทาใด ( T1 = 60 N , T2 = 24 N ) วิธีทํา 45(En 43/1) มวล 2 กอนมีมวลกอนละ 1 กิโลกรัม ผูกติดเชือกน้ําหนักเบา และแขวนติดกับ เพดานของลิฟทดังรูป ถาลิฟทเคลื่อนที่ลงดวยความเรง 2 เมตรตอ(วินาที)2จงหาแรงดึงในเชือก T1 และ T2 1. T1 = 16 N และ T2 = 8 N 2. T1 = 20 N และ T2 = 10 N 3. T1 = T2 = 20 N 4. T1 = 24 N และ T2 = 12 N (ขอ 1) วิธีทํา 46. จากรูป m1 , m2 มวล 2 kg และ 0.5 kg อยูบนพื้นเกลี้ยงระบบจะเคลื่อนที่ดวยความเรงเทาใด วิธีทํา ( 2 m/s2) 47. จากขอที่ผานมา เชือกจะมีแรงดึงเชือกเทาใด (4 N) วิธีทํา
  • 15. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 66 48. จากขอที่ผานมา ระบบจะมีความเร็วสูงสุดเทาใด (2 m/s) วิธีทํา 49. มวล 2 และ 8 กิโลกรัม ถูกจัดดังรูป(A)โดยพื้นโตะ และรอกเกลี้ยง เมื่อจัดใหมตามรูป(B) อัตราสวนของความเรงของระบบ A ตอระบบ B เปนเทาใด (1/4 ) วิธีทํา 50. จากรูปวัตถุจะมีความเรงเทาไร และมีความเรงมีทิศทางไปทางใด วิธีทํา (6.67 m/s2) 51. จากรูปขอที่ผานมาเชือกจะมีความตึงเทาใด (33.33 นิวตัน) วิธีทํา
  • 16. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 67 52. จากรูปตาชั่งเบา A มีมวลมากกวา B และ A กําลังเคลื่อนที่ดวยความเรง 2 m/s2 ขณะนั้นตาชั่งอานคาได 12 นิวตัน มวล A หนักเทาไร ก. 1.0 kg ข. 1.5 kg ค. 2.0 kg ง . 2.5 kg (ขอ ข) วิธีทํา 53. จากขอที่ผานมา มวล B หนักเทาใด ก. 0.5 kg ข. 0.8 kg ค. 1.0 kg ง . 1.2 kg (ขอ ค) วิธีทํา 54(มช 41) A และ B เปนรอกเบาเกลี้ยงไมมีน้ําหนัก ตรึงอยูบนโตะเกลี้ยงดังแสดงในรูป C เปนเครื่องชั่งสปริงที่ปลายทั้งสองขาง มีมวลขางละ 2 กิโลกรัม ผูกติดกับเชือกเบาคลอง ผานรอก A และ B จะอานคาน้ําหนักของ มวลบนเครื่องชั่งสปริงไดเทาใด (ขอ 1) 1. 2 กิโลกรัม 2. 4 กิโลกรัม 3. 2 นิวตัน 4 . 4 นิวตัน วิธีทํา 55. ลูกปนมวล 0.02 kg เคลื่อนที่ดวยความเร็ว 400 m/s วิ่งเขาชนในแนวตั้งฉากกับตนไม แนวราบปรากฏวาเจาะเนื้อไมเขาลึก 0.1 เมตร จึงหยุดนิ่ง จงหาแรงตานทานการเคลื่อนที่ ที่เนื้อไมกระทําตอลูกปน (16000 นิวตัน) วิธีทํา
  • 17. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 68 56(มช 34) ลูกปนมวล 0.002 กิโลกรัม เคลื่อนที่ออกจากลํากลองปนซึ่งยาว 0.80 เมตร ดวยอัตรา เร็ว 400 เมตร/วินาที จงหาแรงที่ดันใหลูกปนหลุดออกจากลํากลองจะมีคากี่นิวตัน (200) วิธีทํา 57(En 31) ในการทดลองการเคลื่อนที่ของนิวตัน มีการ ชดเชยความฝด และใชแรงขนาดตาง ๆ ลากมวล และวัดความเรง เมื่อเขียนกราฟระหวางแรง และ ความเรงไดรูปกราฟดังนี้ มวลที่ทดลองมีคา 1. 0.8 kg 2. 1.0 kg 3. 1.1 kg 4. 1.2 kg (ขอ 4) วิธีทํา 58. นักเรียนคนหนึ่งทดลองดึงวัตถุ A , B , C และ D โดยใชแรงตาง ๆ กัน เมื่อนําแรง F มาเขียน กราฟกับความเรง a ของวัตถุแตละกอน จะได กราฟดังรูปวัตถุกอนใดมวลมากที่สุด และกอน ใดนอยที่สุด (ขอ 1) 1. C , A 2. C , D 3. A , B 4. A , D วิธีทํา 59. วัตถุมวล 400 กรัม ถูกแขวนไวแนนดวยเสนดายเล็กๆ เสนหนึ่ง ที่ดานลางทรงกลมมีเสนดายชนิดเดียวกันผูกติดแนนอยู โดยการ พิจารณาแรงที่กระทําตอทรงกลม ใหหาวาจะตองกระตุกดายเสน ลางดวยความเรงกรณีใดบาง ดายเสนลางจึงจะมีโอกาสขาดกอน ดายเสนบน ( ขอ 2. ) ก. 8 m/s2 ข. 16 m/s2 ค. 24 m/s2 1. ขอ ก. และ ข. 2. ขอ ข. และ ค. 3. ขอ ค.และ ก. 4. ไมมีใดขอถูก -0.2 0.5 1.0 1.5 0.5 1.0 1.5 F(N) a(ms )-2
  • 18. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 69 ตอนที่ 6 แรงเสียดทาน แรงเสียดทาน คือ แรงที่เกิดจากการเสียดสีระหวางผิวสัมผัสคูหนึ่งๆใดๆ มีทิศตานการเคลื่อนที่เสมอ ประเภทของแรงเสียดทาน ประเภทที่ 1 แรงเสียดทานสถิตย (fs) คือ แรงเสียดทานที่มีตอนวัตถุอยูนิ่ง ๆ สมบัติ 1.1 มีคาไมคงที่ 1.2 ต่ําสุด= 0 และ fs(สูงสุด) = ℵsN เมื่อ ℵs คือ สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานสถิตย N คือ แรงดันพื้น ประเภทที่ 2 แรงเสียดทานจลน (fk) คือ แรงเสียดทานที่มีตอนวัตถุกําลังเคลื่อนที่ สมบัติ 2.1 fk < fs (สูงสุด) 2.2 fk = ℵkN เมื่อ ℵk คือ สัมประสิทธิ์แรงเสียดทานจลน N คือ แรงดันพื้น 60(มช 26) เมื่อดันกลองใบหนึ่ง กลองไมเคลื่อนที่เลยเพราะ ก. กลองมีน้ําหนักมาก ข. โตะมีแรงเสียดทานมาก ค. กลองมีแรงปฏิกิริยาโตตอบเทากับแรงดัน ง. ถูกทุกขอ (ขอ ข) วิธีทํา 61(มช 24) ถา N เปนแรงปฏิกิริยาที่พื้นกระทําตอวัตถุ และ ℵs เปนสัมประสิทธิ์ของความเสียด ทานสถิตระหวางผิววัตถุและพื้นแรงเสียดทานสถิต ในขณะที่วัตถยังไมเคลื่อนที่จะมีคา ก. 0 ข. ℵsN ค. ระหวาง 0 และ ℵsN ง. มากกวา ℵsN ( ค ) วิธีทํา
  • 19. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 70 หลักในการคํานวณเกี่ยวกับแรงเสียดทาน ขั้นที่ 1 ใหหาแรงเสียดทานใหไดกอน โดย fs = ℵsN ใหหาแรงเสียดทานสถิตย (ตอนวัตถุอยูนิ่ง ๆ ) และ fk = ℵkN ใหหาแรงเสียดทานจลน (ตอนวัตถุกําลังเคลื่อนที่) ขั้นที่ 2 กรณี 1 หาก a = 0 (วัตถุอยูนิ่งๆ , ความเร็วคงที่ , เริ่มจะเคลื่อนที่ ) ใหใช Fซาย = Fขวา หรือ Fขึ้น = Fลง กรณี 2 หาก a ⋅ 0 ใหใช Fลัพธ = m⌡a 62. วัตถุมวล 2 กิโลกรัม อยูบนพื้นที่มี ส.ป.ส ความเสียดทาน 0.2 จงหาแรงนอยที่สุดที่จะ ทําใหวัตถุเริ่มเคลื่อนที่ (4 N) วิธีทํา 63. จากขอที่ผานมา จงหาแรงที่จะทําใหวัตถุเคลื่อนที่ดวยความเรง 2 เมตร/วินาที2 (8 N) วิธีทํา 64. F เปนแรงซึ่งใชในการดึงใหวัตถุมวล 100 กิโลกรัม จนเกิดความเรง 2 เมตร/วินาที2 อยากทราบวา F มีคากี่นิวตัน 1. 0 2. 100 3. 300 4. 200 (ขอ 3) วิธีทํา
  • 20. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 71 65(มช 37) แทงไม 2 อัน A และ B มีน้ําหนัก 2 กิโลกรัม และ 4 กิโลกรัม ผูกติดกันดวย เชือกเบาถูกลากดวยแรง F ไปบนพื้นไมที่อยูในแนวระดับซึ่งมีสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน สถิตเปน 0.7 และ สัมประสิทธิ์ความเสียดทานจลนเปน 0.4 จงหาขนาดของแรง F ที่จะทํา ใหแทงไมทั้งสอง เคลื่อนที่ไปบนพื้นดวยความเร็วคงที่ (ขอ 1) 1. 24 นิวตัน 2. 42 นิวตัน 3. 2.4 นิวตัน 4. 4.2 นิวตัน วิธีทํา 66. มวล 10 และ 15 กิโลกรัม วางบนพื้นฝด ตอกันดวยเชือกเบา ออกแรง 300 นิวตัน ดึงในแนวราบทําใหระบบมีความเรงคงที่ ถาสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานจลนมีคา 0.5 ทุกผิวสัมผัส จงคํานวณความเรงของระบบ 1. 7 เมตร/วินาที2 2. 5 เมตร/วินาที2 3. 3 เมตร/วินาที2 4. 1 เมตร/วินาที2 (ขอ 1) วิธีทํา 67. จากขอผานมา แรงตึงในเสนเชือก 1. 100 นิวตัน 2. 120 นิวตัน 3. 140 นิวตัน 4. 160 นิวตัน (ขอ 2) วิธีทํา
  • 21. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 72 68. วัตถุ 15 2 กิโลกรัม วางบนระนาบเอียงฝดทํามุม 45o กับแนวราบออกแรง F ดึง วัตถุขนานกับระนาบเอียง ถาสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานสถิตมีคา 0.5 จงหาแรง F ที่พอดีทําใหวัตถุขยับขึ้น 1. 75 นิวตัน 2. 150 นิวตัน 3. 175 นิวตัน 4. 225 นิวตัน (ขอ 4) วิธีทํา 69. จากขอที่ผานมา จงคํานวณแรง F ที่พอดีทําใหวัตถุขยับลง (ขอ 1) 1. 75 นิวตัน 2. 225 นิวตัน 3. 350 นิวตัน 4. 450 นิวตัน วิธีทํา 70. จากขอที่ผานมา จงคํานวณแรง F ที่ทําใหวัตถุเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรง 5 2 เมตร/วินาที2 1. 75 นิวตัน 2. 225 นิวตัน 3. 375 นิวตัน 4. 450 นิวตัน (ขอ 3) วิธีทํา
  • 22. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 73 71. มวล m วางบนพื้นเอียงซึ่งทํามุม 30o กับ แนวระดับ ถาวัดไดวามวลนั้นไถลลงพื้น เอียงดวยความเรง 8 1 g สัมประสิทธิ์ความ เสียดทานจลนระหวางมวลนั้นกับพื้นจะเปน เทาไร (0.4) วิธีทํา ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ ตอนที่ 7 กฏแรงดึงดูดระหวางมวล เมื่อมวล 2 กอนอยูหางกันขนาดหนึ่ง มวลทั้งสองจะมีแรงดึงดูดกันเสมอ เราสามารถหาแรงดึงดดระหวางมวล 2 กอนใดๆ ไดเสมอ จาก เมื่อ FG คือ แรงดึงดูดระหวางมวล (นิวตัน) m1 , m2 คือ ขนาดของมวลกอนที่ 1 และ กอนที่ 2 ตามลําดับ (กิโลกรัม) R คือ ระยะหางระหวางใจกลางมวลทั้งสอง (เมตร) G คือ คานิจความโนมถวงสากล คือ 6.672 x 10–11 N⌡m2/kg2 72. ดาว A มีมวล 6 x 1020 กิโลกรัม มียานอวกาศมวล 5 x 102 กิโลกรัม โคจรอยูรอบเปน วงกลมรัศมี 5x107 กิโลเมตร ดาว A จะมีแรงดึงดูดยานอวกาศนี้เทาใด ( 8.01x10–9 N) วิธีทํา 300 a = 8 1 g
  • 23. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 74 เราสามารถหาความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงไดจาก g = 2R Gm เมื่อ g คือ ความเรงเนื่องจากแรงดึงดูด ณ จุดใด ๆ (m/s2) G คือ คานิจความโนมถวงสากลคือ 6.672 x 10–11N⌡m2/kg2 m คือ มวลดวงดาวนั้น ๆ (kg) R คือ ระยะจากใจกลางดวงดาวถึงจุดที่จะหาคา g 73. จงหาคาความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของโลก ณ.จุดที่หางจากใจกลางโลก 10000 กิโล- เมตร กําหนดมวลโลก = 6 x 1024 กิโลกรัม (4 เมตร/วินาที2) วิธีทํา 74. ดาวเทียมดวงหนึ่งถูกสงขึ้นไปโคจรหางจากผิวโลกเปน 2 เทาของรัศมีโลก ดาวเทียมดวง นี้ จะมีคาความเรงเนื่องจากสนามความโนมถวงเปนเทาใด ( กําหนด ความเรงที่ผิวโลก = g ) 1. 9 1 g 2. 4 1 g 3. 3 1g 4. 2 1 g (ขอ 1) วิธีทํา 75(En 30) ดาวเคราะหดวงหนึ่งมีมวลมากกวาโลก 2 เทา แตมีรัศมีเปนครึ่งหนึ่งของโลก จงหาคา ความเรงเนื่องจากความโนมถวงที่ผิวของดาวเคราะหดวงนั้น ( กําหนด ความเรงที่ผิวโลก = g ) ก. 4 1 g ข. 2 g ค. 4 g ง. 8g (ขอ ง) วิธีทํา
  • 24. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 75 76(En 27) ถามวลของดวงจันทรเปน 1/80 เทาของโลก และรัศมีเปน 1/4 เทาของรัศมี โลกใหมวลโลกเปน M และรัศมีโลกเปน R G เปนคานิจความโนมถวงสากล วัตถุที่ตก อยางอิสระบนดวงจันทรจะมีความเรงเทาใด (g คือ ความเรงที่ผิวโลก) ก. 1 4 g ข. 1 5 g ค. 1 6 g ง. 1 20 g (ขอ ข) วิธีทํา ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ ตอนที่ 8 จุดศูนยกลางมวล และ จุดศูนยถวง จุดศูนยกลางมวล (C.M.) คือ ตําแหนงซึ่งเปนที่รวมของ มวล ของวัตถุทั้งกอน จุดศูนยถวง (C.G.) คือ ตําแหนงซึ่งเปนที่รวมของ น้ําหนักวัตถุทั้งกอน สูตรหาจุดศูนยกลางมวล C.M. = ( X , Y ) เมื่อ X = ¦ ¦ M MX และ Y = ¦ ¦ M MY สูตรหาจุดศูนยถวง C.G. = ( X , Y ) เมื่อ X = ¦ ¦ W WX และ Y = ¦ ¦ W WY
  • 25. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 76 77. แผนพลาสติกบางเบารูปสี่เหลี่ยมจตุรัส มีความ ยาวดานละ 20 เซนติเมตร มีมวล 1 , 2 , 3 และ 4 กิโลกรัม ติดอยูที่มุมทั้งสี่ดาน จงหา จุดศูนยกลางมวลของระบบนี้ ( 14 , 10) วิธีทํา 78. วัตถุมวล 10 กิโลกรัม รูปสี่เหลี่ยมจตุรัส มี ความยาวดานละ 20 เซนติเมตร มีมวล1 , 2 , 3 และ 4 กิโลกรัม ติดอยูที่มุมทั้งสี่ดาน จงหาจุดศูนยกลางมวลของระบบนี้ ( 12 , 10) วิธีทํา 79. จงหาจุดศูนยถวง (C.G.) ของวัตถุรูปตัว L ใน รูปตอไปนี้ ( 2.6 , 5.8 ) วิธีทํา Y X 1 kg 3 kg2 kg 4 kg 1 cm 6 cm 8 cm 1 cm 2 cm 1 kg 3 kg2 kg 4 kg 10 kg Y X
  • 26. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 77 80. คาน AB สม่ําเสมอยาว 3 เมตร หนัก 20 นิวตัน ที่ปลาย A และ B ติดน้ําหนักไว 30 นิวตัน และ 40 นิวตัน ตามลําดับ จุดศูนย ถวงจะอยูหางจากปลาย A เทาใด (1.67 m) วิธีทํา 81. แทงเหล็กรูปรางดังรูป จะมีจุดศูนยถวงอยู สูงจากพื้นเทาใด ( 4.6 m ) วิธีทํา ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 30 N 20 N 40 N 2 m 4 m 2 m 3 m 5 m 1 m
  • 27. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 78 แบบฝกหัด ฟสิกส บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ กฎการเคลื่อนที่ของนิวตัน 1. แรง 2 แรง ขนาด 6 นิวตัน และ 8 นิวตัน กระทําตอวัตถุชิ้นหนึ่ง ณ จุดเดียวกัน จงหา ขนาด และ ทิศทางของแรงลัพธ ถา ก. กระทําในทิศทางเดียวกัน ข. ทิศทางตรงกันขาม ค. ถาทั้งสองตั้งฉากกัน ( ก. 14 นิวตัน ทิศเดียงกับแรงยอย ข. 2 นิวตัน ทิศเดียวกับแรง 8 นิวตัน ค. 10 นิวตัน เอียงทํามุม 53o กับแรง 6 นิวตัน ) 2. แรง 2 แรง ขนาด 15 นิวตัน และ 20 นิวตัน จะมีแรงลัพธขนาดนอยที่สุดกี่นิวตัน ก. 0 ข. 5 ค. 10 ง. 15 (ขอ ข) 3. จากขอที่ผานมา แรงลัพธมีขนาดมากที่สุดกี่นิวตัน ก. 20 ข. 25 ค. 30 ง. 35 (ขอ ง) 4. จากขอที่ผานมา ขนาดของแรงลัพธที่เปนไปไมได ก. 4 ข. 5 ค. 6 ง. 7 (ขอ ก) 5. แรง 2 แรง มีขนาดเทากับ F กระทําที่จุดเดียวกันเปนมุม 120o ตอกัน จงหาขนาดแรงลัพธ ก. F ข. 2 F ค. 3 F ง. 2 F (ขอ ก) 6. จากขอที่ผานมา ถาขนาดของแรงลัพธเทากับ 2 F จงหามุมระหวางแรง F ทั้งสอง ก. 30o ข. 45o ค. 60o ง. 90o (ขอ ง) 7. วัตถุกอนหนึ่งเมื่อถูกแรง 50 นิวตัน กระทําจะเคลื่อนที่ดวยความเรง 4 เมตร/วินาที2 อยากทราบวาวัตถุนี้มีมวลกี่กิโลกรัม ก. 2.5 ข. 5.0 ค. 10.0 ง. 12.5 (ขอ ง) 8. วัตถุมวล 5 กิโลกรัม ตกจากตึกสูง 50 เมตร ขณะลอยในอากาศมีแรงกระทําตอวัตถุเทาใด ก. 50 นิวตัน ข. 100 นิวตัน ค. 250 นิวตัน ง. 500 นิวตัน (ขอ ก) 9. วัตถุมวล 20 กิโลกรัม วางอยูบนพื้นราบถูกแรง 100 นิวตัน กระทําในแนวขนานกับพื้น ทําใหวัตถุเคลื่อนที่ไดระยะทางเทาใด ในเวลา 20 วินาที ก. 100 เมตร ข. 500 เมตร ค. 1000 เมตร ง. 2000 เมตร (ขอ ค)
  • 28. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 79 10. จากขอที่ผานมา เมื่อสิ้นสุดวินาทีที่ 20 วัตถุมีความเร็วกี่เมตร/วินาที ก. 10 ข. 20 ค. 50 ง. 100 (ขอ ง) 11. วัตถุมวล 20 กิโลกรัม เคลื่อนที่มาดวยความเร็ว 10 เมตร/วินาที ตองออกแรงตานการ เคลื่อนที่เทาใดวัตถุจึงจะหยุดไดในเวลา 5 วินาที ก. 10 นิวตัน ข. 20 นิวตัน ค. 30 นิวตัน ง. 40 นิวตัน (ขอ ง) 12. จากขอที่ผานมา วัตถุเคลื่อนที่ไดระยะทางเทาใด กอนหยุด ก. 15 เมตร ข. 20 เมตร ค. 25 เมตร ง. 50 เมตร (ขอ ค) 13. ลังใบหนึ่งตกจากรถบรรทุกที่กําลังแลนดวยความเร็ว 72 กิโลกรัม/ชั่วโมง แลวไถลไปบน พื้นถนนไดไกล 20 เมตร จงหาความเรงของลังใบนี้ ขณะไถลบนพื้น มีคากี่เมตร/วินาที2 ก. –10 ข. –5 ค. 5 ง. 10 (ขอ ก) 14. จากขอที่ผานมา แรงที่พื้นถนนกระทําตอลังมีคากี่นิวตัน ถาลังใบนี้มีมวล 40 กิโลกรัม ก. 200 ข. 400 ค. 600 ง. 800 (ขอ ข) 15. แรง 30 นิวตัน กระทําตอวัตถุมวลกอนหนึ่งในทิศทํามุม 60o กับพื้นราบ ถาวัตถุเคลื่อนที่ ดวยความเรง 3 m/s2 มวลกอนนั้นมีคากี่กิโลกรัม ก. 4 ข. 5 ค. 6 ง. 8 (ขอ ข) 16. จากขอที่ผานมา ถาแรงกระทําตอวัตถุ จากหยุดนิ่งเปนเวลา 4 วินาที วัตถุจะเคลื่อนที่ได ระยะ ก. 6 เมตร ข. 10 เมตร ค. 18 เมตร ง. 24 เมตร (ขอ ง) 17. จากรูปเปนกราฟระหวางความเร็ว v และเวลา t ใน การเคลื่อนที่ของวัตถุมวล 5 กิโลกรัม จงหาวาในการ เปลี่ยนตําแหนงของวัตถุจากจุด A ไปยังจุด B วัตถุนี้ วัตถุนี้จะตองใชไดรับแรงจากภาย นอกกี่นิวตัน ก. 5 นิวตัน ข. 50 นิวตัน ค. 500 นิวตัน ง. 5000 นิวตัน (ขอ ง) v(km/s) B (8, 12) (0, 4) A t(s)
  • 29. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 80 ขอมูลตอไปนี้ใชสําหรับโจทย 3 ขอถัดไป จากรูป วัตถุมวล m1 = 6 กิโลกรัม, m2 = 4 กิโลกรัม วางอยูบนพื้นที่ไมมีความผิด เมื่อ ออกแรง 40 นิวตัน กระทําตอมวล m1 ทําใหมวลทั้งสองเคลื่อนที่ติดกันไป 18. มวล m1 และ m2 เคลื่อนที่ดวยความเรง กี่เมตร/วินาที2 ก. 2 ข. 4 ค. 6 ง. 8 (ขอ ข) 19. แรงกระทําระหวางมวล m1 และ m2 มีคาเปนกี่นิวตัน ก. 8 ข. 16 ค. 32 ง. 40 (ขอ ข) 20. จากรูปวัตถุมวล 10 kg และ 5 kg ผูกติดกันดวยเชือก อยูบนพื้นที่ไมมี แรงเสียดทาน หากความเรงของการ เคลื่อนที่มีคา 2 m/s2 ใหหาแรง T1 และ T2 ( 30 N , 20 N ) 21. มวล 3 ชิ้น วางอยูบนพื้นที่ไมมีแรงเสียด ทาน และถูกดึงดวยแรง T3 = 60 N อยาก ทราบวา T2 / T1 มีคา (3.0) 22(มช 30) นักเรียนคนหนึ่งใชเชือกมวล 0.5 kg ผูกติดกับถุงทรายมวล 4 kg ถานักเรียนใชมือ ดึงเชือกที่จุด A ดวยแรง 9 นิวตัน ในแนว ระดับ จงหาวาถุงทรายจะดึงเชือกที่จุด B ดวย แรงกี่นิวตัน (8.0 นิวตัน) 23(มช 29) หัวรถจักรคันหนึ่งลากรถพวงอีก 2 คัน ถาไมคิดคาแรงเสียดทาน จงหาวาแรงดึง ระหวางหัวรถจักรกับรถพวงคันแรกจะมีคาเปนกี่เทาของแรงดึงระหวางรถพวงคันที่ 1 และ คันที่ 2 ก. 1/3 ข. 1/2 ค. 1 ง. 2 (ขอ ง) 40 N m1 m2 5 kg10 kg T2 T1
  • 30. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 81 24(มช 24) ถา T1 = 4 นิวตัน และพื้นไมมีความเสียดทาน ถาตองการใหวัตถุทั้งสามเคลื่อนที่ ดวยความเรง a เมตรตอวินาที2 แรง P ตองมีขนาดกี่นิวตัน (ขอ ค) ก. 7 ข. 9.3 ค. 17 ง. 22.6 25(En 37) จากรูป ถามวล 1 กิโลกรัม และ 2 กิโลกรัม อยูบนพื้นราบผิวเกลี้ยง และไมคิดมวลเครื่องชั่งสปริง และเชือก คาที่อานไดจากเครื่องชั่งเปนเทาใด 1. 0 N 2. 5 N 3. 6 N 4. 10 N (ขอ 2) 26. เชือกเสนหนึ่งทนแรงตึงไดมากที่สุด 600 นิวตัน นําไปฉุดวัตถุมวล 50 กิโลกรัม ที่วาง บนพื้น ระดับลื่นในแนวระดับ จะทําใหวัตถุมีความเรงมากที่สุดกี่เมตร/วินาที2 ก. 6 ข. 8 ค. 10 ง. 12 (ขอ ง) 27. จากขอที่ผานมา ถาเปลี่ยนเปนฉุดวัตถุขึ้นในแนวดิ่ง วัตถุจะมีความเรงมากที่สุดกี่ m/s2 ก. 2 ข. 4 ค. 6 ง. 8 (ขอ ก) 28. จากขอที่ผานมา ถาหยอนวัตถุลงในแนวดิ่ง ดวยความเรง 2 เมตร/วินาที2 เชือกจะมีแรงตึงเทาใด ก. 200 นิวตัน ข. 400 นิวตัน ค. 500 นิวตัน ง. 600 นิวตัน (ขอ ข) 29. ชายคนหนึ่งดึงวัตถุขึ้นไปบนยอดตึกสูง 50 m โดยใชวิธีนําเชือกเบาผูกกับวัตถุคลองกับ รอกลื่นดังรูป พบวาขณะวัตถุขึ้นไปถึงยอดตึกจะมีความเร็ว 2.0 เมตร/วินาที ถาวัตถุมี มวล 25 kg ชายคนนั้นตองออกแรงดึงเทาไร 1. 50 นิวตัน 2. 150 นิวตัน 3. 250 นิวตัน 4. 350 นิวตัน (ขอ 4) 30. หญิงตุมมวล 80 กิโลกรัม ยืนบนตาชั่งในลิฟตที่กําลังเคลื่อนลงดวยความเรง 2 เมตร/วินาที2 จงหาตัวเลขที่ปรากฎบนตาชั่ง มีคากี่กิโลกรัม ก. 64 ข. 72 ค. 80 ง. 96 (ขอ ก) 31. จากขอที่ผานมา ถาลิฟตกําลังจะหยุด โดยลดอัตราเร็วลงอยางสม่ําเสมอ วินาทีละ 2 เมตร/- วินาที ขณะนั้นตาชั่งอานไดกี่กิโลกรัม ก. 64 ข. 72 ค. 80 ง. 96 (ขอ ง) 37o P 8 kg5 kg 4 kg T2T1
  • 31. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 82 32. นิวตันมีมวล 60 กิโลกรัมยืนอยูบนตาชั่งในลิฟตที่กําลังเคลื่อนที่ลงดวยความเรง 0.5 เมตร/วินาที2 ในขณะหนึ่งเขาไดใชมือทั้งสองขางดึงเชือกที่หอยลงมาจากเพดานลิฟต เมื่อ เขามองที่ตาชั่งเข็มชี้ที่ 55 กิโลกรัม อยากทราบวาเชือกมีแรงตึงเทาใด (20 N) 33. วัตถุกอนหนึ่งมีมวล 1 กิโลกรัม หอยแขวนไวกับตาชั่งสปริงซึ่งติดไวกับเพดานลิฟต ลิฟตเริ่มเคลื่อนที่ลงจากหนุดนิ่งดวยความเรง 0.5 เมตร/วินาที2 จนมีความเร็วคงที่ 1 เมตร/วินาที แลวลดอัตราเร็วลงจนหยุดนิ่งดวยขนาดความเรง 0.5 เมตร/วินาที2 ใน ระหวางลิฟตลดอัตราเร็วลงนั้นตาชั่งสปริงอานคาไดเทาใด (10.5 N) 34(มข 36) ลิฟท และน้ําหนักบรรทุกรวมกันมีมวล 800 kg เคลื่อนที่ลงดวยความเร็ว 6 m/s ถา ทําใหลิฟทหยุดในระยะทาง 15 เมตร ดวยความหนวงคงที่ จงหาความตึงในสายเคเบิล ก. 7040 นิวตัน ข. 8960 นิวตัน ค. 160 นิวตัน ง. 1760 นิวตัน (ขอ ข) 35(มช 28) ลิฟทเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรง 3 m/s2 ลวดที่แขวนลิฟททนแรงดึงไดไมเกิน 8000 นิวตัน ถากําหนดใหลิฟทมีมวล 200 kg และคน 1 คน มีมวลเฉลี่ย 60 kg ลิฟทนี้จะบรรทุกคนไดมากที่สุดกี่คน (ใหใช g = 9.8 m/s2) ก. 6 ข. 7 ค. 8 ง. 9 (ขอ ข) 36. ลิฟตขนคนงานกอสราง มีมวล 180 กิโลกรัม โดยลวดที่ดึงลิฟตสามารถทนแรงดึงไดไม เกิน 9000 นิวตัน ถาความเรงสูงสุดของลิฟต มีขนาด 2 เมตร/วินาที2 ขณะขนคนงานขึ้น ไปที่กอสราง ลิฟตเครื่องนี้จะบรรทุกคนงานไดมากที่สุดกี่คน ถาเฉลี่ยคนงานมีมวลคนละ 65 กิโลกรัม (8 คน) 37. ทารซานมวล 75 กิโลกรัม เขาไปอยูในลิฟต แลวโหนเชือกโดยขาลอยพนพื้น ถาขณะนั้น ลิฟตกําลังเคลื่อนที่ขึ้นดวยความเรง 1.2 เมตร/วินาที2 จงหาแรงตึงเชือก (840 N) 38. ชายคนหนึ่งมีมวล 60 กิโลกรัม ยืนชั่งน้ําหนักบนลอเลื่อน ซึ่งเคลื่อนที่ลงตามพื้นเอียงลื่น ทํามุม 30o กับแนวระดับ จงหาน้ําหนักที่อานไดจากตาชั่ง (450 N) 39. วัตถุ 2 ชิ้นมวล 7 และ 5 kg ตามลําดับ เชื่อมกันดวยเชือก มวล 4 kg ดังรูป ถามีแรงฉุดวัตถุทั้งสองขึ้นดวยแรง 200 นิวตัน จงหาความตึงเชือกที่ปลายบน (112.5)
  • 32. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 83 ขอมูลตอไปนี้ใชสําหรับโจทย 3 ขอถัดไป จากรูปมวลสองกอน m1 และ m2 มีขนาด 4 และ 5 กิโลกรัม ตามลําดับ ผูกติดกันดวยเชือกซึ่งมีมวล 1 กิโลกรัม และมีแรง F ขนาด 120 นิวตัน กระทําตอวัตถุในแนวดิ่ง 40. ความเรงของระบบมีคากี่เมตร/วินาที2 ก. 1.0 ข. 2.0 ค. 3.3 ง. 4.5 (ขอ ข) 41. แรงตึงเชือกที่ปลายบน มีคากี่นิวตัน ก. 60 ข. 64 ค. 72 ง. 80 (ขอ ค) 42. แรงตึงเชือกที่ปลายลาง มีคากี่นิวตัน ก. 60 ข. 64 ค. 72 ง. 80 (ขอ ก) 43(มช 37) ให T2 และ T1 เปนแรงตึงในเชือกเสนลาง และเสนบน ในรูปตามลําดับ อัตราสวนของ T2 ตอ T1 Γ 1T 2T Η ขณะที่ มวลแตละกอนมีอัตราเรง a ทิศพุงขึ้นตามแนวดิ่งจะเปน 1. 1 2. 2m+1m 1m 3. 2m+1m 2m 4. (m1 + m2)(a + g) (ขอ 3) โจทยสําหรับคําถาม 3 ขอถัดไป วัตถุ m1 วางอยูบนโตะที่ไมมีความฝด ผูกติดกับ มวล m2 ดวยเชือกเบา แลวคลองผานรอกดังรูป 44. หลังจากมวล m2 เคลื่อนที่เปนระยะ 0.5 เมตร อัตราเร็วของ m2 ขณะนั้นเทากับ 2 เมตร/วินาที ความเรงของมวล m1 เทากับกี่เมตร/วินาที2 ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4 (ขอ ง) 45. ถา m1 มีมวล 0.3 กิโลกรัม m2 จะมีมวลกี่กิโลกรัม ก. 0.1 ข. 0.2 ค. 0.3 ง. 0.4 (ขอ ข) m1 m2 F * m1 m2
  • 33. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 84 46. แรงตึงในเสนเชือกที่ผูกมวล m1 และ m2 มีคากี่นิวตัน ก. 0.4 ข. 0.8 ค. 1.2 ง. 1.6 (ขอ ค) ขอมูลสําหรับโจทย 3 ขอถัดไป จากรูปวัตถุ A, B และ C มีมวล 3, 5 และ 2 กิโลกรัม ตามลําดับ ถาถือวา ทุกผิวสัมผัสไมมีความฝด 47. ความเรงของวัตถุทั้งสาม มีคากี่เมตร/วินาที2 ก. 1 ข. 1.5 ค. 2.0 ง. 2.5 (ขอ ก) 48. แรงตึงเชือกที่ผูกระหวางวัตถุ A กับวัตถุ B มีคากี่นิวตัน ก. 24 ข. 27 ค. 30 ง. 33 (ขอ ข) 49. แรงตึงเชือกที่ผูกระหวางวัตถุ B กับวัตถุ C มีคากี่นิวตัน ก. 18 ข. 20 ค. 22 ง. 24 (ขอ ค) ขอมูลตอไปนี้ใชสําหรับโจทย 3 ขอถัดไป จากรูปวัตถุ A และ B ผูกติดกับเครื่องชั่งสปริง ซึ่งถือไดวาเชือกและสปริงเบา 50. ถา A และ B มีมวลเทากับ 10 กิโลกรัม เครื่องชั่งสปริงจะอานคาไดเทาใด ก. 80 นิวตัน ข. 100 นิวตัน ค. 120 นิวตัน ง. 140 นิวตัน (ขอ ข) 51. ถา A และ B มีมวล 4 และ 6 กิโลกรัม ตามลําดับ เครื่องชั่งสปริงจะอานคาไดเทาใด ก. 48 นิวตัน ข. 50 นิวตัน ค. 60 นิวตัน ง. 100 นิวตัน (ขอ ก) 52. ถา A และ B มีมวล 3 และ 2 กิโลกรัม ตามลําดับ เครื่องชั่งสปริงจะอานคาไดเทาใด ก. 20 นิวตัน ข. 24 นิวตัน ค. 25 นิวตัน ง. 30 นิวตัน (ขอ ข) A C B A B
  • 34. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 85 53. ลูกปนมวล 40 กรัม ถูกยิงออกจากลํากลองปนดวยความเร็ว 300 เมตร/วินาที ทะลุแผน ไมหนา 4 เซนติเมตร ทําใหอัตราเร็วของลูกปนขณะออกจากแผนไมอีกดานหนึ่งเทากับ 100 เมตร/วินาที ใหหาแรงเฉลี่ยที่แผนไมกระทําตอลูกปน (–4x104 N) 54. วัตถุหนึ่งมวล 0.5 กิโลกรัม กําลังจมลงสูกนสระน้ําดวยอัตราเรง 6 เมตร/วินาที2 แรง เฉลี่ยที่น้ํากระทําตอวัตถุนี้มีคากี่นิวตัน ก. 1 ข. 2 ค. 3 ง. 4 (ขอ ข) กฎแรงดึงดูดระหวางมวล 55. ขอใดกลาวถูกตอง เกี่ยวกับแรงดึงดูดระหวางมวล ก. แปรโดยตรงกับผลคูณของมวลทั้งสอง ข. แปรผกผันกับกําลังสองของระยะหาง ค. เปนแรงตางกระทํารวมของมวลทั้งสอง ง. ที่กลาวมาถูกทุกขอ (ขอ ง) 56. จงหาคาความเรงเนื่องจากแรงโนมถวงของโลก ณ.จุดที่หางจากใจกลางโลก 10000 กิโล- เมตร กําหนดมวลโลก = 6 x 1024 กิโลกรัม (4 เมตร/วินาที2) 57. ดาวเทียมดวงหนึ่งถูกสงขึ้นไปโคจรหางจากผิวโลกเปน 2 เทาของรัศมีโลก ดาวเทียมดวง นี้ จะมีคาความเรงเนื่องจากสนามความโนมถวงเปนเทาใด ( กําหนด ความเรงที่ผิวโลก = g ) 1. 9 1 g 2. 4 1 g 3. 3 1g 4. 2 1 g (ขอ 1) 58(En 30) ดาวเคราะหดวงหนึ่งมีมวลมากกวาโลก 2 เทา แตมีรัศมีเปนครึ่งหนึ่งของโลก จงหาคา ความเรงเนื่องจากความโนมถวงที่ผิวของดาวเคราะหดวงนั้น ( กําหนด ความเรงที่ผิวโลก = g ) ก. 4 1 g ข. 2 g ค. 4 g ง. 8g (ขอ ง) ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦
  • 35. Physics Online I http://www.pec9.com บทที่ 3 มวล แรง และ กฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน 86 เฉลยแบบฝกหัด ฟสิกส บทที่ 3 กฎการเคลื่อนที่ (บางขอ) 8. ตอบขอ ก วิธีทํา ขณะวัตถุตกอยางเสรี จะมีความเรง (a) = g = 10 m/s2 จาก F = ma F = 5(10) F = 50 นิวตัน ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 15. ตอบ ขอ ข. วิธีทํา จาก F = m a 30 cos 60o = m (3) 30 Γ 2 1 Η = 3 m m = 5 kg ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 36. ตอบ 8 คน วิธีทํา สมมุติวาในลิฟทมีคนทั้งหมด n คน ดังนั้นมวลคนทั้งหมดเทากับ 65n กิโลกรัม เมื่อรวมกับมวลลิฟทจะเทากับ 65n + 180 กิโลกรัม น้ําหนักคนรวมกับลิฟทจึงเทากับ (65n + 180) g นิวตัน จาก F = m a 9000 – (65n +180) g = (65n + 180) 2 n = 8.8 คน แสดงวาลิฟทนี้บรรทุกคนไดสูงสุด 8 คน เกินนี้ไมไดเพราะน้ําหนักจะเกินเชือกจะขาด ( หามปด 8.8 คน ขึ้นเปน 9 คนเด็ดขาด เพราะน้ําหนักจะเกินเชือกจะขาดดังกลาว ) ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ 54. ตอบขอ ข. วิธีทํา จาก F = ma 5 – R = 0.5 (6) R = 2 นิวตัน ⌫⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌫⌦⌦ (65n + 180) g T = 9000 N a = 2 m/s2 0.5 kg m g = 5 นิวตัน R a = 6 m/s2