SlideShare a Scribd company logo
ก
แผนการจัดการเรียนรู้
วิชาวิทยาศาสตร์ 5 รหัส ว33101
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559
นายพิพัฒน์พงษ์ สาจันทร์
ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการ
โรงเรียนเทพลีลา กรุงเทพมหานคร
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2
เรื่อง คลื่นกลและเสียง
ก
คำนำ
แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ 5 รหัสวิชา ว33101 เล่มนี้ จัดทา
ขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สาระที่ 5 พลังงาน เรื่อง คลื่นกลและเสียง ชั้นมัธยมศึกษา
ปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัดตามหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เนื้อหาภายในเล่ม ประกอบด้วย คาอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา
โครงสร้างการจัดเวลาเรียน การออกแบบหน่วยกิจกรรม แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายชั่วโมงจานวน 10
แผน รวม 20 ชั่วโมง ในแต่ละแผนมีองค์ประกอบดังนี้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้
สาระสาคัญ สาระการเรียนรู้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ชิ้นงานหรือภาระงาน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งเรียนรู้ การวัดและการประเมินผล และบันทึกหลังการจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ ผู้จัดทาได้นาแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ไปใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทพลีลาในปี
การศึกษา 2558 – 2559 พบว่า สามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน และนักเรียนมีความพึง
พอใจต่อการจัดการเรียนรู้ ส่งผลให้นักเรียนมีคุณภาพตามที่หลักสูตรกาหนด
ขอขอบคุณท่านผู้อานวยการ ท่านรองผู้อานวยการ และคณะครูโรงเรียนเทพลีลา ที่ให้คาปรึกษา
คาแนะนา ตลอดจนกาลังใจในการงาน ส่งผลให้การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้สาเร็จลุล่วงตาม
วัตถุประสงค์ทุกประการ
นายพิพัฒน์พงษ์ สาจันทร์
ครู คศ.2
ข
สำรบัญ
เรื่อง หน้ำ
คานา ..............................................................................................................................................................ก
คาอธิบายรายวิชา ...........................................................................................................................................ค
โครงสร้างรายวิชา............................................................................................................................................ง
โครงสร้างการจัดเวลาเรียน .............................................................................................................................ฉ
การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 คลื่น (คลื่นกลและเสียง)..................................................1
แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน...................................................................................................34
แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน....................................................................................................43
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ธรรมชาติของคลื่น...............................................................................................57
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ชนิดของคลื่น.......................................................................................................70
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 การสะท้อนของคลื่น............................................................................................80
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 การหักเหของคลื่น...............................................................................................92
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเลี้ยวเบนของคลื่น........................................................................................106
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 การแทรกสอดของคลื่น......................................................................................124
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การเกิดเสียง......................................................................................................141
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 ธรรมชาติของเสียง.............................................................................................156
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 บีตส์ของเสียง ....................................................................................................165
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 มลพิษทางเสียง................................................................................................177
ตัวอย่างผลงานนักเรียน...............................................................................................................................193
ค
คำอธิบำยรำยวิชำ
รำยวิชำวิทยำศำสตร์ 5 รหัส ว33101 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6
1.0 หน่วยกิต เวลำ 40 ชั่วโมง
********************************************************************************************
ศึกษา วิเคราะห์ คลื่นกล การสะท้อน การหักเห การเลี้ยวเบน การแทรกสอด ความเข้มเสียง
ระดับความเข้มเสียง บีตส์ มลพิษทางเสียง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ปฏิกิริยานิวเคลียร์ และธาตุกัมมันตรังสี
โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้น
ข้อมูล และการอภิปราย
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความคิด สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ
ตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม
และค่านิยมที่เหมาะสม
มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ว 5.1 ม.4-6/(1-4)
ว 5.1 ม.4-6/(5-9)
ว 8.1 ม.4-6/(1-12)
รวมทั้งหมด 21 ตัวชี้วัด
ง
โครงสร้ำงรำยวิชำ
รหัสวิชำ ว33101 รำยวิชำ วิทยำศำสตร์ 5 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 เวลำเรียน 2 ชั่วโมง / สัปดำห์ รวม 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต
หน่วยที่/
ชื่อ หน่วย
การเรียนรู้
มาตรฐานการ
เรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เวลา
(ชั่วโมง)
น้าหนัก
คะแนน
1. คลื่น ว 5.1 ม.4-6/1-4 - คลื่นกลมีสมบัติ การสะท้อน การหักเห การแทรกสอด และ
การเลี้ยวเบน
- อัตราเร็ว ความถี่และความยาวคลื่นมีความสัมพันธ์กันดังนี้
อัตราเร็ว = ความถี่  ความยาวคลื่น
- คลื่นเสียงเกิดจากการสั่นของแหล่งกาเนิดเสียง
- บีตส์ของเสียงเกิดจากคลื่นเสียงจากแหล่งกาเนิดสองแหล่งที่
มีความถี่ต่างกันเล็กน้อย มารวมกัน ทาให้ได้ยินเสียงดังค่อย
เป็นจังหวะ
- ความเข้มเสียง คือ พลังงานเสียงที่ตกตั้งฉากบนหนึ่งหน่วย
พื้นที่ในหนึ่งหน่วยเวลา
- ระดับความเข้มเสียงจะบอกความดังค่อยของเสียงที่ได้ยิน
- เครื่องดนตรีแต่ละชนิดที่ใช้ตัวโน้ตเดียวกัน จะให้รูปคลื่นที่
แตกต่างกัน เรียกว่ามีคุณภาพเสียงต่างกัน
-มลพิษทางเสียงมีผลต่อสุขภาพของมนุษย์ ถ้าฟังเสียงที่มีระดับ
ความเข้มเสียงสูงกว่ามาตรฐานเป็นเวลานาน อาจก่อให้เกิด
อันตรายต่อการได้ยินและสภาพจิตใจได้ การป้องกันโดยการ
หลีกเลี่ยงหรือใช้เครื่องครอบหูหรือลดการสั่นของ
แหล่งกาเนิดเสียง เช่น เครื่องจักร
- คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าประกอบด้วยสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าที่
เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามี
ความถี่ต่อเนื่องกัน โดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าช่วงความถี่ต่าง ๆ
มีลักษณะเฉพาะตัว ซึ่งสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้แตกต่าง
กัน เช่น การรับส่งวิทยุ โทรทัศน์ การป้องกันอันตรายจาก
คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เช่น ไม่อยู่ใกล้เตาไมโครเวฟขณะเตา
ทางาน
24 60
จ
หน่วยที่/
ชื่อ หน่วย
การเรียนรู้
มาตรฐานการ
เรียนรู้/ตัวชี้วัด
สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เวลา
(ชั่วโมง)
น้าหนัก
คะแนน
2. กัมมัน
ตภาพรังสี
และพลัง
งานนิว-
เคลียร์
ว 5.1 ม.4-6/5-9 - ปฏิกิริยานิวเคลียร์เป็นปฏิกิริยาที่ทาให้นิวเคลียสเกิดการ
เปลี่ยนแปลง ปฏิกิริยาที่นิวเคลียสของธาตุที่มีเลขมวล
มากแตกตัว เรียกว่าฟิชชัน ปฏิกิริยาที่เกิดจากการหลอม
รวมนิวเคลียสของธาตุที่มีเลขมวลน้อย เรียกว่า ฟิวชัน
ความสัมพันธ์ระหว่างมวลและพลังงานเป็นไปตามสมการ
2
mcE 
- ปฏิกิริยานิวเคลียร์ทาให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและ
สิ่งแวดล้อม
- โรงไฟฟ้านิวเคลียร์เป็นโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน
ประเภทหนึ่ง ซึ่งได้พลังงานความร้อนจากพลังงาน
นิวเคลียร์
- รังสีจากธาตุกัมมันตรังสีมี 3 ชนิด คือ แอลฟา บีตาและ
แกมมา ซึ่งมีอานาจทะลุผ่านต่างกัน
- กัมมันตภาพรังสีเกิดจากการสลายของไอโซโทปของธาตุ
ที่ไม่เสถียร สามารถตรวจจับได้โดยเครื่องตรวจวัดรังสี
ในธรรมชาติมีรังสี แต่ส่วนใหญ่อยู่ในระดับต่ามาก
- รังสีมีประโยชน์ในด้านอุตสาหกรรม การเกษตร
การแพทย์ โบราณคดี รังสีในระดับสูงมีอันตรายต่อ
สิ่งมีชีวิต
16 40
ว 8.1 ม.4-6/1-12 - ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์
- จิตวิทยาศาสตร์
รวมคะแนนระหว่ำงภำค 50
คะแนนกลำงภำค 20
คะแนนปลำยภำค 30
รวม 100
ฉ
โครงสร้ำงกำรจัดเวลำเรียน
รำยวิชำวิทยำศำสตร์ 5 รหัส ว33101ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 ภำคเรียนที่ 1 เวลำเรียน 40 ชั่วโมง
หน่วยการเรียนรู้/แผนการจัดการเรียนรู้
เวลาเรียน
(ชม.)
หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 1 คลื่น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ธรรมชาติของคลื่น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ชนิดของคลื่น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 การสะท้อนของคลื่น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 การหักเหของคลื่น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเลี้ยวเบนของคลื่น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 การแทรกสอดของคลื่น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การเกิดเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 ธรรมชาติของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 บีตส์ของเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 มลพิษทางเสียง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (1)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (2)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในชีวิตประจาวัน
24
2
2
2
2
2
2
2
2
2
2
2
1
1
หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 2 พลังงำนนิวเคลียร์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 โครงสร้างอะตอม
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 กัมมันตภาพรังสี
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 การสลายตัวและค่าครึ่งชีวิต
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17 ปฏิกิริยานิวเคลียร์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18 รังสีกับมนุษย์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 19 โรงไฟฟ้านิวเคลียร์
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20 การป้องกันอันตรายจากกัมมันตภาพรังสี
16
2
4
4
2
2
1
1
รวมเวลำเรียน 40
กำรออกแบบหน่วยกำรเรียนรู้
หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 1 คลื่น (คลื่นกลและเสียง)
วิชำวิทยำศำสตร์ 5 รหัส ว33101 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 ภำคเรียนที่ 1 เวลำ 20 ชั่วโมง
************************************************************************
ขั้นที่ 1 กำหนดเป้ำหมำยหลักของกำรเรียนรู้
1. มำตรฐำนกำรเรียนรู้ / ตัวชี้วัด
มำตรฐำนกำรเรียนรู้
มำตรฐำน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหา
ความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
ตัวชี้วัด
1. ว 5.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายสมบัติของคลื่นกล และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง
อัตราเร็ว ความถี่ และความยาวคลื่น
2. ว 5.1 ม.4-6/2 อธิบายการเกิดคลื่นเสียง บีตส์ของเสียง ความเข้มเสียง ระดับความเข้มเสียง
การได้ยินเสียง คุณภาพเสียง และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์
3.ว 5.1 ม.4-6/3 อภิปรายผลการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับมลพิษทางเสียงที่มีต่อสุขภาพของมนุษย์
และการเสนอวิธีป้องกัน
มำตรฐำนกำรเรียนรู้
มำตรฐำน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้
การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอนสามารถอธิบายและ
ตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และ
สิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน
ตัวชี้วัด
1.ว 8.1 ม.4-6/1 ตั้งคาถามที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์หรือ
ความสนใจ หรือจากประเด็นที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ที่สามารถทาการสารวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าได้อย่าง
ครอบคลุมและเชื่อถือได้
2. ว 8.1 ม.4-6/2 สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับ หรือคาดการณ์สิ่งที่จะพบ หรือสร้าง
แบบจาลอง หรือสร้างรูปแบบ เพื่อนาไปสู่การสารวจตรวจสอบ
3. ว 8.1 ม.4-6/3 ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลที่ต้องพิจารณาปัจจัยหรือตัวแปรสาคัญ ปัจจัยที่มีผลต่อ
ปัจจัยอื่น ปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้ และจานวนครั้งของการสารวจตรวจสอบ เพื่อให้ได้ผลที่มีความเชื่อมั่นอย่าง
เพียงพอ
2
4. ว 8.1 ม.4-6/4 เลือกวัสดุ เทคนิควิธี อุปกรณ์ที่ใช้ในการสังเกต การวัด การสารวจตรวจสอบ
อย่างถูกต้องทั้งทางกว้างและลึกในเชิงปริมาณและคุณภาพ
5. ว 8.1 ม.4-6/5 รวบรวมข้อมูลและบันทึกผลการสารวจตรวจสอบอย่างเป็นระบบถูกต้อง
ครอบคลุมทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยตรวจสอบความเป็นไปได้ ความเหมาะสมหรือความผิดพลาดของ
ข้อมูล
6. ว 8.1 ม.4-6/6 จัดกระทาข้อมูล โดยคานึงถึงการรายงานผลเชิงตัวเลขที่มีระดับความถูกต้อง
และนาเสนอข้อมูลด้วยเทคนิควิธีที่เหมาะสม
7. ว 8.1 ม.4-6/7 วิเคราะห์ข้อมูล แปลความหมายข้อมูล และประเมินความสอดคล้องของ
ข้อสรุป หรือสาระสาคัญ เพื่อตรวจสอบกับสมมติฐานที่ตั้งไว้
8. ว 8.1 ม.4-6/8 พิจารณาความน่าเชื่อถือของวิธีการและผลการสารวจตรวจสอบ โดยใช้หลัก
ความคลาดเคลื่อนของการวัดและการสังเกต เสนอแนะการปรับปรุงวิธีการสารวจตรวจสอบ
9. ว 8.1 ม.4-6/9 นาผลของการสารวจตรวจสอบที่ได้ ทั้งวิธีการและองค์ความรู้ที่ได้ไปสร้าง
คาถามใหม่ นาไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่และในชีวิตจริง
10. ว 8.1 ม.4-6/10 ตระหนักถึงความสาคัญในการที่จะต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบการอธิบาย
การลงความเห็น และการสรุปผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่นาเสนอต่อสาธารณชนด้วยความถูกต้อง
11. ว 8.1 ม.4-6/11 บันทึกและอธิบายผลการสารวจตรวจสอบอย่างมีเหตุผล ใช้พยานหลักฐาน
อ้างอิงหรือค้นคว้าเพิ่มเติม เพื่อหาหลักฐานอ้างอิงที่เชื่อถือได้ และยอมรับว่าความรู้เดิมอาจมีการเปลี่ยนแปลง
ได้ เมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มเติมหรือโต้แย้งจากเดิม ซึ่งท้าทายให้มีการตรวจสอบอย่าง
ระมัดระวัง อันจะนามาสู่การยอมรับเป็นความรู้ใหม่
12. ว 8.1 ม.4-6/12 จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด
กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
3
2. สำระสำคัญ (คำชี้แจง)
ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับคลื่นกล และคลื่นเสียง ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es)
เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและการใช้คาถามเพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หลายทักษะ
เช่น ทักษะการสังเกต การจาแนกประเภท การวัด การสื่อความหมาย การตีความหมายและลงข้อสรุป การ
แก้ปัญหา เพื่อการหาคาตอบของปัญหาให้ได้มาซึ่งความรู้ความเข้าใจที่คงทนโดยการนาข้อมูลมาจัดทาให้อยู่ใน
รูปแบบที่น่าสนใจและเข้าใจง่ายพร้อมทั้งพัฒนาให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาจิตวิทยาศาสตร์ เช่น การเป็นผู้มี
เหตุผลไม่ด่วนสรุปโดยปราศจากข้อมูลหลักฐาน การเป็นผู้มีความคิดสร้างสรรค์ มีความพยายามอดทนใน
การศึกษาค้นคว้าและแก้ปัญหา นอกจากนี้ยังช่วยให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์เพราะผู้เรียนจะเห็นถึง
ความเชื่อมโยงระหว่างสิ่งที่เรียนกับชีวิตประจาวันและนาไปใช้จริงในชีวิตประจาวันได้
3. สำระกำรเรียนรู้
1. ควำมรู้
- คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกาเนิดพลังงานด้วยการสั่น มีองค์ประกอบ ดังนี้
1. ความถี่ คือ จานวนรอบของการเคลื่อนที่ในหนึ่งหน่วยวินาที มีหน่วยเป็นเฮิรตซ์
2. คาบ คือ เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่หนึ่งรอบ มีหน่วยเป็นวินาที
3. ความยาวคลื่น คือ ระยะบนแนวสมดุลที่มีคลื่นหนึ่งลูก มีหน่วยเป็นเมตร
4. อัตราเร็วคลื่น คือ ระยะที่คลื่นสามารถเคลื่อนที่ได้ในเวลาหนึ่งวินาที มีหน่วยเป็นเมตร
ต่อวินาที สามารถคานวณได้จาก ความถี่คูณกับความยาวคลื่น
- ชนิดของคลื่นจาแนกตามการใช้ตัวกลางในการถ่ายทอดพลังงานได้ดังนี้
1. คลื่นกล คือ คลื่นที่อาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่
2. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คือ คลื่นที่ไม่จาเป็นต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่
- ชนิดของคลื่นจาแนกตามลักษณะการสั่นของตัวกลางได้ดังนี้
1. คลื่นตามยาว คือ คลื่นที่เกิดจากอนุภาคของตัวกลางเคลื่อนที่ไปมาแนวเดียวกับการ
เคลื่อนที่ของคลื่น
2. คลื่นตามขวาง คือ คลื่นที่เกิดจากอนุภาคของตัวกลางเคลื่อนที่ในแนวตั้งฉากกับการ
เคลื่อนที่ของคลื่น
- ชนิดของคลื่นจาแนกตามความต่อเนื่องของการให้กาเนิดคลื่นได้ดังนี้
1. คลื่นดล คือ คลื่นที่เกิดจากแหล่งกาเนิดที่สั่นเป็นช่วงเวลาสั้น ๆ
2. คลื่นต่อเนื่อง คือ คลื่นที่เกิดจากแหล่งกาเนิดที่สั่นอย่างต่อเนื่อง
- การสะท้อนของคลื่น คือ การเปลี่ยนแปลงทิศของคลื่น อันเนื่องมาจากการตกกระทบที่รอยต่อ
ระหว่างตัวกลางสองชนิด โดยมีมุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน
4
กฎการสะท้อนประกอบด้วย
1. เส้นแนวฉาก รังสีตกกระทบ รังสีสะท้อน อยู่ในระนาบเดียวกัน
2. มุมตกกระทบ เท่ากับ มุมสะท้อน
- การหักเหคือ การเปลี่ยนแปลงทิศของคลื่นอันเนื่องมาจากคลื่นเคลื่อนที่จากรอยต่อระหว่าง
ตัวกลางที่มีสมบัติแตกต่างกัน แล้วทาให้อัตราเร็วของคลื่นเปลี่ยนไป
- มุมวิกฤติคือ มุมตกกระทบที่ทาให้มุมหักเหมีขนาด 90๐
- การสะท้อนกลับหมดคือ การสะท้อนที่เกิดจากมุมตกกระทบมีค่ามากกว่ามุมวิกฤติ แล้วไม่มี
การหักเหเกิดขึ้น แต่เกิดการสะท้อนกลับหมดในตัวกลางเดิม
- การเลี้ยวเบนคือ การที่คลื่นเคลื่อนที่มาพบสิ่งกีดขวางหรือผ่านช่องเปิด แล้วมีคลื่นส่วนหนึ่งแผ่
กระจายจากขอบของสิ่งกีดขวางไปทางด้านหลังได้
- หลักของฮอยเกนส์ กล่าวว่า หน้าคลื่นที่ผ่านสิ่งกีดขวางจะทาหน้าที่เป็นแหล่งกาเนิดคลื่นใหม่ที่
สร้างหน้าคลื่นเป็นรูปครึ่งวงกลมหลังสิ่งกีดขวางได้
- การแทรกสอด คือ ปรากฏการณ์ที่เกิดจากการรวมกันของคลื่นตั้งแต่ 2 ขบวน เคลื่อนที่มา
ซ้อนทับกันในตัวกลางเดียวกัน อธิบายโดยใช้หลักการรวมกันของคลื่น
- การรวมกันแบบเสริมคือ คลื่นสองขบวนที่เคลื่อนที่มาพบกัน โดยคลื่นทั้งสองมีแอมพลิจูดทิศ
เดียวกัน แอมพลิจูดของคลื่นรวมจะเท่ากับผลรวมของแอมพลิจูดของคลื่นย่อย
- การรวมกันแบบหักล้างคือ คลื่นสองขบวนที่เคลื่อนที่มาพบกัน โดยคลื่นทั้งสองมีแอมพลิจูดทิศ
ตรงข้ามกัน แอมพลิจูดของคลื่นรวมจะเท่ากับผลต่างของแอมพลิจูดของคลื่นย่อย
- เสียงก้องคือเสียงที่ส่งไปกระทบตัวสะท้อนในแนวตั้งฉากกับผิวตัวสะท้อนโดยเวลาที่เสียงใช้ใน
การเคลื่อนที่ออกไปและกลับมาใช้เวลามากกว่า 0.1 วินาทีทาให้ได้ยินเสียงเดียวกัน 2 ครั้ง
- ระดับเสียงคือการรับรู้ลักษณะของคลื่นเสียงของมนุษย์โดยขึ้นกับความถี่ของคลื่นเสียงซึ่งเสียง
ที่มีความถี่สูง มนุษย์จะรับรู้เป็นเสียงแหลมและเสียงที่มีความถี่ต่ามนุษย์จะรับรู้เป็นเสียงต่าหรือเสียงทุ้ม
- ความดังของเสียงคือปริมาณของพลังงานเสียงที่มาถึงหูผู้ฟัง
- ความเข้มเสียงคือพลังงานเสียงที่ตกตั้งฉากบนหนึ่งหน่วยพื้นที่ในหนึ่งหน่วยเวลามีหน่วยเป็น
วัตต์ต่อตารางเมตร ความเข้มเสียงที่เบาที่สุดมีค่า 10-12
วัตต์ต่อตารางเมตร
- ระดับความเข้มเสียงคือการวัดความดังของเสียงในหน่วยเดซิเบล
- บีตส์ คือ ปรากฏการณ์ที่คลื่นเสียงจากแหล่งกาเนิดเสียง 2 แหล่งที่มีความถี่แตกต่างกัน
เล็กน้อย และเคลื่อนที่อยู่ในแนวเดียวกัน เกิดการรวมกันทาให้แอมพลิจูดของคลื่นรวมเปลี่ยนแปลงเกิดเสียงดัง
เสียงค่อยเป็นจังหวะ
- มลพิษทางเสียงคือสภาวะเสียงที่ดังเกินไปจนก่อให้เกิดความราคาญและเป็นอันตรายต่อระบบ
การได้ยินของมนุษย์ การป้องกันมลพิษทางเสียงทาได้โดยหลีกเลี่ยงบริเวณที่เป็นมลพิษทางเสียงหรือสวมใส่
เครื่องป้องกัน
5
2. ทักษะ/กระบวนกำร/กระบวนกำรคิด
2.1 ทักษะทั่วไป
1. ทักษะการอภิปราย
2. ทักษะการจัดระบบความคิดเป็นแผนภาพ
2.2 ทักษะเฉพำะ
1. ทักษะการสังเกต
2. ทักษะการเปรียบเทียบ
3. ทักษะการคิดวิเคราะห์
4. ทักษะการจาแนกประเภท
5. ทักษะการสื่อความหมาย
6. ทักษะการกาหนดและควบคุมตัวแปร
7. ทักษะการตั้งสมมติฐาน
8. ทักษะการสรุปผล
3. ด้ำนเจตคติทำงวิทยำศำสตร์
- สนใจใฝ่รู้ อยากรู้อยากเห็น รับผิดชอบ มุ่งมั่น อดทนเพียรพยายาม มีเหตุผล มีระเบียบ รอบคอบ
ซื่อสัตย์ ใจกว้าง
4. คำถำมท้ำทำย
1. การถ่ายทอดพลังงานของคลื่นด้วยการสั่นมีผลอย่างไรต่อตัวกลางที่คลื่นผ่านไป
2. เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ไปพบสิ่งกีดขวางจะมีลักษณะอย่างไร
3. คลื่นมีการหักเหอย่างไร
4. ปรากฏการณ์ในชีวิตประจาวันที่เกี่ยวข้องกับการหักเหของคลื่นมีอะไรบ้าง
5. เมื่อคลื่นเคลื่อนที่มาเจอสิ่งกีดขวางจะเกิดอะไรขึ้น
6. การเลี้ยวเบนของคลื่นมีลักษณะอย่างไร
7. หลักของฮอยเกนส์มีความสาคัญอย่างไร
8. เมื่อคลื่นเคลื่อนที่มาพบกันจะมีสิ่งใดเกิดขึ้นอย่างไร
9. การแทรกสอดของคลื่นมีลักษณะอย่างไร
10. บีตส์คืออะไรและมีลักษณะอย่างไร
11. เสียงเกิดขึ้นได้อย่างไร
12. ธรรมชาติของเสียงมีอะไรบ้าง
13. ระดับเสียงหมายถึงอะไร
14. คุณภาพเสียงหมายถึงอะไร
15. ความดังหมายถึงอะไร
6
16. มลพิษทางเสียงหมายถึงอะไร
ขั้นที่ 2 กำหนดหลักฐำนหรือร่องรอยของกำรเรียนรู้/ควำมเข้ำใจ
5. ชิ้นงำน/ภำระงำน
1. ผังมโนทัศน์ เรื่อง องค์ประกอบของคลื่น
2. รายงานการสืบค้นเรื่อง ชนิดของคลื่น
3. ผังมโนทัศน์ เรื่อง ชนิดของคลื่น
4. ผังมโนทัศน์ เรื่อง การสะท้อนของคลื่น
5. ผังมโนทัศน์ เรื่อง การหักเหของคลื่น
6. ผังมโนทัศน์ เรื่อง การเลี้ยวเบนของคลื่น
7. ผังมโนทัศน์ เรื่อง การแทรกสอดของคลื่น
8. Blog เรื่อง คลื่นกล
9. ผังมโนทัศน์ เรื่อง การเกิดเสียง
10. ผังมโนทัศน์ เรื่อง ธรรมชาติของเสียง
11. รายงานการสืบค้น เรื่อง ธรรมชาติของเสียง
12. ผังมโนทัศน์ เรื่อง บีตส์ของเสียง
13. นิทรรศการมลพิษทางเสียงใกล้ตัว
14. Blog เรื่อง เสียง
6. กำรประเมินผล
- แบบสังเกตการปฏิบัติการทดลอง
- แบบประเมินใบงาน
- แบบประเมินการสืบค้น
- แบบประเมินการจัดนิทรรศการ
- แบบประเมินผังมโนทัศน์
- แบบประเมิน Blog
- แบบสังเกตเจตคติทางวิทยาศาสตร์
- แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
- แบบประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
7
แบบสังเกตกำรปฏิบัติกำรทดลอง
เรื่อง..........................................................................
เลขที่ ชื่อ-สกุล กลุ่ม
คะแนนแต่ละรำยกำรประเมิน
คะแนนรวม(24)
การทดลองหรือ
ทากิจกรรมตาม
แผนที่กาหนด
การใช้อุปกรณ์
และ/หรือ
เครื่องมือ
การบันทึกผลการ
ทดลองหรือทา
กิจกรรม
การจัดกระทา
ข้อมูลและการ
นาเสนอ
การสรุปผลการ
ทดลองหรือการ
ทากิจกรรม
การดูแลและการ
เก็บอุปกรณ์และ/
หรือเครื่องมือ
ลงชื่อ ผู้ประเมิน
(.........................................................)
........../................/..............
8
เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบกำรประเมินกำรปฏิบัติกำรทดลองหรือทำกิจกรรม
รำยกำร
ประเมิน
ระดับคะแนน
4 3 2 1
1. การทดลอง
หรือทา
กิจกรรมตาม
แผนที่กาหนด
ทดลองหรือทากิจกรรม
ตามวิธีการและขั้นตอนที่
กาหนดไว้อย่างถูกต้อง
ด้วยตนเอง
ทดลองหรือทากิจกรรมตาม
วิธีการและขั้นตอนที่กาหนดไว้
ด้วยตนเอง มีการปรับปรุง
แก้ไขบ้าง
ทดลองหรือทากิจกรรมตาม
วิธีการและขั้นตอนที่กาหนด
ไว้โดยมีครู หรือผู้อื่นเป็นผู้
แนะนา
ทดลองหรือทากิจกรรมไม่
ถูกต้องตามวิธีการและ
ขั้นตอนที่กาหนดไว้ไม่มี
การปรับปรุงแก้ไข
2. การใช้
อุปกรณ์และ/
หรือเครื่องมือ
ใช้อุปกรณ์และ/หรือ
เครื่องมือในการทดลอง
หรือทากิจกรรมได้อย่าง
ถูกต้องตามหลักการ
ปฏิบัติและคล่องแคล่ว
ใช้อุปกรณ์และ/หรือเครื่องมือ
ในการทดลองหรือทากิจกรรม
ได้อย่างถูกต้องตามหลักการ
ปฏิบัติแต่ไม่คล่องแคล่ว
ใช้อุปกรณ์และ/หรือ
เครื่องมือในการทดลองหรือ
ทากิจกรรมได้อย่างถูกต้อง
โดยมีครู หรือผู้อื่นเป็นผู้
แนะนา
ใช้อุปกรณ์และ/หรือ
เครื่องมือในการทดลอง
หรือทากิจกรรมไม่ถูกต้อง
และไม่มีความคล่องแคล่ว
ในการใช้
3. การบันทึก
ผลการทดลอง
หรือทา
กิจกรรม
บันทึกผลเป็นระยะอย่าง
ถูกต้อง มีระเบียบ มีการ
ระบุหน่วย มีการอธิบาย
ข้อมูลให้เห็นความ
เชื่อมโยงเป็นภาพรวม
เป็นเหตุเป็นผล และ
เป็นไปตามการทดลอง
หรือทากิจกรรม
บันทึกผลเป็นระยะอย่าง
ถูกต้อง มีระเบียบ มีการระบุ
หน่วย มีการอธิบายข้อมูลให้
เห็นความสัมพันธ์เป็นไปตาม
การทดลองหรือทากิจกรรม
บันทึกผลเป็นระยะแต่ไม่เป็น
ระเบียบ ไม่มีการระบุหน่วย
และไม่มีการอธิบายข้อมูลให้
เห็นถึงความสัมพันธ์ของการ
ทดลองหรือทากิจกรรม
บันทึกผลไม่ครบ ไม่มีการ
ระบุหน่วยและไม่เป็นไป
ตามการทดลองหรือทา
กิจกรรม
4. การจัด
กระทาข้อมูล
และการ
นาเสนอ
จัดกระทาข้อมูลอย่างเป็น
ระบบ มีการเชื่อมโยงให้
เห็นเป็นภาพรวม และ
นาเสนอด้วยแบบต่าง ๆ
อย่างชัดเจน ถูกต้อง
จัดกระทาข้อมูลอย่างเป็น
ระบบ มีการจาแนกข้อมูลให้
เห็นความสัมพันธ์นาเสนอด้วย
แบบต่าง ๆ ได้แต่ยังไม่ชัดเจน
จัดกระทาข้อมูลอย่างเป็น
ระบบ มีการยกตัวอย่าง
เพิ่มเติมและนาเสนอด้วย
แบบต่าง ๆ แต่ยังไม่ชัดเจน
และไม่ถูกต้อง
จัดกระทาข้อมูลอย่างไม่
เป็นระบบและมีการ
นาเสนอไม่สื่อความหมาย
และไม่ชัดเจน
5. การสรุปผล
การทดลอง
หรือการทา
กิจกรรม
สรุปผลการทดลองหรือ
ทากิจกรรมได้อย่าง
ถูกต้อง กระชับ ชัดเจน
และครอบคลุมข้อมูลจาก
การวิเคราะห์ทั้งหมด
สรุปผลการทดลองหรือทา
กิจกรรมได้ถูกต้อง แต่ยังไม่
ครอบคลุมข้อมูลจากการ
วิเคราะห์ทั้งหมด
สรุปผลการทดลองหรือทา
กิจกรรมได้ โดยมีครูหรือ
ผู้อื่นแนะนาบ้าง จึงสามารถ
สรุปได้ถูกต้อง
สรุปผลการทดลองหรือทา
กิจกรรมตามความรู้ที่พอมี
อยู่โดยไม่ใช้ข้อมูลจากการ
ทดลองหรือทากิจกรรม
9
รำยกำร
ประเมิน
ระดับคะแนน
4 3 2 1
6. การดูแล
และการเก็บ
อุปกรณ์และ/
หรือเครื่องมือ
ดูแลอุปกรณ์และ/หรือ
เครื่องมือในการทดลอง
หรือทากิจกรรมและมี
การทาความสะอาดและ
เก็บอย่างถูกต้องตาม
หลักการ
ดูแลอุปกรณ์และ/หรือ
เครื่องมือในการทดลองหรือทา
กิจกรรมและมีการทาความ
สะอาดอย่างถูกต้องแต่เก็บไม่
ถูกต้อง
ดูแลอุปกรณ์และ/หรือ
เครื่องมือในการทดลองหรือ
ทากิจกรรมและมีการทา
ความสะอาดแต่เก็บไม่
ถูกต้องให้ครูหรือผู้อื่น
แนะนา
ไม่ดูแลอุปกรณ์และ/หรือ
เครื่องมือในการทดลอง
หรือทากิจกรรมและไม่
สนใจ ทาความสะอาด
รวมทั้งเก็บไม่ถูกต้อง
เกณฑ์กำรประเมิน/ระดับคุณภำพ
คะแนนรวม 20-24 หมายถึง ดีมาก
คะแนนรวม 15-19 หมายถึง ดี
คะแนนรวม 10–14 หมายถึง พอใช้
คะแนนรวม 6 – 9 หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์กำรผ่ำน ตั้งแต่ 15 คะแนนขึ้นไป (ผ่ำนเกณฑ์ร้อยละ 60)
10
แบบประเมินใบงำน
เรื่อง..........................................................................
เลขที่ ชื่อ-สกุล กลุ่ม
คะแนนแต่ละรำยกำรประเมิน
คะแนนรวม(16)
คาถามก่อนทา
กิจกรรม
บันทึกผลการทา
กิจกรรม
คาถามหลังทา
กิจกรรม
สรุปผลการทดลอง
ลงชื่อ ผู้ประเมิน
(.........................................................)
........../................/..............
11
เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบประเมินใบงำน
รำยกำร
ประเมิน
ระดับคะแนน
4 3 2 1
1. การเขียน
คาถามก่อน
การทดลอง
ระบุปัญหาและตั้งสมมติฐาน
สอดคล้องกับการทดลอง
ถูกต้องสมบูรณ์
ระบุปัญหาและตั้งสมมติฐาน
สอดคล้องกับการทดลอง
ถูกต้องบางส่วน
ระบุปัญหาและตั้งสมมติฐาน
สอดคล้องกับการทดลอง แต่
ไม่สมบูรณ์
ระบุปัญหาและ
ตั้งสมมติฐานไม่สอดคล้อง
กับการทดลอง และไม่
ถูกต้อง
2. การบันทึก
ผลการ
ทดลอง
ออกแบบรูปแบบการบันทึก
ผลการทดลองเหมาะสม
และบันทึกผลการทดลองได้
ถูกต้องสมบูรณ์
ออกแบบรูปแบบการบันทึก
ผลการทดลองเหมาะสม
และบันทึกผลการทดลองได้
ถูกต้องบางส่วน
ออกแบบรูปแบบการบันทึก
ผลการทดลองไม่เหมาะสม
แต่บันทึกผลการทดลองได้
ถูกต้องบางส่วน
ออกแบบรูปแบบการ
บันทึกผลการทดลองไม่
เหมาะสมและบันทึกผล
การทดลองไม่ถูกต้อง
3. การตอบ
คาถามหลัง
การทดลอง
ตอบคาถามหลังการทดลอง
ถูกต้องและสมบูรณ์
ตอบคาถามหลังการทดลอง
ถูกต้องบางส่วน
ตอบคาถามหลังการทดลอง
ถูกต้องเป็นส่วนน้อย
ตอบคาถามหลังการ
ทดลองไม่ถูกต้องเลย
4. การ
สรุปผลการ
ทดลอง
สรุปผลการทดลองได้อย่าง
ถูกต้องสมบูรณ์
สรุปผลการทดลองได้
ถูกต้องบางส่วน
สรุปผลการทดลองได้
ถูกต้องเป็นส่วนน้อย
สรุปผลการทดลองไม่
ถูกต้องเลย
เกณฑ์กำรประเมิน/ระดับคุณภำพ
คะแนนรวม 14-16 หมายถึง ดีมาก
คะแนนรวม 11-13 หมายถึง ดี
คะแนนรวม 8–10 หมายถึง พอใช้
คะแนนรวม 4–7 หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์กำรผ่ำน ตั้งแต่ 10 คะแนนขึ้นไป (ผ่ำนเกณฑ์ร้อยละ 60)
12
แบบประเมินกำรสืบค้น
เรื่อง..........................................................................
เลขที่ ชื่อ-สกุล กลุ่ม
คะแนนแต่ละรำยกำรประเมิน
คะแนนรวม(20)
การวางแผนค้นคว้า
ข้อมูลจากแหล่ง
เรียนรู้
การเก็บรวบรวม
ข้อมูล
การจัดกระทาข้อมูล
และการนาเสนอ
การสรุปผล
การเขียนรายงาน
ลงชื่อ ผู้ประเมิน
(.........................................................)
........../................/..............
13
เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบกำรประเมินกำรสืบค้น
รำยกำร
ประเมิน
ระดับคะแนน
4 3 2 1
1. การ
วางแผน
ค้นคว้าข้อมูล
จากแหล่ง
เรียนรู้
วางแผนที่จะค้นคว้าข้อมูลจาก
แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย
น่าเชื่อถือ และมีการเชื่อมโยงให้
เห็นเป็นภาพรวมแสดงให้เห็นถึง
ความสัมพันธ์ของวิธีการทั้งหมด
วางแผนที่จะค้นคว้าข้อมูล
จากแหล่งเรียนรู้ที่
หลากหลาย และเหมาะสม
แต่ไม่มีการเชื่อมโยงให้เห็น
เป็นภาพรวม
วางแผนที่จะค้นคว้าข้อมูล
จากแหล่งเรียนรู้โดยมีครู
หรือผู้อื่นแนะนาบ้าง
ไม่มีการวางแผนที่จะ
ค้นคว้าข้อมูลจาก
แหล่งเรียนรู้อย่าง
เป็นระบบ
2. การเก็บ
รวบรวมข้อมูล
เก็บรวบรวมข้อมูลตามแผนที่
กาหนดทุกประการ
เก็บรวบรวมข้อมูลโดย
คัดเลือกและ/หรือประเมิน
ข้อมูล
เก็บรวบรวมข้อมูลโดยไม่
มีการคัดเลือกและ/หรือ
ประเมินข้อมูล
เก็บรวบรวมข้อมูล
เป็นระยะ ขาดการ
ประเมินเพื่อคัดเลือก
3. การจัด
กระทาข้อมูล
และการ
นาเสนอ
จัดกระทาข้อมูลอย่างเป็นระบบ
มีการเชื่อมโยงให้เห็นเป็น
ภาพรวม และนาเสนอด้วยแบบ
ต่าง ๆ อย่างชัดเจนถูกต้อง
จัดกระทาข้อมูลอย่างเป็น
ระบบ มีการจาแนกข้อมูล
ให้เห็นความสัมพันธ์
นาเสนอด้วยแบบต่าง ๆ ได้
อย่างถูกต้อง
จัดกระทาข้อมูลอย่างเป็น
ระบบ มีการยกตัวอย่าง
เพิ่มเติมให้เข้าใจง่าย และ
นาเสนอด้วยแบบต่าง ๆ
แต่ยังไม่ถูกต้อง
จัดกระทาข้อมูล
อย่างไม่เป็นระบบ
และนาเสนอไม่สื่อ
ความหมายและไม่
ชัดเจน
4. การสรุปผล สรุปผลได้อย่างถูกต้องกระชับ
ชัดเจน และครอบคลุม มีเหตุผล
ที่อ้างอิงจากการสืบค้นได้
สรุปผลได้อย่างกระชับ แต่
ยังไม่ชัดเจนและไม่
ครอบคลุมข้อมูลจากการ
วิเคราะห์ทั้งหมด
สรุปผลได้กระชับ
กะทัดรัดแต่ไม่ชัดเจน
สรุปผลโดยไม่ใช้
ข้อมูล และไม่ถูกต้อง
5. การเขียน
รายงาน
เขียนรายละเอียดตรงตาม
จุดประสงค์ถูกต้องและชัดเจน
และมีการเชื่อมโยงให้เห็นเป็น
ภาพรวม
เขียนรายงานตรงตาม
จุดประสงค์อย่างถูกต้อง
และชัดเจน แต่ขาดการ
เรียบเรียง
เขียนรายงานโดยสื่อ
ความหมายได้ โดยมีครู
หรือผู้อื่นแนะนา
เขียนรายงานได้ตาม
ตัวอย่าง แต่ใช้ภาษา
ไม่ถูกต้อง และไม่
ชัดเจน
เกณฑ์กำรประเมิน/ระดับคุณภำพ
คะแนนรวม 17-20 หมายถึง ดีมาก
คะแนนรวม 13-16 หมายถึง ดี
คะแนนรวม 9-12 หมายถึง พอใช้
คะแนนรวม 5- 8 หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์กำรผ่ำน ตั้งแต่ 12 คะแนนขึ้นไป (ผ่ำนเกณฑ์ร้อยละ 60)
14
แบบประเมินกำรจัดนิทรรศกำร
เรื่อง..........................................................................
เลขที่ ชื่อ-สกุล กลุ่ม คะแนน หมำยเหตุ
ลงชื่อ ผู้ประเมิน
(.........................................................)
........../................/..............
15
เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบกำรประเมินกำรจัดกระทำและนำเสนอนิทรรศกำร
รำยกำร
ประเมิน
ระดับคะแนน
4 3 2 1
การจัด
กระทาและ
นาเสนอ
นิทรรศการ
รวบรวมข้อมูลและจัด
กระทานิทรรศการ
อย่างเป็นระบบ และ
นาเสนอด้วยแบบที่
ชัดเจน ถูกต้อง
ครอบคลุมและมีการ
เชื่อมโยงให้เห็น
ภาพรวม
รวบรวมข้อมูลและจัด
กระทานิทรรศการอย่าง
เป็นระบบ มีการจาแนก
ข้อมูลให้เห็น
ความสัมพันธ์และ
นาเสนอด้วยแบบที่
ถูกต้องครอบคลุม
รวบรวมข้อมูลและ
จัดกระทา
นิทรรศการได้ มีการ
ยกตัวอย่างเพิ่มเติม
และนาเสนอด้วย
แบบต่าง ๆ แต่ยังไม่
ครอบคลุม
รวบรวมข้อมูลและ
จัดกระทา
นิทรรศการอย่างไม่
เป็นระบบและ
นาเสนอไม่สื่อ
ความหมายและไม่
ชัดเจน
เกณฑ์กำรประเมิน/ระดับคุณภำพ
คะแนนรวม 4 หมายถึง ดีมาก
คะแนนรวม 3 หมายถึง ดี
คะแนนรวม 2 หมายถึง พอใช้
คะแนนรวม 1 หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์กำรผ่ำน ตั้งแต่ 3 คะแนนขึ้นไป (ผ่ำนเกณฑ์ร้อยละ 60)
16
แบบประเมินผังมโนทัศน์
เรื่อง..........................................................................
เลขที่ ชื่อ-สกุล กลุ่ม คะแนน หมำยเหตุ
ลงชื่อ ผู้ประเมิน
(.........................................................)
........../................/..............
17
เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบกำรประเมินกำรจัดกระทำและนำเสนอผังมโนทัศน์
รำยกำร
ประเมิน
ระดับคะแนน
4 3 2 1
การจัดกระทา
และนาเสนอผัง
มโนทัศน์
จัดกระทาผังมโนทัศน์
อย่างเป็นระบบ และ
นาเสนอด้วยแบบที่
ชัดเจน ถูกต้อง
ครอบคลุม และมีการ
เชื่อมโยงให้เห็นเป็น
ภาพรวม
จัดกระทาผังมโนทัศน์
อย่างเป็นระบบ มีการ
จาแนกข้อมูลให้เห็น
ความสัมพันธ์และ
นาเสนอด้วยแบบที่
ครอบคลุม
จัดกระทาผังมโนทัศน์
ได้ มีการยกตัวอย่าง
เพิ่มเติมและนาเสนอ
ด้วยแบบต่าง ๆ แต่ยัง
ไม่ครอบคลุม
จัดกระทาผังมโนทัศน์
อย่างไม่เป็นระบบและ
นาเสนอไม่สื่อ
ความหมายและไม่
ชัดเจน
เกณฑ์กำรประเมิน/ระดับคุณภำพ
คะแนนรวม 4 หมายถึง ดีมาก
คะแนนรวม 3 หมายถึง ดี
คะแนนรวม 2 หมายถึง พอใช้
คะแนนรวม 1 หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์กำรผ่ำน ตั้งแต่ 3 คะแนนขึ้นไป (ผ่ำนเกณฑ์ร้อยละ 60)
18
แบบประเมิน Blog
เรื่อง..........................................................................
เลขที่ ชื่อ-สกุล กลุ่ม
คะแนนแต่ละรำยกำรประเมิน
คะแนนรวม(20)
ความครบถ้วนของ
เนื้อหาสาระ
ความถูกต้องของ
เนื้อหาสาระ
ความถูกต้อง
เหมาะสมของภาษา
จานวนแหล่งข้อมูลที่
ค้นคว้าหรืออ้างอิง
รูปแบบการนาเสนอ
ลงชื่อ ผู้ประเมิน
(.........................................................)
........../................/..............
19
เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบกำรประเมิน Blog
รำยกำร
ประเมิน
ระดับคะแนน
4 3 2 1
1. ความ
ครบถ้วนของ
เนื้อหาสาระ
มีเนื้อหาสาระครบถ้วน
ตรงตามประเด็นที่
กาหนดทั้งหมด
มีเนื้อหาสาระค่อนข้าง
ครบถ้วน ตรงตาม
ประเด็นที่กาหนด
ทั้งหมด
มีเนื้อหาสาระไม่
ครบถ้วน ตรงตาม
ประเด็น แต่ภาพรวม
ของสาระทั้งหมดอยู่ใน
เกณฑ์พอใช้
มีเนื้อหาสาระไม่
ครบถ้วน ภาพรวมของ
สาระทั้งหมดอยู่ใน
เกณฑ์ต้องปรับปรุง
2. ความถูกต้อง
ของเนื้อหาสาระ
เนื้อหาสาระทั้งหมด
ความถูกต้องตาม
ข้อเท็จจริงและหลักวิชา
เนื้อหาสาระเกือบ
ทั้งหมดความถูกต้อง
ตามข้อเท็จจริงและ
หลักวิชา
เนื้อหาสาระบางส่วน
ถูกต้องตามข้อเท็จจริง
และหลักวิชา แต่ต้อง
แก้ไขบางส่วน
เนื้อหาสาระส่วนใหญ่
ไม่ถูกต้องตาม
ข้อเท็จจริงและหลัก
วิชาต้องแก้ไขเป็นส่วน
ใหญ่
3. ความถูกต้อง
เหมาะสมของ
ภาษา
สะกดการันต์ถูกต้อง
ถ้อยคาสานวนเหมาะสม
ดีมาก ลาดับความได้
ชัดเจนเข้าใจง่าย
สะกดการันต์ถูกต้อง
เป็นส่วนใหญ่ ถ้อยคา
สานวนเหมาะสมดีมาก
ลาดับความได้พอใช้
สะกดการันต์มีผิดอยู่บ้าง
ถ้อยคาสานวนเหมาะสม
พอใช้ ลาดับความพอ
เข้าใจ
สะกดการันต์ผิดมาก
ถ้อยคาสานวนไม่
เหมาะสม ลาดับความ
ได้ไม่ชัดเจน
4. จานวน
แหล่งข้อมูลที่
ค้นคว้า หรือ
อ้างอิง
ค้นคว้าจากแหล่งการ
เรียนรู้ที่หลากหลาย
ตั้งแต่ 4 แหล่งขึ้นไป
ค้นคว้าจากแหล่งการ
เรียนรู้ 3 แหล่ง
ค้นคว้าจากแหล่งการ
เรียนรู้ 2 แหล่ง
ค้นคว้าจากแหล่งการ
เรียนรู้เพียงแหล่งการ
เรียนรู้เดียว
5. รูปแบบการ
นาเสนอ
รูปแบบการนาเสนองาน
แปลกใหม่ น่าสนใจดี
ลาดับเรื่องราวได้ดีมาก
รูปแบบการนาเสนอ
งานน่าสนใจ ลาดับ
เรื่องราวได้ดี
รูปแบบการนาเสนองาน
น่าสนใจพอใช้ ลาดับ
เรื่องราวได้พอใช้
รูปแบบการนาเสนอ
งานไม่น่าสนใจ ลาดับ
เรื่องราวได้ไม่ดี
เกณฑ์กำรประเมิน/ระดับคุณภำพ
คะแนนรวม 17-20 หมายถึง ดีมาก
คะแนนรวม 13-16 หมายถึง ดี
คะแนนรวม 9-12 หมายถึง พอใช้
คะแนนรวม 5- 8 หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์กำรผ่ำน ตั้งแต่ 12 คะแนนขึ้นไป (ผ่ำนเกณฑ์ร้อยละ 60)
20
แบบสังเกตเจตคติทำงวิทยำศำสตร์ ครั้งที่ ....
เลขที่ ชื่อ-สกุล กลุ่ม
คะแนนแต่ละรำยกำรประเมิน
คะแนนรวม(24)
ความสนใจใฝ่รู้หรือความ
อยากรู้อยากเห็น
ความรับผิดชอบความ
มุ่งมั่นอดทนและเพียร
พยายาม
ความมีเหตุผล
ความมีระเบียบรอบคอบ
เห็นคุณค่าของความมี
ระเบียบและรอบคอบ
ความซื่อสัตย์เสนอความ
จริงถึงแม้จะเป็นผลที่
แตกต่างจากผู้อื่น
ความใจกว้างร่วมแสดง
ความคิดเห็นและรับฟัง
ความคิดเห็นของผู้อื่น
ลงชื่อ ผู้ประเมิน
(.........................................................)
........../................/..............
21
เกณฑ์กำรประเมินเจตคติทำงวิทยำศำสตร์
รำยกำรประเมิน
ระดับพฤติกรรมกำรแสดงออก
มำก
(4)
ปำนกลำง
(3)
น้อย
(2)
ไม่แสดงออก
(1)
1. ควำมสนใจใฝ่รู้หรือควำมอยำกรู้อยำกเห็น
- มีความสนใจและพอใจใคร่สืบเสาะแสวงหาความรู้ใน
สถานการณ์และปัญหาใหม่ ๆ อยู่เสมอ
- มีความกระตือรือร้นต่อกิจกรรมและเรื่องต่าง ๆ
- ชอบทดลองค้นคว้า
- ชอบสนทนา ซักถาม ฟัง อ่าน เพื่อให้ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น
มีพฤติกรรมการ
แสดงออกอย่าง
สม่าเสมอ
ตลอดเวลา
มีพฤติกรรมการ
แสดงออกเป็น
ครั้งคราว
มีพฤติกรรม
การแสดงออก
น้อยครั้ง
ไม่มีพฤติกรรม
การแสดงออก
เลย
2. ควำมรับผิดชอบ ควำมมุ่งมั่น อดทน และเพียร
พยำยำม
- ยอมรับผลการกระทาของตนเองทั้งที่เป็นผลดีและผลเสีย
- ทางานที่ได้รับมอบหมายให้สมบูรณ์ตามกาหนดและตรง
ต่อเวลา
- เว้นการกระทาอันเป็นผลเสียหายต่อส่วนรวม
- ทางานเต็มความสามารถ
- ไม่ท้อถอยในการทางาน เมื่อมีอุปสรรคหรือล้มเหลว
- มีความอดทนแม้การดาเนินการแก้ปัญหาจะยุ่งยากและใช้
เวลา
มีพฤติกรรมการ
แสดงออกอย่าง
สม่าเสมอ
ตลอดเวลา
มีพฤติกรรมการ
แสดงออกเป็น
ครั้งคราว
มีพฤติกรรม
การแสดงออก
น้อยครั้ง
ไม่มีพฤติกรรม
การแสดงออก
เลย
3. ควำมมีเหตุผล
- ยอมรับในคาอธิบายเมื่อมีหลักฐานหรือข้อมูลสนับสนุน
อย่างเพียงพอ
- พยายามอธิบายสิ่งต่าง ๆ ในแง่เหตุและผล ไม่เชื่อโชคลาง
หรือคาทานายที่ไม่สามารถอธิบายตามวิธีทางวิทยาศาสตร์
ได้
- อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล
- ตรวจสอบความถูกต้องหรือความสมเหตุสมผลของแนวคิด
ต่าง ๆ กับแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้
- รวบรวมข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนจะลงข้อสรุปเรื่องราวต่าง ๆ
มีพฤติกรรมการ
แสดงออกอย่าง
สม่าเสมอ
ตลอดเวลา
มีพฤติกรรมการ
แสดงออกเป็น
ครั้งคราว
มีพฤติกรรม
การแสดงออก
น้อยครั้ง
ไม่มีพฤติกรรม
การแสดงออก
เลย
22
รำยกำรประเมิน
ระดับพฤติกรรมกำรแสดงออก
มำก
(4)
ปำนกลำง
(3)
น้อย
(2)
ไม่แสดงออก
(1)
4. ควำมมีระเบียบรอบคอบเห็นคุณค่ำของควำมมีระเบียบ
และรอบคอบ
- นาวิธีหลาย ๆ วิธี มาตรวจสอบผลหรือวิธีการทดลอง
- มีความละเอียดถี่ถ้วนในการทางาน
- มีการวางแผนในการทางานและจัดระบบทางาน
- ตรวจสอบความเรียบร้อยหรือคุณภาพของเครื่องมือก่อน
ทาการทดลอง
- ทางานได้อย่างมีระเบียบและเรียบร้อย
มีพฤติกรรมการ
แสดงออกอย่าง
สม่าเสมอ
ตลอดเวลา
มีพฤติกรรมการ
แสดงออกเป็น
ครั้งคราว
มีพฤติกรรม
การแสดงออก
น้อยครั้ง
ไม่มีพฤติกรรม
การแสดงออก
เลย
5. ควำมซื่อสัตย์เสนอควำมจริงถึงแม้จะเป็นผลที่แตกต่ำง
จำกผู้อื่น
- เห็นคุณค่าของการเสนอข้อมูลตามความจริง
- บันทึกข้อมูลตามความจริง และไม่ใช้ความคิดเห็นของ
ตนเองไปเกี่ยวข้อง
- ไม่แอบอ้างผลงานของผู้อื่นว่าเป็นของตนเอง
มีพฤติกรรมการ
แสดงออกอย่าง
สม่าเสมอ
ตลอดเวลา
มีพฤติกรรมการ
แสดงออกเป็น
ครั้งคราว
มีพฤติกรรม
การแสดงออก
น้อยครั้ง
ไม่มีพฤติกรรม
การแสดงออก
เลย
6. ควำมใจกว้ำง ร่วมแสดงควำมคิดเห็นและรับฟังควำม
คิดเห็นของผู้อื่น
- รับฟังคาวิพากษ์วิจารณ์ ข้อโต้แย้ง หรือข้อคิดเห็นที่มี
เหตุผลของผู้อื่น
- ไม่ยึดมั่นในความคิดเห็นของตนเอง และยอมรับการ
เปลี่ยนแปลง
- รับฟังความคิดเห็นที่ตนเองยังไม่เข้าใจและพร้อมที่จะทา
ความเข้าใจ
-ยอมพิจารณาข้อมูลหรือความคิดที่ยังสรุปแน่นอนไม่ได้
และพร้อมที่จะหาข้อมูลเพิ่มเติม
มีพฤติกรรมการ
แสดงออกอย่าง
สม่าเสมอ
ตลอดเวลา
มีพฤติกรรมการ
แสดงออกเป็น
ครั้งคราว
มีพฤติกรรม
การแสดงออก
น้อยครั้ง
ไม่มีพฤติกรรม
การแสดงออก
เลย
เกณฑ์กำรประเมิน/ระดับคุณภำพ
คะแนนรวม 20-24 หมายถึง มาก
คะแนนรวม 15-19 หมายถึง ปานกลาง
คะแนนรวม 10–14 หมายถึง น้อย
คะแนนรวม 6 – 9 หมายถึง ไม่แสดงออก
เกณฑ์กำรผ่ำน ตั้งแต่ 15 คะแนนขึ้นไป (ผ่ำนเกณฑ์ร้อยละ 60)
23
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประกำร
กลุ่มสำระกำรเรียนรู้......................................................ภำคเรียนที่...........ปีกำรศึกษำ..............
ชื่อ-สกุลนักเรียน.....................................................................ชั้น..............................เลขที่…….
คำชี้แจง: ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วขีด  ลงในช่องว่างที่ตรงกับระดับคะแนน
คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
รำยกำรประเมิน
ระดับคะแนน
3 2 1 0
1. รักชาติ ศาสน์
กษัตริย์
1.1 ยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และบอกความหมายของเพลง
ชาติ
1.2 ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ของนักเรียน ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการ
ทางานกับสมาชิกในห้องเรียน
1.3 เข้าร่วมกิจกรรมที่สร้างความสามัคคี ปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อ
โรงเรียนและชุมชน
1.4 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตนตามหลักของศาสนาและ
เป็นตัวอย่างที่ดีของศาสนิกชน
1.5 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวกับสถาบัน
พระมหากษัตริย์ตามที่โรงเรียนและชุมชนจัดขึ้น ชื่นชมในพระราชกรณียกิจ
พระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์
2. ซื่อสัตย์ สุจริต 2.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง
2.2 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง ละอาย และเกรงกลัวที่จะทาความผิด ทาตามสัญญา
ที่ตนให้ไว้กับพ่อแม่หรือผู้ปกครอง และครู
2.3 ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เพื่อน ด้าน
ความซื่อสัตย์
3. มีวินัย
รับผิดชอบ
3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัวและ
โรงเรียน มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ใน
ชีวิตประจาวันมีความรับผิดชอบ
24
คุณลักษณะ
อันพึงประสงค์
รำยกำรประเมิน
ระดับคะแนน
3 2 1 0
4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 ตั้งใจเรียน
4.2 เอาใจใส่ในการเรียน และมีความเพียรพยายามในการเรียน
4.3 เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ
4.4 ศึกษาค้นคว้า หาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ
แหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน และเลือกใช้สื่อได้อย่าง
เหมาะสม
4.5 บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบบางสิ่งที่เรียนรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้
4.6 แลกเปลี่ยนความรู้ ด้วยวิธีการต่าง ๆ และนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน
5. อยู่อย่าง
พอเพียง
5.1 ใช้ทรัพย์สินและสิ่งของของโรงเรียนอย่างประหยัด
5.2 ใช้อุปกรณ์การเรียนอย่างประหยัดและรู้คุณค่า
5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยัดและมีการเก็บออมเงิน
6. มุ่งมั่นในการ
ทางาน
6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการทางานที่ได้รับมอบหมาย
6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานสาเร็จ
7. รักความเป็น
ไทย
7.1 มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย
8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูทางาน
8.2 อาสาทางาน ช่วยคิด ช่วยทา และแบ่งปันสิ่งของให้ผู้อื่น
8.3 รู้จักการดูแล รักษาทรัพย์สมบัติและสิ่งแวดล้อมของห้องเรียน โรงเรียน
ชุมชน
8.4 เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน
ลงชื่อ ผู้ประเมิน
(..................................................)
............../.................../................
เกณฑ์กำรให้คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
ไม่เคยปฏิบัติพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน
25
สรุปผลกำรประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประกำร
วิชำวิทยำศำสตร์ 5 รหัสวิชำ ว33101
ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6/..... ภำคเรียนที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2559
เลขที่ รำยชื่อนักเรียน
ผลกำรประเมิน
ดีเยี่ยม
(3)
ดี
(2)
ผ่าน
(1)
มผ.
(0)
สรุปผลกำรประเมินรำยชั้นเรียน
 ดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ............  ดี คิดเป็นร้อยละ............
 ผ่ำน คิดเป็นร้อยละ............  ไม่ผ่ำน คิดเป็นร้อยละ............
ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน ลงชื่อ...................................................ผู้อนุมัติผล
(นายพิพัฒน์พงษ์ สาจันทร์) (นายชาญชัย โรจนะ)
ครูผู้สอน ผู้อานวยการโรงเรียนเทพลีลา
26
กำรประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
วิชำวิทยำศำสตร์ 5 (ว33101) กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์
โรงเรียนเทพลีลำ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต 2
การประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน กาหนดเป็นผ่านและไม่ผ่าน ในการผ่านกาหนดเกณฑ์
การตัดสินเป็นดีเยี่ยม ดี และผ่าน และความหมายของแต่ละระดับ ดังนี้
ดีเยี่ยม หมายถึง ผู้เรียนปฏิบัติตนตามสมรรถนะจนเป็นนิสัย และนาไปใช้ในชีวิตประจาวันเพื่อ
ประโยชน์สุขของตนเองและสังคม โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จานวน 3-5 สมรรถนะ และ
ไม่มีสมรรถนะใดได้ผลการประเมินต่ากว่าระดับดี
ดี หมายถึง ผู้เรียนมีสมรรถนะในการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ เพื่อให้เป็นการยอมรับของสังคม
โดยพิจารณาจาก
1) ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จานวน 1-2 สมรรถนะ และไม่มีสมรรถนะใดได้ผลการประเมิน
ต่ากว่าระดับดี หรือ
2) ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จานวน 2 สมรรถนะ และ ไม่มีสมรรถนะใดได้ผลการประเมิน
ต่ากว่าระดับผ่าน หรือ
3) ได้ผลการประเมินระดับดี จานวน 4-5 สมรรถนะ และไม่มีสมรรถนะใดได้ผลการประเมินต่า
กว่าระดับผ่าน
ผ่ำน หมายถึง ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขที่สถานศึกษากาหนด
โดยพิจารณาจาก
1) ได้ผลการประเมินระดับผ่าน จานวน 4-5 สมรรถนะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมินต่า
กว่าระดับผ่าน หรือ
2) ได้ผลการประเมินระดับดี จานวน 2 สมรรถนะ และ ไม่มีสมรรถนะใดได้ผลการประเมินต่ากว่า
ระดับผ่าน
ไม่ผ่ำน หมายถึง ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติได้ไม่ครบตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขที่กาหนด โดยพิจารณา
จากผลการประเมินระดับไม่ผ่าน ตั้งแต่ 1 สมรรถนะ
เกณฑ์กำรให้คะแนนระดับคุณภำพ
ดีเยี่ยม - พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ดี - พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ผ่ำน - พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
ไม่ผ่ำน - ไม่เคยปฏิบัติพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน
เกณฑ์กำรสรุปผล ดีเยี่ยม 13-15 คะแนน ดี 9-12 คะแนน
ผ่ำน 1-8 คะแนน ไม่ผ่ำน 0 คะแนน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน
แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน

More Related Content

What's hot

วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำsavokclash
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
Wuttipong Tubkrathok
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
ครูเสกสรรค์ สุวรรณสุข
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
KruNistha Akkho
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดพัน พัน
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
Kan Pan
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
Miss.Yupawan Triratwitcha
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่website22556
 
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docxใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
sathanpromda
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
Prachoom Rangkasikorn
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสAomiko Wipaporn
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
Wichai Likitponrak
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
Pinutchaya Nakchumroon
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
Pannatut Pakphichai
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
dnavaroj
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
dnavaroj
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณAui Ounjai
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
prayut2516
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
taew paichibi
 

What's hot (20)

วัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำวัฏจักรน้ำ
วัฏจักรน้ำ
 
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
เอกสารประกอบการเรียนเรื่องเสียงกับการได้ยิน ป.5
 
งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)งานและพลังงาน (work and_energy)
งานและพลังงาน (work and_energy)
 
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
1 แบบฝึกทักษะการคิดวิเคราะห์วิชาฟิสกส์ เรื่อง ความหนาแน่น
 
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุดโครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
โครงงาน เรื่อง การย้อมผ้าจากเปลือกมังคุด
 
แรงลัพธ์
แรงลัพธ์แรงลัพธ์
แรงลัพธ์
 
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาฟิสิกส์ 2 (ว30202)
 
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
ใบงานที่ 4 ดิน หิน แร่
 
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docxใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
ใบงานคลื่นกล ม.5 .docx
 
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
ใบความรู้+แผนการสอนและใบกิจกรรม ประถม4-6 เรื่อง ปรากฏการณ์ของโลกและเทคโนโลยีอ...
 
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิสใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
ใบงานที่ 13 การแบ่งเซลล์แบบไมโทซิส
 
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
8.ดาวในท้องฟ้าgs บอกตำแหน่งวัตถุท้องฟ้า
 
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3  พลังงานไฟฟ้าบทที่ 3  พลังงานไฟฟ้า
บทที่ 3 พลังงานไฟฟ้า
 
ใบความรู้
ใบความรู้ใบความรู้
ใบความรู้
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
ใบงาน
ใบงานใบงาน
ใบงาน
 
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อมแบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
แบบทดสอบ บทที่ 5 มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม
 
เคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณเคาะสัญญาณ
เคาะสัญญาณ
 
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
ใบงาน วิชา เศรษฐศาสตร์ ม.1
 
การแยกสาร
การแยกสารการแยกสาร
การแยกสาร
 

Similar to แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน

แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docxแผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
ssuser7ea064
 
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
โรงเรียนเทพลีลา
 
สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่
สาระที่ ๔   แรงและการเคลื่อนที่สาระที่ ๔   แรงและการเคลื่อนที่
สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่วิสิทธิ์ โทแก้ว
 
โครงงาน(สอบ)
โครงงาน(สอบ)โครงงาน(สอบ)
โครงงาน(สอบ)guest9d7787
 
โครงงาน(สอบ)
โครงงาน(สอบ)โครงงาน(สอบ)
โครงงาน(สอบ)guest552538
 
2562 final-project 03-sirasorn
2562 final-project  03-sirasorn2562 final-project  03-sirasorn
2562 final-project 03-sirasorn
SirasornChantaramano
 
Music and Human
Music and HumanMusic and Human
Music and Human
spirite01
 
Permanent plot
Permanent plotPermanent plot
Permanent plot
UNDP
 
งานคอมโฟน
งานคอมโฟนงานคอมโฟน
งานคอมโฟนChatika Ruankaew
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
ฏิวัตต์ สันทาลุนัย
 
แผนการสอน CBI
แผนการสอน CBIแผนการสอน CBI
แผนการสอน CBISuccess SC Slac
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4supphawan
 
บท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาบท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยา
Wichai Likitponrak
 
Eis science lesson plan grade 1
Eis science lesson plan grade 1Eis science lesson plan grade 1
Eis science lesson plan grade 1
arunrat bamrungchit
 
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
Thanakrit Muangjun
 
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรนำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรAor_1234
 
B silm mint may ton ครั้งที่ 2
B silm mint may ton ครั้งที่ 2B silm mint may ton ครั้งที่ 2
B silm mint may ton ครั้งที่ 2Anurak Phansuwan
 

Similar to แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน (20)

แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docxแผนการเรียนรู้รายหน่วย 5  เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
แผนการเรียนรู้รายหน่วย 5 เรื่องพฤติกรรมของสียง.docx
 
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่
สาระที่ ๔   แรงและการเคลื่อนที่สาระที่ ๔   แรงและการเคลื่อนที่
สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่
 
โครงงาน(สอบ)
โครงงาน(สอบ)โครงงาน(สอบ)
โครงงาน(สอบ)
 
โครงงาน(สอบ)
โครงงาน(สอบ)โครงงาน(สอบ)
โครงงาน(สอบ)
 
2562 final-project 03-sirasorn
2562 final-project  03-sirasorn2562 final-project  03-sirasorn
2562 final-project 03-sirasorn
 
Music and Human
Music and HumanMusic and Human
Music and Human
 
Com (1)
Com (1)Com (1)
Com (1)
 
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
มคอ ๓ วิชาธรรมภาคปฏิบัติ ๕
 
Permanent plot
Permanent plotPermanent plot
Permanent plot
 
งานคอมโฟน
งานคอมโฟนงานคอมโฟน
งานคอมโฟน
 
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลางบทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
บทเรียนอิเล็กทรอนิกส์ ดนตรีพื้นบ้านปฏิบัติตีโปงลาง
 
แผน CBI
แผน CBIแผน CBI
แผน CBI
 
แผนการสอน CBI
แผนการสอน CBIแผนการสอน CBI
แผนการสอน CBI
 
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
โครงสร้างสาระวิทย์ป.4
 
บท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยาบท2การศึกษาชีววิทยา
บท2การศึกษาชีววิทยา
 
Eis science lesson plan grade 1
Eis science lesson plan grade 1Eis science lesson plan grade 1
Eis science lesson plan grade 1
 
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากลการประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
การประยุกต์ดนตรีไทยและดนตรีสากล
 
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตรนำเสนอผลการใช้หลักสูตร
นำเสนอผลการใช้หลักสูตร
 
B silm mint may ton ครั้งที่ 2
B silm mint may ton ครั้งที่ 2B silm mint may ton ครั้งที่ 2
B silm mint may ton ครั้งที่ 2
 

More from โรงเรียนเทพลีลา

รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
โรงเรียนเทพลีลา
 
SAR 2560
SAR 2560SAR 2560
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
โรงเรียนเทพลีลา
 
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียงคู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
โรงเรียนเทพลีลา
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
โรงเรียนเทพลีลา
 
คลื่นและเสียง
คลื่นและเสียงคลื่นและเสียง
คลื่นและเสียง
โรงเรียนเทพลีลา
 
Earthscience
EarthscienceEarthscience
ฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐานฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐาน
โรงเรียนเทพลีลา
 
โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์
โรงเรียนเทพลีลา
 

More from โรงเรียนเทพลีลา (9)

รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนรายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
รายงานระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียน
 
SAR 2560
SAR 2560SAR 2560
SAR 2560
 
วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน วิจัยในชั้นเรียน
วิจัยในชั้นเรียน
 
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียงคู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
คู่มือการใช้นวัตกรรมคลื่นกลและเสียง
 
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียงเฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
เฉลยเอกสารประกอบสื่อสังคมออนไลน์เรื่องคลื่นกลและเสียง
 
คลื่นและเสียง
คลื่นและเสียงคลื่นและเสียง
คลื่นและเสียง
 
Earthscience
EarthscienceEarthscience
Earthscience
 
ฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐานฟิสิกส์พื้นฐาน
ฟิสิกส์พื้นฐาน
 
โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์โอเน็ตฟิสิกส์
โอเน็ตฟิสิกส์
 

Recently uploaded

กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
Postharvest Technology Innovation Center
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
CholapruekSangkamane1
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
Pattie Pattie
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
NuttavutThongjor1
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Prachyanun Nilsook
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
SweetdelMelon
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
NuttavutThongjor1
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
pakpoomounhalekjit
 

Recently uploaded (8)

กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
กำหนดการ การประชุมวิชาการวิทยาการหลังการเก็บเกี่ยวครั้งที่ 21
 
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกันbio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
bio62สอวน.ชีววิทยา-ชีววิทยาปี62-ข้อสอบแข่งกัน
 
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdfความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
ความสุจริตทางวิชาการ “เชื่อมไทยเชื่อมโลก”.pdf
 
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
Fullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack Nest.js and Next.js.pdfFullstack N...
 
Artificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdfArtificial Intelligence in Education2.pdf
Artificial Intelligence in Education2.pdf
 
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
โครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิตโครงงานคณิต...
 
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdfRecap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
Recap JavaScript and TypeScript.pdf Recap JavaScript and TypeScript.pdf
 
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.pptโรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
โรคทางพันธุกรรมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมมม.ppt
 

แผนประกอบวิจัยในชั้นเรียน

  • 1. ก แผนการจัดการเรียนรู้ วิชาวิทยาศาสตร์ 5 รหัส ว33101 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2559 นายพิพัฒน์พงษ์ สาจันทร์ ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ชานาญการ โรงเรียนเทพลีลา กรุงเทพมหานคร สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 2 เรื่อง คลื่นกลและเสียง
  • 2. ก คำนำ แผนการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ รายวิชาวิทยาศาสตร์ 5 รหัสวิชา ว33101 เล่มนี้ จัดทา ขึ้นเพื่อใช้เป็นแนวทางในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สาระที่ 5 พลังงาน เรื่อง คลื่นกลและเสียง ชั้นมัธยมศึกษา ปีที่ 4-6 กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ สอดคล้องกับมาตรฐานและตัวชี้วัดตามหลักสูตรแกนกลาง การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เนื้อหาภายในเล่ม ประกอบด้วย คาอธิบายรายวิชา โครงสร้างรายวิชา โครงสร้างการจัดเวลาเรียน การออกแบบหน่วยกิจกรรม แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายชั่วโมงจานวน 10 แผน รวม 20 ชั่วโมง ในแต่ละแผนมีองค์ประกอบดังนี้ มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด จุดประสงค์การเรียนรู้ สาระสาคัญ สาระการเรียนรู้ คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ชิ้นงานหรือภาระงาน การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สื่อ/แหล่งเรียนรู้ การวัดและการประเมินผล และบันทึกหลังการจัดกิจกรรมการ เรียนรู้ ผู้จัดทาได้นาแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้ไปใช้กับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนเทพลีลาในปี การศึกษา 2558 – 2559 พบว่า สามารถพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียน และนักเรียนมีความพึง พอใจต่อการจัดการเรียนรู้ ส่งผลให้นักเรียนมีคุณภาพตามที่หลักสูตรกาหนด ขอขอบคุณท่านผู้อานวยการ ท่านรองผู้อานวยการ และคณะครูโรงเรียนเทพลีลา ที่ให้คาปรึกษา คาแนะนา ตลอดจนกาลังใจในการงาน ส่งผลให้การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้เล่มนี้สาเร็จลุล่วงตาม วัตถุประสงค์ทุกประการ นายพิพัฒน์พงษ์ สาจันทร์ ครู คศ.2
  • 3. ข สำรบัญ เรื่อง หน้ำ คานา ..............................................................................................................................................................ก คาอธิบายรายวิชา ...........................................................................................................................................ค โครงสร้างรายวิชา............................................................................................................................................ง โครงสร้างการจัดเวลาเรียน .............................................................................................................................ฉ การออกแบบหน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 คลื่น (คลื่นกลและเสียง)..................................................1 แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนก่อนเรียน...................................................................................................34 แบบวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียน....................................................................................................43 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ธรรมชาติของคลื่น...............................................................................................57 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ชนิดของคลื่น.......................................................................................................70 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 การสะท้อนของคลื่น............................................................................................80 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 การหักเหของคลื่น...............................................................................................92 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเลี้ยวเบนของคลื่น........................................................................................106 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 การแทรกสอดของคลื่น......................................................................................124 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การเกิดเสียง......................................................................................................141 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 ธรรมชาติของเสียง.............................................................................................156 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 บีตส์ของเสียง ....................................................................................................165 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 มลพิษทางเสียง................................................................................................177 ตัวอย่างผลงานนักเรียน...............................................................................................................................193
  • 4. ค คำอธิบำยรำยวิชำ รำยวิชำวิทยำศำสตร์ 5 รหัส ว33101 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 1.0 หน่วยกิต เวลำ 40 ชั่วโมง ******************************************************************************************** ศึกษา วิเคราะห์ คลื่นกล การสะท้อน การหักเห การเลี้ยวเบน การแทรกสอด ความเข้มเสียง ระดับความเข้มเสียง บีตส์ มลพิษทางเสียง คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า ปฏิกิริยานิวเคลียร์ และธาตุกัมมันตรังสี โดยใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะหาความรู้ การสารวจตรวจสอบ การสืบค้น ข้อมูล และการอภิปราย เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ ความคิด สามารถสื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการ ตัดสินใจ เห็นคุณค่าของการนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวัน มีจิตวิทยาศาสตร์ จริยธรรม คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม มำตรฐำนกำรเรียนรู้/ตัวชี้วัด ว 5.1 ม.4-6/(1-4) ว 5.1 ม.4-6/(5-9) ว 8.1 ม.4-6/(1-12) รวมทั้งหมด 21 ตัวชี้วัด
  • 5. ง โครงสร้ำงรำยวิชำ รหัสวิชำ ว33101 รำยวิชำ วิทยำศำสตร์ 5 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ระดับชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 เวลำเรียน 2 ชั่วโมง / สัปดำห์ รวม 40 ชั่วโมง จำนวน 1.0 หน่วยกิต หน่วยที่/ ชื่อ หน่วย การเรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง เวลา (ชั่วโมง) น้าหนัก คะแนน 1. คลื่น ว 5.1 ม.4-6/1-4 - คลื่นกลมีสมบัติ การสะท้อน การหักเห การแทรกสอด และ การเลี้ยวเบน - อัตราเร็ว ความถี่และความยาวคลื่นมีความสัมพันธ์กันดังนี้ อัตราเร็ว = ความถี่  ความยาวคลื่น - คลื่นเสียงเกิดจากการสั่นของแหล่งกาเนิดเสียง - บีตส์ของเสียงเกิดจากคลื่นเสียงจากแหล่งกาเนิดสองแหล่งที่ มีความถี่ต่างกันเล็กน้อย มารวมกัน ทาให้ได้ยินเสียงดังค่อย เป็นจังหวะ - ความเข้มเสียง คือ พลังงานเสียงที่ตกตั้งฉากบนหนึ่งหน่วย พื้นที่ในหนึ่งหน่วยเวลา - ระดับความเข้มเสียงจะบอกความดังค่อยของเสียงที่ได้ยิน - เครื่องดนตรีแต่ละชนิดที่ใช้ตัวโน้ตเดียวกัน จะให้รูปคลื่นที่ แตกต่างกัน เรียกว่ามีคุณภาพเสียงต่างกัน -มลพิษทางเสียงมีผลต่อสุขภาพของมนุษย์ ถ้าฟังเสียงที่มีระดับ ความเข้มเสียงสูงกว่ามาตรฐานเป็นเวลานาน อาจก่อให้เกิด อันตรายต่อการได้ยินและสภาพจิตใจได้ การป้องกันโดยการ หลีกเลี่ยงหรือใช้เครื่องครอบหูหรือลดการสั่นของ แหล่งกาเนิดเสียง เช่น เครื่องจักร - คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าประกอบด้วยสนามแม่เหล็กและสนามไฟฟ้าที่ เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา สเปกตรัมคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้ามี ความถี่ต่อเนื่องกัน โดยคลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าช่วงความถี่ต่าง ๆ มีลักษณะเฉพาะตัว ซึ่งสามารถนาไปใช้ประโยชน์ได้แตกต่าง กัน เช่น การรับส่งวิทยุ โทรทัศน์ การป้องกันอันตรายจาก คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า เช่น ไม่อยู่ใกล้เตาไมโครเวฟขณะเตา ทางาน 24 60
  • 6. จ หน่วยที่/ ชื่อ หน่วย การเรียนรู้ มาตรฐานการ เรียนรู้/ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง เวลา (ชั่วโมง) น้าหนัก คะแนน 2. กัมมัน ตภาพรังสี และพลัง งานนิว- เคลียร์ ว 5.1 ม.4-6/5-9 - ปฏิกิริยานิวเคลียร์เป็นปฏิกิริยาที่ทาให้นิวเคลียสเกิดการ เปลี่ยนแปลง ปฏิกิริยาที่นิวเคลียสของธาตุที่มีเลขมวล มากแตกตัว เรียกว่าฟิชชัน ปฏิกิริยาที่เกิดจากการหลอม รวมนิวเคลียสของธาตุที่มีเลขมวลน้อย เรียกว่า ฟิวชัน ความสัมพันธ์ระหว่างมวลและพลังงานเป็นไปตามสมการ 2 mcE  - ปฏิกิริยานิวเคลียร์ทาให้เกิดผลกระทบต่อสิ่งมีชีวิตและ สิ่งแวดล้อม - โรงไฟฟ้านิวเคลียร์เป็นโรงไฟฟ้าพลังงานความร้อน ประเภทหนึ่ง ซึ่งได้พลังงานความร้อนจากพลังงาน นิวเคลียร์ - รังสีจากธาตุกัมมันตรังสีมี 3 ชนิด คือ แอลฟา บีตาและ แกมมา ซึ่งมีอานาจทะลุผ่านต่างกัน - กัมมันตภาพรังสีเกิดจากการสลายของไอโซโทปของธาตุ ที่ไม่เสถียร สามารถตรวจจับได้โดยเครื่องตรวจวัดรังสี ในธรรมชาติมีรังสี แต่ส่วนใหญ่อยู่ในระดับต่ามาก - รังสีมีประโยชน์ในด้านอุตสาหกรรม การเกษตร การแพทย์ โบราณคดี รังสีในระดับสูงมีอันตรายต่อ สิ่งมีชีวิต 16 40 ว 8.1 ม.4-6/1-12 - ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ - จิตวิทยาศาสตร์ รวมคะแนนระหว่ำงภำค 50 คะแนนกลำงภำค 20 คะแนนปลำยภำค 30 รวม 100
  • 7. ฉ โครงสร้ำงกำรจัดเวลำเรียน รำยวิชำวิทยำศำสตร์ 5 รหัส ว33101ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 ภำคเรียนที่ 1 เวลำเรียน 40 ชั่วโมง หน่วยการเรียนรู้/แผนการจัดการเรียนรู้ เวลาเรียน (ชม.) หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 1 คลื่น แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 ธรรมชาติของคลื่น แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 ชนิดของคลื่น แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 การสะท้อนของคลื่น แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 การหักเหของคลื่น แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 การเลี้ยวเบนของคลื่น แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 การแทรกสอดของคลื่น แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 การเกิดเสียง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 ธรรมชาติของเสียง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 บีตส์ของเสียง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 มลพิษทางเสียง แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (1) แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า (2) แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าในชีวิตประจาวัน 24 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 2 1 1 หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 2 พลังงำนนิวเคลียร์ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 โครงสร้างอะตอม แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 กัมมันตภาพรังสี แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 16 การสลายตัวและค่าครึ่งชีวิต แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 17 ปฏิกิริยานิวเคลียร์ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 18 รังสีกับมนุษย์ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 19 โรงไฟฟ้านิวเคลียร์ แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 20 การป้องกันอันตรายจากกัมมันตภาพรังสี 16 2 4 4 2 2 1 1 รวมเวลำเรียน 40
  • 8. กำรออกแบบหน่วยกำรเรียนรู้ หน่วยกำรเรียนรู้ที่ 1 คลื่น (คลื่นกลและเสียง) วิชำวิทยำศำสตร์ 5 รหัส ว33101 กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6 ภำคเรียนที่ 1 เวลำ 20 ชั่วโมง ************************************************************************ ขั้นที่ 1 กำหนดเป้ำหมำยหลักของกำรเรียนรู้ 1. มำตรฐำนกำรเรียนรู้ / ตัวชี้วัด มำตรฐำนกำรเรียนรู้ มำตรฐำน ว 5.1 เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างพลังงานกับการดารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสารและพลังงาน ผลของการใช้พลังงานต่อชีวิตและสิ่งแวดล้อม มีกระบวนการสืบเสาะหา ความรู้ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ ตัวชี้วัด 1. ว 5.1 ม.4-6/1 ทดลองและอธิบายสมบัติของคลื่นกล และอธิบายความสัมพันธ์ระหว่าง อัตราเร็ว ความถี่ และความยาวคลื่น 2. ว 5.1 ม.4-6/2 อธิบายการเกิดคลื่นเสียง บีตส์ของเสียง ความเข้มเสียง ระดับความเข้มเสียง การได้ยินเสียง คุณภาพเสียง และนาความรู้ไปใช้ประโยชน์ 3.ว 5.1 ม.4-6/3 อภิปรายผลการสืบค้นข้อมูลเกี่ยวกับมลพิษทางเสียงที่มีต่อสุขภาพของมนุษย์ และการเสนอวิธีป้องกัน มำตรฐำนกำรเรียนรู้ มำตรฐำน ว 8.1 ใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์และจิตวิทยาศาสตร์ในการสืบเสาะหาความรู้ การแก้ปัญหา รู้ว่าปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นส่วนใหญ่มีรูปแบบที่แน่นอนสามารถอธิบายและ ตรวจสอบได้ภายใต้ข้อมูลและเครื่องมือที่มีอยู่ในช่วงเวลานั้น ๆ เข้าใจว่าวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี สังคม และ สิ่งแวดล้อมมีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กัน ตัวชี้วัด 1.ว 8.1 ม.4-6/1 ตั้งคาถามที่อยู่บนพื้นฐานของความรู้และความเข้าใจทางวิทยาศาสตร์หรือ ความสนใจ หรือจากประเด็นที่เกิดขึ้นในขณะนั้น ที่สามารถทาการสารวจตรวจสอบหรือศึกษาค้นคว้าได้อย่าง ครอบคลุมและเชื่อถือได้ 2. ว 8.1 ม.4-6/2 สร้างสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับ หรือคาดการณ์สิ่งที่จะพบ หรือสร้าง แบบจาลอง หรือสร้างรูปแบบ เพื่อนาไปสู่การสารวจตรวจสอบ 3. ว 8.1 ม.4-6/3 ค้นคว้ารวบรวมข้อมูลที่ต้องพิจารณาปัจจัยหรือตัวแปรสาคัญ ปัจจัยที่มีผลต่อ ปัจจัยอื่น ปัจจัยที่ควบคุมไม่ได้ และจานวนครั้งของการสารวจตรวจสอบ เพื่อให้ได้ผลที่มีความเชื่อมั่นอย่าง เพียงพอ
  • 9. 2 4. ว 8.1 ม.4-6/4 เลือกวัสดุ เทคนิควิธี อุปกรณ์ที่ใช้ในการสังเกต การวัด การสารวจตรวจสอบ อย่างถูกต้องทั้งทางกว้างและลึกในเชิงปริมาณและคุณภาพ 5. ว 8.1 ม.4-6/5 รวบรวมข้อมูลและบันทึกผลการสารวจตรวจสอบอย่างเป็นระบบถูกต้อง ครอบคลุมทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยตรวจสอบความเป็นไปได้ ความเหมาะสมหรือความผิดพลาดของ ข้อมูล 6. ว 8.1 ม.4-6/6 จัดกระทาข้อมูล โดยคานึงถึงการรายงานผลเชิงตัวเลขที่มีระดับความถูกต้อง และนาเสนอข้อมูลด้วยเทคนิควิธีที่เหมาะสม 7. ว 8.1 ม.4-6/7 วิเคราะห์ข้อมูล แปลความหมายข้อมูล และประเมินความสอดคล้องของ ข้อสรุป หรือสาระสาคัญ เพื่อตรวจสอบกับสมมติฐานที่ตั้งไว้ 8. ว 8.1 ม.4-6/8 พิจารณาความน่าเชื่อถือของวิธีการและผลการสารวจตรวจสอบ โดยใช้หลัก ความคลาดเคลื่อนของการวัดและการสังเกต เสนอแนะการปรับปรุงวิธีการสารวจตรวจสอบ 9. ว 8.1 ม.4-6/9 นาผลของการสารวจตรวจสอบที่ได้ ทั้งวิธีการและองค์ความรู้ที่ได้ไปสร้าง คาถามใหม่ นาไปใช้แก้ปัญหาในสถานการณ์ใหม่และในชีวิตจริง 10. ว 8.1 ม.4-6/10 ตระหนักถึงความสาคัญในการที่จะต้องมีส่วนร่วมรับผิดชอบการอธิบาย การลงความเห็น และการสรุปผลการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ที่นาเสนอต่อสาธารณชนด้วยความถูกต้อง 11. ว 8.1 ม.4-6/11 บันทึกและอธิบายผลการสารวจตรวจสอบอย่างมีเหตุผล ใช้พยานหลักฐาน อ้างอิงหรือค้นคว้าเพิ่มเติม เพื่อหาหลักฐานอ้างอิงที่เชื่อถือได้ และยอมรับว่าความรู้เดิมอาจมีการเปลี่ยนแปลง ได้ เมื่อมีข้อมูลและประจักษ์พยานใหม่เพิ่มเติมหรือโต้แย้งจากเดิม ซึ่งท้าทายให้มีการตรวจสอบอย่าง ระมัดระวัง อันจะนามาสู่การยอมรับเป็นความรู้ใหม่ 12. ว 8.1 ม.4-6/12 จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรืออธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และผลของโครงงานหรือชิ้นงานให้ผู้อื่นเข้าใจ
  • 10. 3 2. สำระสำคัญ (คำชี้แจง) ผู้เรียนจะได้เรียนรู้เกี่ยวกับคลื่นกล และคลื่นเสียง ด้วยการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ (5Es) เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญและการใช้คาถามเพื่อพัฒนาให้ผู้เรียนฝึกทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์หลายทักษะ เช่น ทักษะการสังเกต การจาแนกประเภท การวัด การสื่อความหมาย การตีความหมายและลงข้อสรุป การ แก้ปัญหา เพื่อการหาคาตอบของปัญหาให้ได้มาซึ่งความรู้ความเข้าใจที่คงทนโดยการนาข้อมูลมาจัดทาให้อยู่ใน รูปแบบที่น่าสนใจและเข้าใจง่ายพร้อมทั้งพัฒนาให้ผู้เรียนได้รับการพัฒนาจิตวิทยาศาสตร์ เช่น การเป็นผู้มี เหตุผลไม่ด่วนสรุปโดยปราศจากข้อมูลหลักฐาน การเป็นผู้มีความคิดสร้างสรรค์ มีความพยายามอดทนใน การศึกษาค้นคว้าและแก้ปัญหา นอกจากนี้ยังช่วยให้ผู้เรียนมีเจตคติที่ดีต่อวิทยาศาสตร์เพราะผู้เรียนจะเห็นถึง ความเชื่อมโยงระหว่างสิ่งที่เรียนกับชีวิตประจาวันและนาไปใช้จริงในชีวิตประจาวันได้ 3. สำระกำรเรียนรู้ 1. ควำมรู้ - คลื่น คือ การถ่ายทอดพลังงานออกจากแหล่งกาเนิดพลังงานด้วยการสั่น มีองค์ประกอบ ดังนี้ 1. ความถี่ คือ จานวนรอบของการเคลื่อนที่ในหนึ่งหน่วยวินาที มีหน่วยเป็นเฮิรตซ์ 2. คาบ คือ เวลาที่ใช้ในการเคลื่อนที่หนึ่งรอบ มีหน่วยเป็นวินาที 3. ความยาวคลื่น คือ ระยะบนแนวสมดุลที่มีคลื่นหนึ่งลูก มีหน่วยเป็นเมตร 4. อัตราเร็วคลื่น คือ ระยะที่คลื่นสามารถเคลื่อนที่ได้ในเวลาหนึ่งวินาที มีหน่วยเป็นเมตร ต่อวินาที สามารถคานวณได้จาก ความถี่คูณกับความยาวคลื่น - ชนิดของคลื่นจาแนกตามการใช้ตัวกลางในการถ่ายทอดพลังงานได้ดังนี้ 1. คลื่นกล คือ คลื่นที่อาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ 2. คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า คือ คลื่นที่ไม่จาเป็นต้องอาศัยตัวกลางในการเคลื่อนที่ - ชนิดของคลื่นจาแนกตามลักษณะการสั่นของตัวกลางได้ดังนี้ 1. คลื่นตามยาว คือ คลื่นที่เกิดจากอนุภาคของตัวกลางเคลื่อนที่ไปมาแนวเดียวกับการ เคลื่อนที่ของคลื่น 2. คลื่นตามขวาง คือ คลื่นที่เกิดจากอนุภาคของตัวกลางเคลื่อนที่ในแนวตั้งฉากกับการ เคลื่อนที่ของคลื่น - ชนิดของคลื่นจาแนกตามความต่อเนื่องของการให้กาเนิดคลื่นได้ดังนี้ 1. คลื่นดล คือ คลื่นที่เกิดจากแหล่งกาเนิดที่สั่นเป็นช่วงเวลาสั้น ๆ 2. คลื่นต่อเนื่อง คือ คลื่นที่เกิดจากแหล่งกาเนิดที่สั่นอย่างต่อเนื่อง - การสะท้อนของคลื่น คือ การเปลี่ยนแปลงทิศของคลื่น อันเนื่องมาจากการตกกระทบที่รอยต่อ ระหว่างตัวกลางสองชนิด โดยมีมุมตกกระทบเท่ากับมุมสะท้อน
  • 11. 4 กฎการสะท้อนประกอบด้วย 1. เส้นแนวฉาก รังสีตกกระทบ รังสีสะท้อน อยู่ในระนาบเดียวกัน 2. มุมตกกระทบ เท่ากับ มุมสะท้อน - การหักเหคือ การเปลี่ยนแปลงทิศของคลื่นอันเนื่องมาจากคลื่นเคลื่อนที่จากรอยต่อระหว่าง ตัวกลางที่มีสมบัติแตกต่างกัน แล้วทาให้อัตราเร็วของคลื่นเปลี่ยนไป - มุมวิกฤติคือ มุมตกกระทบที่ทาให้มุมหักเหมีขนาด 90๐ - การสะท้อนกลับหมดคือ การสะท้อนที่เกิดจากมุมตกกระทบมีค่ามากกว่ามุมวิกฤติ แล้วไม่มี การหักเหเกิดขึ้น แต่เกิดการสะท้อนกลับหมดในตัวกลางเดิม - การเลี้ยวเบนคือ การที่คลื่นเคลื่อนที่มาพบสิ่งกีดขวางหรือผ่านช่องเปิด แล้วมีคลื่นส่วนหนึ่งแผ่ กระจายจากขอบของสิ่งกีดขวางไปทางด้านหลังได้ - หลักของฮอยเกนส์ กล่าวว่า หน้าคลื่นที่ผ่านสิ่งกีดขวางจะทาหน้าที่เป็นแหล่งกาเนิดคลื่นใหม่ที่ สร้างหน้าคลื่นเป็นรูปครึ่งวงกลมหลังสิ่งกีดขวางได้ - การแทรกสอด คือ ปรากฏการณ์ที่เกิดจากการรวมกันของคลื่นตั้งแต่ 2 ขบวน เคลื่อนที่มา ซ้อนทับกันในตัวกลางเดียวกัน อธิบายโดยใช้หลักการรวมกันของคลื่น - การรวมกันแบบเสริมคือ คลื่นสองขบวนที่เคลื่อนที่มาพบกัน โดยคลื่นทั้งสองมีแอมพลิจูดทิศ เดียวกัน แอมพลิจูดของคลื่นรวมจะเท่ากับผลรวมของแอมพลิจูดของคลื่นย่อย - การรวมกันแบบหักล้างคือ คลื่นสองขบวนที่เคลื่อนที่มาพบกัน โดยคลื่นทั้งสองมีแอมพลิจูดทิศ ตรงข้ามกัน แอมพลิจูดของคลื่นรวมจะเท่ากับผลต่างของแอมพลิจูดของคลื่นย่อย - เสียงก้องคือเสียงที่ส่งไปกระทบตัวสะท้อนในแนวตั้งฉากกับผิวตัวสะท้อนโดยเวลาที่เสียงใช้ใน การเคลื่อนที่ออกไปและกลับมาใช้เวลามากกว่า 0.1 วินาทีทาให้ได้ยินเสียงเดียวกัน 2 ครั้ง - ระดับเสียงคือการรับรู้ลักษณะของคลื่นเสียงของมนุษย์โดยขึ้นกับความถี่ของคลื่นเสียงซึ่งเสียง ที่มีความถี่สูง มนุษย์จะรับรู้เป็นเสียงแหลมและเสียงที่มีความถี่ต่ามนุษย์จะรับรู้เป็นเสียงต่าหรือเสียงทุ้ม - ความดังของเสียงคือปริมาณของพลังงานเสียงที่มาถึงหูผู้ฟัง - ความเข้มเสียงคือพลังงานเสียงที่ตกตั้งฉากบนหนึ่งหน่วยพื้นที่ในหนึ่งหน่วยเวลามีหน่วยเป็น วัตต์ต่อตารางเมตร ความเข้มเสียงที่เบาที่สุดมีค่า 10-12 วัตต์ต่อตารางเมตร - ระดับความเข้มเสียงคือการวัดความดังของเสียงในหน่วยเดซิเบล - บีตส์ คือ ปรากฏการณ์ที่คลื่นเสียงจากแหล่งกาเนิดเสียง 2 แหล่งที่มีความถี่แตกต่างกัน เล็กน้อย และเคลื่อนที่อยู่ในแนวเดียวกัน เกิดการรวมกันทาให้แอมพลิจูดของคลื่นรวมเปลี่ยนแปลงเกิดเสียงดัง เสียงค่อยเป็นจังหวะ - มลพิษทางเสียงคือสภาวะเสียงที่ดังเกินไปจนก่อให้เกิดความราคาญและเป็นอันตรายต่อระบบ การได้ยินของมนุษย์ การป้องกันมลพิษทางเสียงทาได้โดยหลีกเลี่ยงบริเวณที่เป็นมลพิษทางเสียงหรือสวมใส่ เครื่องป้องกัน
  • 12. 5 2. ทักษะ/กระบวนกำร/กระบวนกำรคิด 2.1 ทักษะทั่วไป 1. ทักษะการอภิปราย 2. ทักษะการจัดระบบความคิดเป็นแผนภาพ 2.2 ทักษะเฉพำะ 1. ทักษะการสังเกต 2. ทักษะการเปรียบเทียบ 3. ทักษะการคิดวิเคราะห์ 4. ทักษะการจาแนกประเภท 5. ทักษะการสื่อความหมาย 6. ทักษะการกาหนดและควบคุมตัวแปร 7. ทักษะการตั้งสมมติฐาน 8. ทักษะการสรุปผล 3. ด้ำนเจตคติทำงวิทยำศำสตร์ - สนใจใฝ่รู้ อยากรู้อยากเห็น รับผิดชอบ มุ่งมั่น อดทนเพียรพยายาม มีเหตุผล มีระเบียบ รอบคอบ ซื่อสัตย์ ใจกว้าง 4. คำถำมท้ำทำย 1. การถ่ายทอดพลังงานของคลื่นด้วยการสั่นมีผลอย่างไรต่อตัวกลางที่คลื่นผ่านไป 2. เมื่อคลื่นเคลื่อนที่ไปพบสิ่งกีดขวางจะมีลักษณะอย่างไร 3. คลื่นมีการหักเหอย่างไร 4. ปรากฏการณ์ในชีวิตประจาวันที่เกี่ยวข้องกับการหักเหของคลื่นมีอะไรบ้าง 5. เมื่อคลื่นเคลื่อนที่มาเจอสิ่งกีดขวางจะเกิดอะไรขึ้น 6. การเลี้ยวเบนของคลื่นมีลักษณะอย่างไร 7. หลักของฮอยเกนส์มีความสาคัญอย่างไร 8. เมื่อคลื่นเคลื่อนที่มาพบกันจะมีสิ่งใดเกิดขึ้นอย่างไร 9. การแทรกสอดของคลื่นมีลักษณะอย่างไร 10. บีตส์คืออะไรและมีลักษณะอย่างไร 11. เสียงเกิดขึ้นได้อย่างไร 12. ธรรมชาติของเสียงมีอะไรบ้าง 13. ระดับเสียงหมายถึงอะไร 14. คุณภาพเสียงหมายถึงอะไร 15. ความดังหมายถึงอะไร
  • 13. 6 16. มลพิษทางเสียงหมายถึงอะไร ขั้นที่ 2 กำหนดหลักฐำนหรือร่องรอยของกำรเรียนรู้/ควำมเข้ำใจ 5. ชิ้นงำน/ภำระงำน 1. ผังมโนทัศน์ เรื่อง องค์ประกอบของคลื่น 2. รายงานการสืบค้นเรื่อง ชนิดของคลื่น 3. ผังมโนทัศน์ เรื่อง ชนิดของคลื่น 4. ผังมโนทัศน์ เรื่อง การสะท้อนของคลื่น 5. ผังมโนทัศน์ เรื่อง การหักเหของคลื่น 6. ผังมโนทัศน์ เรื่อง การเลี้ยวเบนของคลื่น 7. ผังมโนทัศน์ เรื่อง การแทรกสอดของคลื่น 8. Blog เรื่อง คลื่นกล 9. ผังมโนทัศน์ เรื่อง การเกิดเสียง 10. ผังมโนทัศน์ เรื่อง ธรรมชาติของเสียง 11. รายงานการสืบค้น เรื่อง ธรรมชาติของเสียง 12. ผังมโนทัศน์ เรื่อง บีตส์ของเสียง 13. นิทรรศการมลพิษทางเสียงใกล้ตัว 14. Blog เรื่อง เสียง 6. กำรประเมินผล - แบบสังเกตการปฏิบัติการทดลอง - แบบประเมินใบงาน - แบบประเมินการสืบค้น - แบบประเมินการจัดนิทรรศการ - แบบประเมินผังมโนทัศน์ - แบบประเมิน Blog - แบบสังเกตเจตคติทางวิทยาศาสตร์ - แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ - แบบประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
  • 14. 7 แบบสังเกตกำรปฏิบัติกำรทดลอง เรื่อง.......................................................................... เลขที่ ชื่อ-สกุล กลุ่ม คะแนนแต่ละรำยกำรประเมิน คะแนนรวม(24) การทดลองหรือ ทากิจกรรมตาม แผนที่กาหนด การใช้อุปกรณ์ และ/หรือ เครื่องมือ การบันทึกผลการ ทดลองหรือทา กิจกรรม การจัดกระทา ข้อมูลและการ นาเสนอ การสรุปผลการ ทดลองหรือการ ทากิจกรรม การดูแลและการ เก็บอุปกรณ์และ/ หรือเครื่องมือ ลงชื่อ ผู้ประเมิน (.........................................................) ........../................/..............
  • 15. 8 เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบกำรประเมินกำรปฏิบัติกำรทดลองหรือทำกิจกรรม รำยกำร ประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 1. การทดลอง หรือทา กิจกรรมตาม แผนที่กาหนด ทดลองหรือทากิจกรรม ตามวิธีการและขั้นตอนที่ กาหนดไว้อย่างถูกต้อง ด้วยตนเอง ทดลองหรือทากิจกรรมตาม วิธีการและขั้นตอนที่กาหนดไว้ ด้วยตนเอง มีการปรับปรุง แก้ไขบ้าง ทดลองหรือทากิจกรรมตาม วิธีการและขั้นตอนที่กาหนด ไว้โดยมีครู หรือผู้อื่นเป็นผู้ แนะนา ทดลองหรือทากิจกรรมไม่ ถูกต้องตามวิธีการและ ขั้นตอนที่กาหนดไว้ไม่มี การปรับปรุงแก้ไข 2. การใช้ อุปกรณ์และ/ หรือเครื่องมือ ใช้อุปกรณ์และ/หรือ เครื่องมือในการทดลอง หรือทากิจกรรมได้อย่าง ถูกต้องตามหลักการ ปฏิบัติและคล่องแคล่ว ใช้อุปกรณ์และ/หรือเครื่องมือ ในการทดลองหรือทากิจกรรม ได้อย่างถูกต้องตามหลักการ ปฏิบัติแต่ไม่คล่องแคล่ว ใช้อุปกรณ์และ/หรือ เครื่องมือในการทดลองหรือ ทากิจกรรมได้อย่างถูกต้อง โดยมีครู หรือผู้อื่นเป็นผู้ แนะนา ใช้อุปกรณ์และ/หรือ เครื่องมือในการทดลอง หรือทากิจกรรมไม่ถูกต้อง และไม่มีความคล่องแคล่ว ในการใช้ 3. การบันทึก ผลการทดลอง หรือทา กิจกรรม บันทึกผลเป็นระยะอย่าง ถูกต้อง มีระเบียบ มีการ ระบุหน่วย มีการอธิบาย ข้อมูลให้เห็นความ เชื่อมโยงเป็นภาพรวม เป็นเหตุเป็นผล และ เป็นไปตามการทดลอง หรือทากิจกรรม บันทึกผลเป็นระยะอย่าง ถูกต้อง มีระเบียบ มีการระบุ หน่วย มีการอธิบายข้อมูลให้ เห็นความสัมพันธ์เป็นไปตาม การทดลองหรือทากิจกรรม บันทึกผลเป็นระยะแต่ไม่เป็น ระเบียบ ไม่มีการระบุหน่วย และไม่มีการอธิบายข้อมูลให้ เห็นถึงความสัมพันธ์ของการ ทดลองหรือทากิจกรรม บันทึกผลไม่ครบ ไม่มีการ ระบุหน่วยและไม่เป็นไป ตามการทดลองหรือทา กิจกรรม 4. การจัด กระทาข้อมูล และการ นาเสนอ จัดกระทาข้อมูลอย่างเป็น ระบบ มีการเชื่อมโยงให้ เห็นเป็นภาพรวม และ นาเสนอด้วยแบบต่าง ๆ อย่างชัดเจน ถูกต้อง จัดกระทาข้อมูลอย่างเป็น ระบบ มีการจาแนกข้อมูลให้ เห็นความสัมพันธ์นาเสนอด้วย แบบต่าง ๆ ได้แต่ยังไม่ชัดเจน จัดกระทาข้อมูลอย่างเป็น ระบบ มีการยกตัวอย่าง เพิ่มเติมและนาเสนอด้วย แบบต่าง ๆ แต่ยังไม่ชัดเจน และไม่ถูกต้อง จัดกระทาข้อมูลอย่างไม่ เป็นระบบและมีการ นาเสนอไม่สื่อความหมาย และไม่ชัดเจน 5. การสรุปผล การทดลอง หรือการทา กิจกรรม สรุปผลการทดลองหรือ ทากิจกรรมได้อย่าง ถูกต้อง กระชับ ชัดเจน และครอบคลุมข้อมูลจาก การวิเคราะห์ทั้งหมด สรุปผลการทดลองหรือทา กิจกรรมได้ถูกต้อง แต่ยังไม่ ครอบคลุมข้อมูลจากการ วิเคราะห์ทั้งหมด สรุปผลการทดลองหรือทา กิจกรรมได้ โดยมีครูหรือ ผู้อื่นแนะนาบ้าง จึงสามารถ สรุปได้ถูกต้อง สรุปผลการทดลองหรือทา กิจกรรมตามความรู้ที่พอมี อยู่โดยไม่ใช้ข้อมูลจากการ ทดลองหรือทากิจกรรม
  • 16. 9 รำยกำร ประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 6. การดูแล และการเก็บ อุปกรณ์และ/ หรือเครื่องมือ ดูแลอุปกรณ์และ/หรือ เครื่องมือในการทดลอง หรือทากิจกรรมและมี การทาความสะอาดและ เก็บอย่างถูกต้องตาม หลักการ ดูแลอุปกรณ์และ/หรือ เครื่องมือในการทดลองหรือทา กิจกรรมและมีการทาความ สะอาดอย่างถูกต้องแต่เก็บไม่ ถูกต้อง ดูแลอุปกรณ์และ/หรือ เครื่องมือในการทดลองหรือ ทากิจกรรมและมีการทา ความสะอาดแต่เก็บไม่ ถูกต้องให้ครูหรือผู้อื่น แนะนา ไม่ดูแลอุปกรณ์และ/หรือ เครื่องมือในการทดลอง หรือทากิจกรรมและไม่ สนใจ ทาความสะอาด รวมทั้งเก็บไม่ถูกต้อง เกณฑ์กำรประเมิน/ระดับคุณภำพ คะแนนรวม 20-24 หมายถึง ดีมาก คะแนนรวม 15-19 หมายถึง ดี คะแนนรวม 10–14 หมายถึง พอใช้ คะแนนรวม 6 – 9 หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรผ่ำน ตั้งแต่ 15 คะแนนขึ้นไป (ผ่ำนเกณฑ์ร้อยละ 60)
  • 18. 11 เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบประเมินใบงำน รำยกำร ประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 1. การเขียน คาถามก่อน การทดลอง ระบุปัญหาและตั้งสมมติฐาน สอดคล้องกับการทดลอง ถูกต้องสมบูรณ์ ระบุปัญหาและตั้งสมมติฐาน สอดคล้องกับการทดลอง ถูกต้องบางส่วน ระบุปัญหาและตั้งสมมติฐาน สอดคล้องกับการทดลอง แต่ ไม่สมบูรณ์ ระบุปัญหาและ ตั้งสมมติฐานไม่สอดคล้อง กับการทดลอง และไม่ ถูกต้อง 2. การบันทึก ผลการ ทดลอง ออกแบบรูปแบบการบันทึก ผลการทดลองเหมาะสม และบันทึกผลการทดลองได้ ถูกต้องสมบูรณ์ ออกแบบรูปแบบการบันทึก ผลการทดลองเหมาะสม และบันทึกผลการทดลองได้ ถูกต้องบางส่วน ออกแบบรูปแบบการบันทึก ผลการทดลองไม่เหมาะสม แต่บันทึกผลการทดลองได้ ถูกต้องบางส่วน ออกแบบรูปแบบการ บันทึกผลการทดลองไม่ เหมาะสมและบันทึกผล การทดลองไม่ถูกต้อง 3. การตอบ คาถามหลัง การทดลอง ตอบคาถามหลังการทดลอง ถูกต้องและสมบูรณ์ ตอบคาถามหลังการทดลอง ถูกต้องบางส่วน ตอบคาถามหลังการทดลอง ถูกต้องเป็นส่วนน้อย ตอบคาถามหลังการ ทดลองไม่ถูกต้องเลย 4. การ สรุปผลการ ทดลอง สรุปผลการทดลองได้อย่าง ถูกต้องสมบูรณ์ สรุปผลการทดลองได้ ถูกต้องบางส่วน สรุปผลการทดลองได้ ถูกต้องเป็นส่วนน้อย สรุปผลการทดลองไม่ ถูกต้องเลย เกณฑ์กำรประเมิน/ระดับคุณภำพ คะแนนรวม 14-16 หมายถึง ดีมาก คะแนนรวม 11-13 หมายถึง ดี คะแนนรวม 8–10 หมายถึง พอใช้ คะแนนรวม 4–7 หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรผ่ำน ตั้งแต่ 10 คะแนนขึ้นไป (ผ่ำนเกณฑ์ร้อยละ 60)
  • 19. 12 แบบประเมินกำรสืบค้น เรื่อง.......................................................................... เลขที่ ชื่อ-สกุล กลุ่ม คะแนนแต่ละรำยกำรประเมิน คะแนนรวม(20) การวางแผนค้นคว้า ข้อมูลจากแหล่ง เรียนรู้ การเก็บรวบรวม ข้อมูล การจัดกระทาข้อมูล และการนาเสนอ การสรุปผล การเขียนรายงาน ลงชื่อ ผู้ประเมิน (.........................................................) ........../................/..............
  • 20. 13 เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบกำรประเมินกำรสืบค้น รำยกำร ประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 1. การ วางแผน ค้นคว้าข้อมูล จากแหล่ง เรียนรู้ วางแผนที่จะค้นคว้าข้อมูลจาก แหล่งเรียนรู้ที่หลากหลาย น่าเชื่อถือ และมีการเชื่อมโยงให้ เห็นเป็นภาพรวมแสดงให้เห็นถึง ความสัมพันธ์ของวิธีการทั้งหมด วางแผนที่จะค้นคว้าข้อมูล จากแหล่งเรียนรู้ที่ หลากหลาย และเหมาะสม แต่ไม่มีการเชื่อมโยงให้เห็น เป็นภาพรวม วางแผนที่จะค้นคว้าข้อมูล จากแหล่งเรียนรู้โดยมีครู หรือผู้อื่นแนะนาบ้าง ไม่มีการวางแผนที่จะ ค้นคว้าข้อมูลจาก แหล่งเรียนรู้อย่าง เป็นระบบ 2. การเก็บ รวบรวมข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูลตามแผนที่ กาหนดทุกประการ เก็บรวบรวมข้อมูลโดย คัดเลือกและ/หรือประเมิน ข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูลโดยไม่ มีการคัดเลือกและ/หรือ ประเมินข้อมูล เก็บรวบรวมข้อมูล เป็นระยะ ขาดการ ประเมินเพื่อคัดเลือก 3. การจัด กระทาข้อมูล และการ นาเสนอ จัดกระทาข้อมูลอย่างเป็นระบบ มีการเชื่อมโยงให้เห็นเป็น ภาพรวม และนาเสนอด้วยแบบ ต่าง ๆ อย่างชัดเจนถูกต้อง จัดกระทาข้อมูลอย่างเป็น ระบบ มีการจาแนกข้อมูล ให้เห็นความสัมพันธ์ นาเสนอด้วยแบบต่าง ๆ ได้ อย่างถูกต้อง จัดกระทาข้อมูลอย่างเป็น ระบบ มีการยกตัวอย่าง เพิ่มเติมให้เข้าใจง่าย และ นาเสนอด้วยแบบต่าง ๆ แต่ยังไม่ถูกต้อง จัดกระทาข้อมูล อย่างไม่เป็นระบบ และนาเสนอไม่สื่อ ความหมายและไม่ ชัดเจน 4. การสรุปผล สรุปผลได้อย่างถูกต้องกระชับ ชัดเจน และครอบคลุม มีเหตุผล ที่อ้างอิงจากการสืบค้นได้ สรุปผลได้อย่างกระชับ แต่ ยังไม่ชัดเจนและไม่ ครอบคลุมข้อมูลจากการ วิเคราะห์ทั้งหมด สรุปผลได้กระชับ กะทัดรัดแต่ไม่ชัดเจน สรุปผลโดยไม่ใช้ ข้อมูล และไม่ถูกต้อง 5. การเขียน รายงาน เขียนรายละเอียดตรงตาม จุดประสงค์ถูกต้องและชัดเจน และมีการเชื่อมโยงให้เห็นเป็น ภาพรวม เขียนรายงานตรงตาม จุดประสงค์อย่างถูกต้อง และชัดเจน แต่ขาดการ เรียบเรียง เขียนรายงานโดยสื่อ ความหมายได้ โดยมีครู หรือผู้อื่นแนะนา เขียนรายงานได้ตาม ตัวอย่าง แต่ใช้ภาษา ไม่ถูกต้อง และไม่ ชัดเจน เกณฑ์กำรประเมิน/ระดับคุณภำพ คะแนนรวม 17-20 หมายถึง ดีมาก คะแนนรวม 13-16 หมายถึง ดี คะแนนรวม 9-12 หมายถึง พอใช้ คะแนนรวม 5- 8 หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรผ่ำน ตั้งแต่ 12 คะแนนขึ้นไป (ผ่ำนเกณฑ์ร้อยละ 60)
  • 21. 14 แบบประเมินกำรจัดนิทรรศกำร เรื่อง.......................................................................... เลขที่ ชื่อ-สกุล กลุ่ม คะแนน หมำยเหตุ ลงชื่อ ผู้ประเมิน (.........................................................) ........../................/..............
  • 22. 15 เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบกำรประเมินกำรจัดกระทำและนำเสนอนิทรรศกำร รำยกำร ประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 การจัด กระทาและ นาเสนอ นิทรรศการ รวบรวมข้อมูลและจัด กระทานิทรรศการ อย่างเป็นระบบ และ นาเสนอด้วยแบบที่ ชัดเจน ถูกต้อง ครอบคลุมและมีการ เชื่อมโยงให้เห็น ภาพรวม รวบรวมข้อมูลและจัด กระทานิทรรศการอย่าง เป็นระบบ มีการจาแนก ข้อมูลให้เห็น ความสัมพันธ์และ นาเสนอด้วยแบบที่ ถูกต้องครอบคลุม รวบรวมข้อมูลและ จัดกระทา นิทรรศการได้ มีการ ยกตัวอย่างเพิ่มเติม และนาเสนอด้วย แบบต่าง ๆ แต่ยังไม่ ครอบคลุม รวบรวมข้อมูลและ จัดกระทา นิทรรศการอย่างไม่ เป็นระบบและ นาเสนอไม่สื่อ ความหมายและไม่ ชัดเจน เกณฑ์กำรประเมิน/ระดับคุณภำพ คะแนนรวม 4 หมายถึง ดีมาก คะแนนรวม 3 หมายถึง ดี คะแนนรวม 2 หมายถึง พอใช้ คะแนนรวม 1 หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรผ่ำน ตั้งแต่ 3 คะแนนขึ้นไป (ผ่ำนเกณฑ์ร้อยละ 60)
  • 23. 16 แบบประเมินผังมโนทัศน์ เรื่อง.......................................................................... เลขที่ ชื่อ-สกุล กลุ่ม คะแนน หมำยเหตุ ลงชื่อ ผู้ประเมิน (.........................................................) ........../................/..............
  • 24. 17 เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบกำรประเมินกำรจัดกระทำและนำเสนอผังมโนทัศน์ รำยกำร ประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 การจัดกระทา และนาเสนอผัง มโนทัศน์ จัดกระทาผังมโนทัศน์ อย่างเป็นระบบ และ นาเสนอด้วยแบบที่ ชัดเจน ถูกต้อง ครอบคลุม และมีการ เชื่อมโยงให้เห็นเป็น ภาพรวม จัดกระทาผังมโนทัศน์ อย่างเป็นระบบ มีการ จาแนกข้อมูลให้เห็น ความสัมพันธ์และ นาเสนอด้วยแบบที่ ครอบคลุม จัดกระทาผังมโนทัศน์ ได้ มีการยกตัวอย่าง เพิ่มเติมและนาเสนอ ด้วยแบบต่าง ๆ แต่ยัง ไม่ครอบคลุม จัดกระทาผังมโนทัศน์ อย่างไม่เป็นระบบและ นาเสนอไม่สื่อ ความหมายและไม่ ชัดเจน เกณฑ์กำรประเมิน/ระดับคุณภำพ คะแนนรวม 4 หมายถึง ดีมาก คะแนนรวม 3 หมายถึง ดี คะแนนรวม 2 หมายถึง พอใช้ คะแนนรวม 1 หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรผ่ำน ตั้งแต่ 3 คะแนนขึ้นไป (ผ่ำนเกณฑ์ร้อยละ 60)
  • 25. 18 แบบประเมิน Blog เรื่อง.......................................................................... เลขที่ ชื่อ-สกุล กลุ่ม คะแนนแต่ละรำยกำรประเมิน คะแนนรวม(20) ความครบถ้วนของ เนื้อหาสาระ ความถูกต้องของ เนื้อหาสาระ ความถูกต้อง เหมาะสมของภาษา จานวนแหล่งข้อมูลที่ ค้นคว้าหรืออ้างอิง รูปแบบการนาเสนอ ลงชื่อ ผู้ประเมิน (.........................................................) ........../................/..............
  • 26. 19 เกณฑ์กำรให้คะแนนแบบกำรประเมิน Blog รำยกำร ประเมิน ระดับคะแนน 4 3 2 1 1. ความ ครบถ้วนของ เนื้อหาสาระ มีเนื้อหาสาระครบถ้วน ตรงตามประเด็นที่ กาหนดทั้งหมด มีเนื้อหาสาระค่อนข้าง ครบถ้วน ตรงตาม ประเด็นที่กาหนด ทั้งหมด มีเนื้อหาสาระไม่ ครบถ้วน ตรงตาม ประเด็น แต่ภาพรวม ของสาระทั้งหมดอยู่ใน เกณฑ์พอใช้ มีเนื้อหาสาระไม่ ครบถ้วน ภาพรวมของ สาระทั้งหมดอยู่ใน เกณฑ์ต้องปรับปรุง 2. ความถูกต้อง ของเนื้อหาสาระ เนื้อหาสาระทั้งหมด ความถูกต้องตาม ข้อเท็จจริงและหลักวิชา เนื้อหาสาระเกือบ ทั้งหมดความถูกต้อง ตามข้อเท็จจริงและ หลักวิชา เนื้อหาสาระบางส่วน ถูกต้องตามข้อเท็จจริง และหลักวิชา แต่ต้อง แก้ไขบางส่วน เนื้อหาสาระส่วนใหญ่ ไม่ถูกต้องตาม ข้อเท็จจริงและหลัก วิชาต้องแก้ไขเป็นส่วน ใหญ่ 3. ความถูกต้อง เหมาะสมของ ภาษา สะกดการันต์ถูกต้อง ถ้อยคาสานวนเหมาะสม ดีมาก ลาดับความได้ ชัดเจนเข้าใจง่าย สะกดการันต์ถูกต้อง เป็นส่วนใหญ่ ถ้อยคา สานวนเหมาะสมดีมาก ลาดับความได้พอใช้ สะกดการันต์มีผิดอยู่บ้าง ถ้อยคาสานวนเหมาะสม พอใช้ ลาดับความพอ เข้าใจ สะกดการันต์ผิดมาก ถ้อยคาสานวนไม่ เหมาะสม ลาดับความ ได้ไม่ชัดเจน 4. จานวน แหล่งข้อมูลที่ ค้นคว้า หรือ อ้างอิง ค้นคว้าจากแหล่งการ เรียนรู้ที่หลากหลาย ตั้งแต่ 4 แหล่งขึ้นไป ค้นคว้าจากแหล่งการ เรียนรู้ 3 แหล่ง ค้นคว้าจากแหล่งการ เรียนรู้ 2 แหล่ง ค้นคว้าจากแหล่งการ เรียนรู้เพียงแหล่งการ เรียนรู้เดียว 5. รูปแบบการ นาเสนอ รูปแบบการนาเสนองาน แปลกใหม่ น่าสนใจดี ลาดับเรื่องราวได้ดีมาก รูปแบบการนาเสนอ งานน่าสนใจ ลาดับ เรื่องราวได้ดี รูปแบบการนาเสนองาน น่าสนใจพอใช้ ลาดับ เรื่องราวได้พอใช้ รูปแบบการนาเสนอ งานไม่น่าสนใจ ลาดับ เรื่องราวได้ไม่ดี เกณฑ์กำรประเมิน/ระดับคุณภำพ คะแนนรวม 17-20 หมายถึง ดีมาก คะแนนรวม 13-16 หมายถึง ดี คะแนนรวม 9-12 หมายถึง พอใช้ คะแนนรวม 5- 8 หมายถึง ปรับปรุง เกณฑ์กำรผ่ำน ตั้งแต่ 12 คะแนนขึ้นไป (ผ่ำนเกณฑ์ร้อยละ 60)
  • 27. 20 แบบสังเกตเจตคติทำงวิทยำศำสตร์ ครั้งที่ .... เลขที่ ชื่อ-สกุล กลุ่ม คะแนนแต่ละรำยกำรประเมิน คะแนนรวม(24) ความสนใจใฝ่รู้หรือความ อยากรู้อยากเห็น ความรับผิดชอบความ มุ่งมั่นอดทนและเพียร พยายาม ความมีเหตุผล ความมีระเบียบรอบคอบ เห็นคุณค่าของความมี ระเบียบและรอบคอบ ความซื่อสัตย์เสนอความ จริงถึงแม้จะเป็นผลที่ แตกต่างจากผู้อื่น ความใจกว้างร่วมแสดง ความคิดเห็นและรับฟัง ความคิดเห็นของผู้อื่น ลงชื่อ ผู้ประเมิน (.........................................................) ........../................/..............
  • 28. 21 เกณฑ์กำรประเมินเจตคติทำงวิทยำศำสตร์ รำยกำรประเมิน ระดับพฤติกรรมกำรแสดงออก มำก (4) ปำนกลำง (3) น้อย (2) ไม่แสดงออก (1) 1. ควำมสนใจใฝ่รู้หรือควำมอยำกรู้อยำกเห็น - มีความสนใจและพอใจใคร่สืบเสาะแสวงหาความรู้ใน สถานการณ์และปัญหาใหม่ ๆ อยู่เสมอ - มีความกระตือรือร้นต่อกิจกรรมและเรื่องต่าง ๆ - ชอบทดลองค้นคว้า - ชอบสนทนา ซักถาม ฟัง อ่าน เพื่อให้ได้รับความรู้เพิ่มขึ้น มีพฤติกรรมการ แสดงออกอย่าง สม่าเสมอ ตลอดเวลา มีพฤติกรรมการ แสดงออกเป็น ครั้งคราว มีพฤติกรรม การแสดงออก น้อยครั้ง ไม่มีพฤติกรรม การแสดงออก เลย 2. ควำมรับผิดชอบ ควำมมุ่งมั่น อดทน และเพียร พยำยำม - ยอมรับผลการกระทาของตนเองทั้งที่เป็นผลดีและผลเสีย - ทางานที่ได้รับมอบหมายให้สมบูรณ์ตามกาหนดและตรง ต่อเวลา - เว้นการกระทาอันเป็นผลเสียหายต่อส่วนรวม - ทางานเต็มความสามารถ - ไม่ท้อถอยในการทางาน เมื่อมีอุปสรรคหรือล้มเหลว - มีความอดทนแม้การดาเนินการแก้ปัญหาจะยุ่งยากและใช้ เวลา มีพฤติกรรมการ แสดงออกอย่าง สม่าเสมอ ตลอดเวลา มีพฤติกรรมการ แสดงออกเป็น ครั้งคราว มีพฤติกรรม การแสดงออก น้อยครั้ง ไม่มีพฤติกรรม การแสดงออก เลย 3. ควำมมีเหตุผล - ยอมรับในคาอธิบายเมื่อมีหลักฐานหรือข้อมูลสนับสนุน อย่างเพียงพอ - พยายามอธิบายสิ่งต่าง ๆ ในแง่เหตุและผล ไม่เชื่อโชคลาง หรือคาทานายที่ไม่สามารถอธิบายตามวิธีทางวิทยาศาสตร์ ได้ - อธิบายหรือแสดงความคิดเห็นอย่างมีเหตุผล - ตรวจสอบความถูกต้องหรือความสมเหตุสมผลของแนวคิด ต่าง ๆ กับแหล่งข้อมูลที่เชื่อถือได้ - รวบรวมข้อมูลอย่างเพียงพอก่อนจะลงข้อสรุปเรื่องราวต่าง ๆ มีพฤติกรรมการ แสดงออกอย่าง สม่าเสมอ ตลอดเวลา มีพฤติกรรมการ แสดงออกเป็น ครั้งคราว มีพฤติกรรม การแสดงออก น้อยครั้ง ไม่มีพฤติกรรม การแสดงออก เลย
  • 29. 22 รำยกำรประเมิน ระดับพฤติกรรมกำรแสดงออก มำก (4) ปำนกลำง (3) น้อย (2) ไม่แสดงออก (1) 4. ควำมมีระเบียบรอบคอบเห็นคุณค่ำของควำมมีระเบียบ และรอบคอบ - นาวิธีหลาย ๆ วิธี มาตรวจสอบผลหรือวิธีการทดลอง - มีความละเอียดถี่ถ้วนในการทางาน - มีการวางแผนในการทางานและจัดระบบทางาน - ตรวจสอบความเรียบร้อยหรือคุณภาพของเครื่องมือก่อน ทาการทดลอง - ทางานได้อย่างมีระเบียบและเรียบร้อย มีพฤติกรรมการ แสดงออกอย่าง สม่าเสมอ ตลอดเวลา มีพฤติกรรมการ แสดงออกเป็น ครั้งคราว มีพฤติกรรม การแสดงออก น้อยครั้ง ไม่มีพฤติกรรม การแสดงออก เลย 5. ควำมซื่อสัตย์เสนอควำมจริงถึงแม้จะเป็นผลที่แตกต่ำง จำกผู้อื่น - เห็นคุณค่าของการเสนอข้อมูลตามความจริง - บันทึกข้อมูลตามความจริง และไม่ใช้ความคิดเห็นของ ตนเองไปเกี่ยวข้อง - ไม่แอบอ้างผลงานของผู้อื่นว่าเป็นของตนเอง มีพฤติกรรมการ แสดงออกอย่าง สม่าเสมอ ตลอดเวลา มีพฤติกรรมการ แสดงออกเป็น ครั้งคราว มีพฤติกรรม การแสดงออก น้อยครั้ง ไม่มีพฤติกรรม การแสดงออก เลย 6. ควำมใจกว้ำง ร่วมแสดงควำมคิดเห็นและรับฟังควำม คิดเห็นของผู้อื่น - รับฟังคาวิพากษ์วิจารณ์ ข้อโต้แย้ง หรือข้อคิดเห็นที่มี เหตุผลของผู้อื่น - ไม่ยึดมั่นในความคิดเห็นของตนเอง และยอมรับการ เปลี่ยนแปลง - รับฟังความคิดเห็นที่ตนเองยังไม่เข้าใจและพร้อมที่จะทา ความเข้าใจ -ยอมพิจารณาข้อมูลหรือความคิดที่ยังสรุปแน่นอนไม่ได้ และพร้อมที่จะหาข้อมูลเพิ่มเติม มีพฤติกรรมการ แสดงออกอย่าง สม่าเสมอ ตลอดเวลา มีพฤติกรรมการ แสดงออกเป็น ครั้งคราว มีพฤติกรรม การแสดงออก น้อยครั้ง ไม่มีพฤติกรรม การแสดงออก เลย เกณฑ์กำรประเมิน/ระดับคุณภำพ คะแนนรวม 20-24 หมายถึง มาก คะแนนรวม 15-19 หมายถึง ปานกลาง คะแนนรวม 10–14 หมายถึง น้อย คะแนนรวม 6 – 9 หมายถึง ไม่แสดงออก เกณฑ์กำรผ่ำน ตั้งแต่ 15 คะแนนขึ้นไป (ผ่ำนเกณฑ์ร้อยละ 60)
  • 30. 23 แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประกำร กลุ่มสำระกำรเรียนรู้......................................................ภำคเรียนที่...........ปีกำรศึกษำ.............. ชื่อ-สกุลนักเรียน.....................................................................ชั้น..............................เลขที่……. คำชี้แจง: ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของนักเรียน แล้วขีด  ลงในช่องว่างที่ตรงกับระดับคะแนน คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ รำยกำรประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 0 1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 1.1 ยืนตรงเมื่อได้ยินเพลงชาติ ร้องเพลงชาติได้ และบอกความหมายของเพลง ชาติ 1.2 ปฏิบัติตนตามสิทธิและหน้าที่ของนักเรียน ให้ความร่วมมือ ร่วมใจ ในการ ทางานกับสมาชิกในห้องเรียน 1.3 เข้าร่วมกิจกรรมที่สร้างความสามัคคี ปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อ โรงเรียนและชุมชน 1.4 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตนตามหลักของศาสนาและ เป็นตัวอย่างที่ดีของศาสนิกชน 1.5 เข้าร่วมกิจกรรมและมีส่วนร่วมในการจัดกิจกรรมที่เกี่ยวกับสถาบัน พระมหากษัตริย์ตามที่โรงเรียนและชุมชนจัดขึ้น ชื่นชมในพระราชกรณียกิจ พระปรีชาสามารถของพระมหากษัตริย์และพระราชวงศ์ 2. ซื่อสัตย์ สุจริต 2.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง 2.2 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง ละอาย และเกรงกลัวที่จะทาความผิด ทาตามสัญญา ที่ตนให้ไว้กับพ่อแม่หรือผู้ปกครอง และครู 2.3 ปฏิบัติตนต่อผู้อื่นด้วยความซื่อตรง และเป็นแบบอย่างที่ดีแก่เพื่อน ด้าน ความซื่อสัตย์ 3. มีวินัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัวและ โรงเรียน มีความตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ใน ชีวิตประจาวันมีความรับผิดชอบ
  • 31. 24 คุณลักษณะ อันพึงประสงค์ รำยกำรประเมิน ระดับคะแนน 3 2 1 0 4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 ตั้งใจเรียน 4.2 เอาใจใส่ในการเรียน และมีความเพียรพยายามในการเรียน 4.3 เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ต่าง ๆ 4.4 ศึกษาค้นคว้า หาความรู้จากหนังสือ เอกสาร สิ่งพิมพ์ สื่อเทคโนโลยีต่าง ๆ แหล่งการเรียนรู้ทั้งภายในและภายนอกโรงเรียน และเลือกใช้สื่อได้อย่าง เหมาะสม 4.5 บันทึกความรู้ วิเคราะห์ ตรวจสอบบางสิ่งที่เรียนรู้ สรุปเป็นองค์ความรู้ 4.6 แลกเปลี่ยนความรู้ ด้วยวิธีการต่าง ๆ และนาไปใช้ในชีวิตประจาวัน 5. อยู่อย่าง พอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินและสิ่งของของโรงเรียนอย่างประหยัด 5.2 ใช้อุปกรณ์การเรียนอย่างประหยัดและรู้คุณค่า 5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยัดและมีการเก็บออมเงิน 6. มุ่งมั่นในการ ทางาน 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการทางานที่ได้รับมอบหมาย 6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานสาเร็จ 7. รักความเป็น ไทย 7.1 มีจิตสานึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย 7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย 8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูทางาน 8.2 อาสาทางาน ช่วยคิด ช่วยทา และแบ่งปันสิ่งของให้ผู้อื่น 8.3 รู้จักการดูแล รักษาทรัพย์สมบัติและสิ่งแวดล้อมของห้องเรียน โรงเรียน ชุมชน 8.4 เข้าร่วมกิจกรรมเพื่อสังคมและสาธารณประโยชน์ของโรงเรียน ลงชื่อ ผู้ประเมิน (..................................................) ............../.................../................ เกณฑ์กำรให้คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน ไม่เคยปฏิบัติพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน
  • 32. 25 สรุปผลกำรประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์ 8 ประกำร วิชำวิทยำศำสตร์ 5 รหัสวิชำ ว33101 ชั้นมัธยมศึกษำปีที่ 6/..... ภำคเรียนที่ 1 ปีกำรศึกษำ 2559 เลขที่ รำยชื่อนักเรียน ผลกำรประเมิน ดีเยี่ยม (3) ดี (2) ผ่าน (1) มผ. (0) สรุปผลกำรประเมินรำยชั้นเรียน  ดีเยี่ยม คิดเป็นร้อยละ............  ดี คิดเป็นร้อยละ............  ผ่ำน คิดเป็นร้อยละ............  ไม่ผ่ำน คิดเป็นร้อยละ............ ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน ลงชื่อ...................................................ผู้อนุมัติผล (นายพิพัฒน์พงษ์ สาจันทร์) (นายชาญชัย โรจนะ) ครูผู้สอน ผู้อานวยการโรงเรียนเทพลีลา
  • 33. 26 กำรประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน วิชำวิทยำศำสตร์ 5 (ว33101) กลุ่มสำระกำรเรียนรู้วิทยำศำสตร์ โรงเรียนเทพลีลำ สำนักงำนเขตพื้นที่กำรศึกษำมัธยมศึกษำ เขต 2 การประเมินสมรรถนะสาคัญของผู้เรียน กาหนดเป็นผ่านและไม่ผ่าน ในการผ่านกาหนดเกณฑ์ การตัดสินเป็นดีเยี่ยม ดี และผ่าน และความหมายของแต่ละระดับ ดังนี้ ดีเยี่ยม หมายถึง ผู้เรียนปฏิบัติตนตามสมรรถนะจนเป็นนิสัย และนาไปใช้ในชีวิตประจาวันเพื่อ ประโยชน์สุขของตนเองและสังคม โดยพิจารณาจากผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จานวน 3-5 สมรรถนะ และ ไม่มีสมรรถนะใดได้ผลการประเมินต่ากว่าระดับดี ดี หมายถึง ผู้เรียนมีสมรรถนะในการปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ เพื่อให้เป็นการยอมรับของสังคม โดยพิจารณาจาก 1) ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จานวน 1-2 สมรรถนะ และไม่มีสมรรถนะใดได้ผลการประเมิน ต่ากว่าระดับดี หรือ 2) ได้ผลการประเมินระดับดีเยี่ยม จานวน 2 สมรรถนะ และ ไม่มีสมรรถนะใดได้ผลการประเมิน ต่ากว่าระดับผ่าน หรือ 3) ได้ผลการประเมินระดับดี จานวน 4-5 สมรรถนะ และไม่มีสมรรถนะใดได้ผลการประเมินต่า กว่าระดับผ่าน ผ่ำน หมายถึง ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขที่สถานศึกษากาหนด โดยพิจารณาจาก 1) ได้ผลการประเมินระดับผ่าน จานวน 4-5 สมรรถนะ และไม่มีคุณลักษณะใดได้ผลการประเมินต่า กว่าระดับผ่าน หรือ 2) ได้ผลการประเมินระดับดี จานวน 2 สมรรถนะ และ ไม่มีสมรรถนะใดได้ผลการประเมินต่ากว่า ระดับผ่าน ไม่ผ่ำน หมายถึง ผู้เรียนรับรู้และปฏิบัติได้ไม่ครบตามกฎเกณฑ์และเงื่อนไขที่กาหนด โดยพิจารณา จากผลการประเมินระดับไม่ผ่าน ตั้งแต่ 1 สมรรถนะ เกณฑ์กำรให้คะแนนระดับคุณภำพ ดีเยี่ยม - พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน ดี - พฤติกรรมที่ปฏิบัติชัดเจนและบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน ผ่ำน - พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 1 คะแนน ไม่ผ่ำน - ไม่เคยปฏิบัติพฤติกรรม ให้ 0 คะแนน เกณฑ์กำรสรุปผล ดีเยี่ยม 13-15 คะแนน ดี 9-12 คะแนน ผ่ำน 1-8 คะแนน ไม่ผ่ำน 0 คะแนน