SlideShare a Scribd company logo
4.6 โมเมนต์ (Moment)
       โมเมนต์ คือ ผลหมุนของวัตถุมีขนาดเท่ากับ ผลคูณของแรงกับการขจัดจากจุดหมุนตั้งฉาก
กับแนวแรง เป็นปริมาณเวกเตอร์ มีทั้งขนาดและทิศทาง หน่วยของโมเมนต์คือนิวตันต่อตารางเมตร
ทิศทางของโมเมนต์ได้แก่ ทิศการเคลื่อนที่ของตะปูเกลียวนั่นเอง
       การหาโมเมนต์ แยกพิจารณาได้ 2 แบบ คือ
       4.6.1โมเมนต์เนื่องจากแรงใดๆ โดยทั่วไปการหาโมเมนต์เนื่องจากแรงใดๆ เรา
มักจะแตกแรงให้ตั้งฉากกับแนวคานที่กระทา ดังตัวอย่างในรูป ต้องการหาโมเมนต์รอบจุด O อัน
เนื่องจากแรง P กระทากับประแจเลื่อน




วิธีทา แตกแรง P ให้อยู่ในแนวราบและแนวดิ่ง
        ดังนั้น ผลรวมโมเมนต์รอบจุด O จะได้
        M  O
                  = (Pcos)l + (Psin)O
        M  O     = Plcos
        มีทิศพุ่งเข้ากระดาษ
       4.6.2โมเมนต์เนื่องจากแรงคู่ควบ โมเมนต์เนื่องจากแรงคู่ควบมีค่าเท่ากับผลคูณของ
แรงกับการขจัด ตั้งฉากระหว่างแนวแรงทั้งสอง
กาหนดให้คาน AB ยาว l ถูกกระทาด้วยแรงคู่ควบ P ต้องการหาโมเมนต์เนื่องจากแรงคู่ควบ




       ถ้าจุด O เป็นจุดที่อยู่ระหว่าง AB จะได้
       M   O  = P(AO) + P(OB)
       M   O  = P(AO+OB) = P.AB = P.l
มีทิศทวนเข็มนาฬิกา
        นั่นคือ โมเมนต์แรงคู่ควบมีค่าเท่ากับแรงคูณด้วยการขจัดตั้งฉากระหว่างแนวแรงทั้งสอง




                ถ้าจุด O เป็นจุดที่อยู่ภายนอก AB จะได้
                M   O
                        = P(OB) - P(AO)
                M   O
                        = P(OA+AB) - P(AO)
                        = P.AB             = P.l
                มีทิศทวนเข็มนาฬิกา
       แสดงว่าโมเมนต์แรงคู่ควบมีค่าเท่ากับแรงคูณด้วย การขจัดตั้งฉากระหว่างแนวแรงทั้งสอง
       ดังนั้นโมเมนต์จากแรงคู่ควบจึงเป็นโมเมนต์รอบจุดใดๆ ก็ได้ย่อมมีค่าเท่ากับแรงคูณด้วย
การขจัดระหว่างแนวแรงทั้งสอง


4.7สมดุลต่อการหมุน
        คือ สภาวะการไม่หมุนของวัตถุ ณ สภาวะนี้โมเมนต์ของวัตถุจะต้องมีค่าเท่ากับศูนย์
        สภาพสมดุล สภาพสมดุลที่สมบูรณ์ของวัตถุใด ๆ จะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่อวัตถุนั้นจะต้องไม่
เคลื่อนที่และไม่หมุน ดังนั้นวัตถุจะอยู่ในสภาวะสมดุลที่สมบูรณ์ได้ต่อมื่อเงื่อนไขของแรงและ
โมเมนต์จะเป็นศูนย์ (  F = 0,  M = 0)


4.8การคานวณสมดุลต่อการหมุนและการเคลื่อนที่
        โดยทั่วไปการสมดุลของโจทย์ในลักษณะนี้มักจะเป็นการสมดุลของระบบที่มีแนวแรงตัด
กันหลายจุด หรือเป็นการสมดุลของระบบที่ถูกกระทาด้วยแรงคู่ควบ การคานวณโจทย์ลักษณะนี้
ต้องใช้สมการคานวณ 3 สมการ คือ  M = 0,  F = 0 ,  F = 0 มีขั้นตอนการคานวณดังนี้
                                                       x        y


        1.หยิบวัตถุที่ต้องการหาแรงออกมาเขียนแรงกระทาต่างๆ ให้ครบ
        2.เลือก take moment รอบจุดที่ไม่ทราบค่าแรงมากที่สุดเสียก่อน
        3.คานวณหาค่าที่ต้องการจากสมการ  F = 0 และ  F = 0
                                               x            y


        4.ต้องการหาแรงปฏิกิริยาที่ใดให้รวมกันแบบ เวกเตอร์ได้
                 ขนาดของแรง R = R  R      2
                                           x
                                                   2
                                                   y
R
                ทิศทาง               tan =                     y

                                                         R      x




ตัวอย่างที่ 40 AC เป็นท่อนไม้ท่อนหนึ่งโตเท่ากันตลอดหนัก 30 กก. ที่ปลาย A มีบานพับยึดไม้ AC
นี้อยู่ในระดับนอนและที่ปลาย C มีลวดทามุม 600 กับไม้ ให้หาแรงดึงในลวดและแรงปฏิกิริยาของ
บานพับ




วิธีทา เขียนแรงกระทาทั้งหมดที่คาน AC
         เพราะจุด A มีแรงที่ไม่ทราบค่ามากที่สุด ดังนั้น Take โมเมนต์ที่ A
        MA     = 0 จะได้             (Tsin600)AC                       = 300 x   AC
                                                                                  2
                                                        T       3
                                                                        =   300
                                                            2                2
                                                       T                = 173.2 นิวตัน
        จาก  F = 0 จะได้
                x                                      RX               = Tcos600
        และ     Fy       = 0 จะได้ Tsin600 + R y = 300
                                         T       3
                                                       + R y = 300
                                             2
                             173 . 2 3
                                         + Ry                           = 300
                                 2

                                                       Ry               = 150
        RA =        Rx R
                      2      2
                             y   =    150
                                                 2
                                                      86 . 6
                                                                    2
                                                                        = 173.2 นิวตัน   ตอบ

ตัวอย่างที่ 41 ตามรูป xy เป็นแท่งไม้ยาว L มีขนาดสม่าเสมอและมีมวล m กรัม ปลายคานในยัน
กาแพงซึ่งมีสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน  ไว้เฉยๆ ในแนวตั้งได้ฉากกับกาแพงโดยการผูกปลาย
ด้านนอกไว้ด้วยเชือก y จงหามุม  อย่างเล็กสุด ที่ทาให้อยู่ในสมดุลได้พอดี
วิธีทา เขียนแรงที่คาน xy
         จาก  F = 0 จะได้
                     x                   Nx    = Tsin                    …………… (1)
         และ  M = 0 จะได้             Nx(xo) = (Tcos)(oy)
                                       Nx = Tcos                       …………… (2)
                (1) / (2)         1
                                      = tan
                                  

                                   = tan-1 1                             ตอบ
                                              



ตัวอย่างที่ 42 เสาสม่าเสมอต้นหนึ่งสูง 6 เมตร หนัก 120 กก. กว้างและหนาเท่ากันคือ 1 เมตร
วางตั้งอยู่บนพื้นดิน ชายคนหนึ่ งเอาเชือกคล้องที่ยอดเสาแล้ยืนอยู่ห่างโคนเสา 8 เมตร ถ้าเขาจะดึง
เชือกให้เสานั้นล้ม เขาจะต้องออกแรงดึงอย่างน้อยที่สุดเท่าใด




วิธีทา เขียนแรงกระทาทั้งหมดที่เสา
       เนื่องจากเสาล้มที่จุด D ดังนั้นแรงปฏิกิริยาของพื้นกระทาต่อเสา จึงเลือนมาอยู่ที่ D
       เนื่องจากที่ D มีแรงกระทามากที่สุด
        เพราะฉะนั้นให้      MD   = 0 จะได้       (Tsin) x 6     = 1200 x   1
                                                                             2

                                                  Tx   8
                                                            x6    = 600
                                                       10
                                                            T     = 125 นิวตัน
ตัวอย่างที่ 43 ถังหนักใบหนึ่งกว้าง 1 เมตร วางตั้ งบนพื้นระดับไม้คานเบายาว 3 เมตร ปลายบนมี
น้าหนักก้อนหนึ่งแขวนไว้ เมื่อคานอยู่ในภาวะสมดุล จงหามุมที่ไม้คานกระทากับแนวระดับ สมมติ
แรงเสียดทานที่คานกระทากับถังน้อยมาก




วิธีทา          เขียนแรงที่คาน
                MA         = 0 จะได้    R C(    1
                                                        )   = (Wcos)3
                                                cos 

                                                     RC  = 3Wcos2 ………….. (1)
                 Fy   = 0 จะได้RCcos               = W ………….. (2)
                (2) / (1)                            cos =             W
                                                                                    
                                                                                2
                                                                   3 W cos

                                                     cos3 =        1
                                                                    3

                                                     cos =    3
                                                                   1
                                                                   3

                                                           = cos-1     3
                                                                            1
                                                                                        ตอบ
                                                                            3



ตัวอย่างที่ 44 คานสม่าเสมอ AB ยาว 4 ฟุต หนัก 10 กก. ปลาย A ติดบานพับกับกาแพงที่จุด C
เหนือจุด A 4 ฟุต มีมวลดึงคานให้อยู่ในแนวระดับที่จุดซึ่งห่างจากจุด A เป็นระยะ 3 ฟุต ดังรูปมีก้อน
น้าหนัก 10 กก. ผูกที่ปลาย B จงหาแรงตึงในเชือกและแรงปฏิกิริยาที่ A
วิธีทา เขียนแรงที่กระทาที่คาน AB
                                    MA = 0
                                 3Tsin = (100 x 4) + (100 x 2)
                                 3Tx       4
                                                   = 600
                                           5
                                       T           = 250 นิวตัน
         Fx   = 0 จะได้ HA =                  Tcos         = 250 x      3
                                                                              = 150 นิวตัน
                                                                          5

         Fy   = 0 จะได้          VA + Tsin = 100 + 100
                                VA + (250 x 4 ) = 200
                                                   5
                                    VA                     = 0
               RA         =     VA  H A
                                   2           2
                                                       =     0  HA
                                                                      2



                RA         =     HA = 150 นิวตัน

ตัวอย่างที่ 45 รถบรรทุก 10 ล้อ มีการกระจายน้าหนักที่เพลาดังแสดงในรูป แรงปฏิกิริยาของตอม่อ
B จะมีค่าเท่ากับ




วิธีทา เขียนแรงกระทาที่คาน AB




       หาแรงที่ตอม่อ B จาก  M = 0 จะได้       A


                      20RB = 2 x 10 + 10 x 15 + 10 x 16
                           = 20 + 150 + 160
                           RB       =      33
                                                             นิวตัน                  ตอบ
                                           2
ตัวอย่างที่ 46 คาน ขค ยึดรั้งไว้ด้วยลวด กค คานวณหาแรงตึงในลวด กค เมื่อมีแรงกระทาใน
แนวดิ่งที่จุด ค P = 200 กิโลกรัม




วิธีทา พิจารณาแรงที่คาน ขค
         M  A  = 0 จะได้
     (Tsin300)L = 200 x L
         T
                 = 200
         2
         T       = 400 kg.

ตัวอย่างที่ 47 จากรูปที่กาหนดให้ จะต้องออกแรง F เท่าใดเพื่อที่จะยกรถเขนทรายที่บรรทุกทราย
หนัก 700 นิวตัน โดยตาแหน่งของน้าหนักปรากฏดังรูป ให้ตอบในเทอมของ a และ b




วิธีทา เขียนแรงกระทาที่รถ
         จากรูป  M = 0 จะได้
                     B


             F(a + b) = 700b
                 F       =   700 b
                             ab
ตัวอย่างที่ 48 คานสม่าเสมอยาว 8 เมตร หนัก 500 นิวตัน อยู่ในแนวระดับ โดยผูกเชือกห่างจาก
ปลายที่ติดบานพับ 3 เมตร ดังรูป ชายคนหนึ่งหนัก 500 นิวตันเดินบนคาน ถ้าเชือกรับแรงดึงได้
เต็มที่ 2000 นิวตัน ชายคนนี้จะเดินไปได้ไกลเท่าใดจึงปลอดภัย




วิธีทา เขียนแรงที่กระทาที่คานดังรูป และให้คนเดินห่างจาก A = X
                      จากรูป  M = 0 จะได้
                                    A


                      500X + 500x 4 = (Tsin530)x 3
                      500X + 2000       = 2000 x    4
                                                        x3
                                                    5
                               X        = 5.6 เมตร

ตัวอย่างที่ 49 ใช้แรง F ดึงปลายเชือกที่พันรอบทรงกระบอกอันหนึ่งเพื่อให้ทรงกระบอกอยู่นิ่ง
สัมผัสกับผนังแนวดิ่งได้ดังรูป ถ้า F ทามุม  กับแนวระดับ จงหาสัมประสิทธิ์ของความเสียด
ทานสถิตที่น้อยที่สุดระหว่างทรงกระบอกกับผนังขณะนั้น




วิธีทา เขียนแรงที่เกิดกับทรงกระบอก
       แตกแรง F ในแนวราบและดิ่ง
                         MO   = 0 จะได้      F.r        = Nr
                                              F          = N      ……….. (1)
 Fx    = 0 จะได้Fcos = N                    …………. (2)
       (1) / (2)          1
                                  =   
                       cos 

                               = sec              ตอบ

ตัวอย่างที่ 50 จงหาขนาดของแรง P ที่มากที่สุดที่กระทากับทรงกระบอกมวล m แล้วทรงกระบอก
ไม่หมุน กาหนดค่าสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานทุกผิวสัมผัสเท่ากับ  รัศมีของทรงกระบอก
ยาว R ค่านิจของความโน้มถ่วงของโลกเท่ากับ g




วิธีทา เขียนแรงกระทาที่ทรงกลม ถ้าทรงกลมหมุนมันจะหมุนทวยเข็มนาฬิกา ดังนั้นแรงเสียด
ทานมีทศตามเข็มนาฬิกา
               จาก  M = 0 จะได้ P x r = f1 x r + f2 x r
                              O


                                            P     = N1 + N2            ……….. (1)
                F = 0 จะได้
                   x                 N2     = N1              ….……. (2)
                F = 0 จะได้f2 + P + N1
                   y                        = mg
                                     N1 + P + N1 = mg
       แทนค่า N2 จะได้       (N1) + P + N1      = mg
                                     N1(2 + 1)   = mg - P
                                                        mg  P
                                             N1     =
                                                                1
                                                             2


                                                         ( mg  P )
       แทนค่า (2) จะได้                      N2     =
                                                                    1
                                                                 2


                                                                     P           ( mg  P )
       แทนค่า N1 และ N2 ใน (1) จะได้         P      =  mg                + .
                                                                    1                   1
                                                                 2                     2



                                          P (2+1) = mg - P + 2mg - 2P
                                      P(22 +  + 1) = mg( 1 + )
                                                         mg (1   )
                                             P      =                                      ตอบ
                                                        2         1
                                                             2
ตัวอย่างที่ 51 จงหาขนาดของแรง P ที่จะดึงกล่องมวล 2000 นิวตัน ดังรูป ให้มีความเร่ง 1 เมตร/
วินาที2 เมื่อ P กระทาผ่านจุดศูนย์กลางมวล จงหาตาแหน่งของแรงกระทาตั้งฉากกับพื้นที่กระทา
ต่อวัตถุด้วย
วิธีทา เขียนแรงที่เกิดขึ้นกับกล่อง
                  F      = ma
                  P - f = ma
          P - mg         = ma
     P - (0.3 x 200 x 10) = 200x 1
                  P       = 800 นิวตัน
                M C .M   = 0
                  N.x = f x 40
                  2000x = mg.40
                          = 0.3 x 200 x 10x 40
                  x       = 12 cm
 ตาแหน่งแรงกระทาตั้งฉากห่างจากขอบฐานด้านที่แรง P กระทาเป็นระยะ = 20 - 12 = 8 cm


4.9 จุดศูนย์กลางมวล (C.M) และจุดศูนย์ถ่วง(C.G)
          จุดศูนย์กลางมวลของวัตถุ (C.M) คือ ตาแหน่งที่มวลรวมของวัตถุอยู่ซึ่งจุดนี้อาจจะอยู่ใน
หรือนอกวัตถุก็ได้
          จุดศูนย์ถ่วงของวัตถุ (C.G) คือ ตาแหน่งที่น้าหนักรวมของวัตถุอยู่ ซึ่งจุดนี้ อาจจะอยู่ใน
หรือนอกวัตถุก็ได้
          โดยทั่วไป ถ้าวัตถุมีความสูงไม่มากนักจุด C.G และจุด C.M จะอยู่ที่ตาแหน่งเดียวกัน และ
ถ้าวัตถุมีความสูงมากๆ จุด C.M และจุด C.G จะอยู่คนละจุด โดย C.G จะอยู่ตาแหน่งต่ากว่าจุด C.M
เสมอ เช่น จุด C.M และจุด C.G ของภูเขา เป็นต้น
          จุด C.M หรือจุด C.G ของวัตถุรูปทรงเรขาที่ควรทราบ
การคานวณจุด C.G และจุด C.M
        การคานวณโจทย์เกี่ยวกับจุด C.G และจุด C.M แยกการคานวณโจทย์ได้เป็น 2 แบบ คือ
        1.การหาตาแหน่งจุด C.G ของวัตถุ
        2.การพิจารณาเงื่อนไขการล้มของวัตถุ

4.9.1การหาตาแหน่งจุด C.G ของวัตถุ
         ในทางปฏิบัติเราสามารถทาการหาจุด C.G ของแผ่นวัตถุรูปทรงใดๆ ก็ได้ โดยนาแผ่นวัต ถุ
ผูกเข้ากับเชือกแล้วแขวนไว้ดังรูป (ก) เมื่อแผ่นวัตถุหยุดนิ่งจะได้แนวแรง T และ mg อยู่ในแนว
เดียวกัน คือแนวเส้นประ A เมื่อเปลี่ยนจุดที่ผูกเชือกเป็นจุดอื่นๆ เช่น B และ C ดังรูป (ข) และ (ค)
แล้วลากเส้นตรงตามเส้นเชือกแต่ละครั้ง จะพบว่าแนวเส้นเชือกมาตัดกันที่จุ ดหนึ่ง เนื่องจากแนว
เส้นเชือกอยู่ในแนวเดียวกันกับแนวน้าหนัก ดังนั้นจุดตัดของแนวเส้นเชือก คือจุดศูนย์รวมของ
น้าหนักแผ่นวัตถุ เรียกจุดนี้ว่า จุดศูนย์ถ่วง (C.G)
การคานวณหาตาแหน่งจุด C.G หรือจุด C.M ของวัตถุ แยกการพิจารณาได้เป็น 2 แบบ
ด้วยกันคือ
       1. การหาจุด C.G ของวัตถุทรงคาน
        ทรงกระบอกอันหนึ่งประกอบด้วยโครงสร้างสามส่วน มีมวล m1 , m2 และ m3 โดย
ตาแหน่งของมวลทั้งสามห่างจากปลายเป็นระยะ x1 , x2 และ x3 ตามลาดับ ดังรูป จะได้ตาแหน่ง
ของจุด C.G ดังนี้




            
จากรูป หา   x   ได้จากสมการ      MA      = 0
                            
           จะได้ ( (  mg ) x = (m1g1)x1 + (m2g)x2 + (m3g)x3
                    m 1x 1  m 2 x 2  m 3x 3
           x    =
                                m
                      mx
                 =
                     m



       2. การหาจุด C.G ของวัตถุที่รูปร่างไม่สมมาตร
      ให้หาตาแหน่งจุด C.G เทียบกับแกน x และแกน y ดังรูป ต้องการหาจุด C.G ของระบบที่
ประกอบด้วยมวล m1 , m2 และ m3
จากรูป จะได้
                                  
                                               m 1x1  m 2 x 2  m 3x 3
        My     = 0 จะได้         x      =
                                                   m1  m 2  m 3
                                                mx
                                         =
                                               m
                                              m 1y1  m 2 y 2  m 3 y 3
        Mx     = 0 จะได้         y      =
                                                   m1  m 2  m 3
                                                my
                                         =
                                               m

ข้อสังเกต : เนื่องจากมวลวัตถุมีค่าแปรผันตามพื้นที่ของวัตถุ(A) ซึ่งเขียนเป็นความสัมพันธ์ได้
            ดังนี้ m  A หรือ m = kA ดังนั้นสมการของตาแหน่งจุด C.G เขียนใหม่ได้
                         
                                   mx           Ax
                         x   =             =
                                   m            A
                         
                                  my            Ay
                         y   =             =
                                  m             A

4.9.2 การพิจารณาเงื่อนไขการล้มของวัตถุ
        วัตถุจะล้มก็ต่อเมื่อแนวน้าหนักของวัตถุตกผ่านขอบฐานดังรูป




        ถ้าวัตถุอยู่ดังรูปที่ 1. และ 2. วัตถุจะยังไม่ล้มเพราะแนวน้าหนักวัตถุอยู่ในฐาน
        ถ้าวัตถุอยู่ดังรูปที่ 3 วัตถุสมดุลครั้งสุดท้าย ถ้าแนวน้า หนักเลยตาแหน่งนี้ออกไปแม้เพียง
เล็กน้อยจะล้มทันที
        ถ้าวัตถุอยู่ดังรูปที่ 4 วัตถุจะล้มทันที
        ดังนั้นการคานวณ ถ้าวัตถุอยู่ในตาแหน่งที่พอดีล้ม แสดงว่าน้าหนักตกผ่านขอบฐานพอดี
4.10 การสมดุลของเทหวัตถุในลักษณะต่างๆ
          ลักษณะการสมดุลของวัตถุ แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ
          1.สมดุลแบบเสถียรภาพ (stable equilibrium) คือ การสมดุลของวัตถุซึ่งมีฐานรองรับอย่าง
มั่นคง เมื่อได้รับความกระทบกระเทือนให้เอียงเซ ไปเล็กน้อยก็ไม่ล้ม คงกลับเข้าสู่สภาพเดิมได้เมื่อ
หยุดแรงกระทาแล้ว เช่น กรวยคว่าบนพื้น ตุ๊กตาล้มลุก เป็นต้น
          2.สมดุลแบบไม่เสถียรภาพ (unstable equilibrium) คือ การสมดุลของวัตถุซึ่งเมื่อได้รับ
ความกระทบกระเทือนเพียงเล็กน้อย วัตถุนั้นจะอยู่ในตาแหน่งอื่นไม่กลับมาอยู่ในตาแหน่งสมดุล
ดังเดิม เช่น รูปกรวยที่เอายอดลง เหรียญบาทที่เอาขอบตั้ง เป็นต้น
          3.สมสมดุลแบบสะเทิน (neutral equilibrium) คือการสมดุลของวัตถุ ซึ่งเมื่อได้รับความ
กระเทือน วัตถุจะเป็นเพียงเปลี่ยนตาแหน่งที่สัมผัสกับพื้น และวัตถุจะยังคงอยู่ในลักษณะเดิม เช่น
รูปกรวยที่เอาข้างลง ทรงกระบอกที่วางตามแนวนอน เป็นต้น
ข้อสังเกต : เสถียรภาพของวัตถุจะมีมากขึ้น เมื่อ
                 ก. จุด C.G อยู่ต่า
                 ข. ฐานกว้าง
                 ค. น้าหนักวัตถุมาก
        ถ้าวัตถุได้รับแรงเพื่อจะให้เปลี่ยนสมดุล
                 1.ถ้าจุด C.G สูงจากเดิม เป็นสมดุล แบบเสถียรภาพ
                 2.ถ้าจุด C.G ต่าจากเดิม เป็นสมดุล แบบไม่เสถียรภาพ
                 3.ถ้าจุด C.G อยู่ในระดับเดิม เป็นสมดุล แบบสะเทิน
ตัวอย่างที่ 52 คานสม่าเสมออันหนึ่งยาว 3 เมตร หนัก 20 นิวตัน ที่ปลาย A และปลาย B ติดน้าหนัก
ไว้ 30 นิวตัน และ 40 นิวตัน ตามลาดับ ที่จุดห่างจากปลาย A เป็นระยะ 1 เมตร และ 2 เมตร ติด
น้าหนักไว้ 20 นิวตัน และ 40 นิวตัน ตามลาดับ จงหาตาแหน่งของจุดศูนย์ถ่วง
วิธีทา สังเกตรูปและกาหนดตาแหน่งต่างๆ ของแรงดังรูป




 mg  = 30 + 20 + 40 + 40 = 150 นิวตัน
จาก  M A = 0 จะได้
        
            (
        x  mg        )    = 20 x 1 + 20 x 1.5 +40x2 + 40 x 3
                
                x   .150   = 20 + 30 + 80 + 120
                      
                      x= 1.66 m
เพราะฉะนั้นอยู่ห่างจากปลาย A = 1.66 เมตร

ตัวอย่างที่ 53 แท่งเหล็กแท่งหนึ่งหน้าตัดดังรูป จงหาตาแหน่งของจุดศูนย์ถ่วง
วิธีทา แบ่งพื้นที่เหล็กออกเป็นส่วนต่างๆ แล้วกาหนด co-ordinate ของแต่ละส่วนจึงสร้างตาราง
                     
เพื่อหาตาแหน่ง C.G ; x = 0
              ส่วน                    A                           y     Ay
                1                   6x1=6                         5     30
                2                   4x1=4                        2.5    10
                3                  4x   1
                                              =2                0.25    0.5
                                        2
                                                                      40.5
                                        12

                         
                                    Ay
                         y   =                =    40 . 5
                                                            = 3.375”
                                    A              12

       เพราะฉะนั้นจุด C.G อยู่ห่างจากจุดกึ่งกลางฐาน 3.375 นิ้ว            ตอบ

ตัวอย่างที่ 54 แผ่นโลหะแบบสม่าเสมอแผ่นหนึ่งเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวด้านละ 30 ซม. เส้น
ทะแยงมุมทั้งสองแบ่งแผ่นโลหะนี้ออกเป็นรูปสามเหลี่ยม 4 รูป
        ก. ถ้าตัดสามเหลี่ยมนั้นออกหนึ่งรูป จุดศูนย์ถ่วงของแผ่นที่เหลือจะอยู่ที่ใด
        ข. ถ้านาสามเหลี่ยมที่ตัดออกมาวางทับสามเหลี่ยมรูปที่เคยมีด้านข้างติดกัน ให้ซ้อนกัน
สนิท จุดศูนย์ถ่วงของแผ่นโลหะจะอยู่ที่ใด
วิธีทา กาหนดตาแหน่งของ C.G แต่ละส่วนแล้วสร้างตารางเพื่อหาตาแหน่ง C.G รวม




              ส่วน                      A                         y      Ay
            ABCD                  30 x 30 = 900                  15    13500
             -DEC            - 1 x 15 x 30 = -225                25    -5625
                              2
            ABCED                                                       7875
                                        675
                         
                                    Ay
                         y   =                =    7875
                                                            = 11.66
                                    A             675

       เพราะฉะนั้นจุด C.G อยู่สูงจากจุดกึ่งกลางฐาน 11.66 cm
ส่วน            A                 x             Ax           y     Ay
       AED            450                5            2250         15    6750
       AEB            225               15            3375          5    1125
       BEC            225               25            5625         15    3375
                     900                            11250              11250

       พื้นที่ AED    = 2 x( 1 x30x15)                = 450
                                    2

       พื้นที่AEB     =    1
                                x30x15                 = 225
                            2

       พื้นที่BCE     =    1
                                x30x15)                = 225
                            2
                                   
                        x       =   y    =   11250
                                                       = 12.5 cm
                                              900



ตัวอย่างที่ 55 แผ่นโลหะรูปตัว L ดังรูป จงหาตาแหน่งจุด C.G ของแผ่นโลหะ




วิธีทา แบ่งแผ่นโลหะรูปตัว L ออกเป็นรูปทรงเรขา 2 รูป แล้วกาหนดจุดพิกัดเทียบกับแกน x
และ y
ส่วน          A                x                    Ax               y         Ay
          1         5x1 = 5           0.5                   2.5             2.5       12.5
          2         6x1=6              4                    24              4.5        27
                     11                                   26.5                       39.5

                         
                                      Ax
                         x    =               =       26 . 5
                                                                   = 2.41 นิ้ว
                                      A                  11
                         
                                      Ay
                         y    =               =       39 . 5
                                                                   = 3.59 นิ้ว
                                      A                  11



ตัวอย่างที่ 56 แท่งโลหะทรงกระบอกอันหนึ่งยาว 3 ฟุต เส้นผ่านศูนย์กลาง 8 นิ้ว วางตั้งไ ว้บนพื้น
ราบ ยกขอบของแท่งโลหะนั้นสูงจากพื้นได้เท่าใด จึงทาให้แท่งโลหะนั้นล้มพอดี




วิธีทา เราสามารถยกแท่งโลหะได้สูงสุดเมื่อแนวน้าหนักตกผ่านมุมฉากพอดี
        จากรูป 1 จะได้               tan =           8
                                                               =   2
                                                   36              9

        เขียนรูป  จาก               tan =       2
                                                               ได้รูปขวามือ
                                                  9

        จากรูป 2 จะได้ sin =           2
                                       9 .2

        
            h
                = sin =      2
            8                9 .2

                h        =   2x8
                                       = 1.74 นิ้ว
                              9 .2
        เพราะฉะนั้นต้องยกขอบสูง 1.74 นิ้ว

ตัวอย่างที่ 57 ถ้าเอาเหรียญที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง d หนา                 d
                                                                            มาวางซ้อนบนพื้นเอียงซึ่งมีฐานยาว
                                                                       20
L สูง L/6 จะวางเหรียญได้กี่อันก่อนที่กองเหรียญจะล้มลง กาหนดให้แรงเสียดทานมีค่ามาก ซึ่ง
กองเหรียญจะล้มก่อนไถลลง
วิธีทา เราวางเหรียญได้มากสุดต่อเมื่อแนวน้าหนักของเหรียญต้องไม่เลยมุมฐาน ดังรูป
       สมมติว่าให้วางเหรียญได้        = n อัน
         เพราะฉะนั้นกองเหรียญสูง            =           nd
                                                         20

         จากกองเหรียญจะได้ tan             =         20 d
                                                              =   20
                                                      nd          n

         จากพื้นเอียงจะได้         tan =        1
                                                 6

         สมการทั้งสองเท่ากัน จะได้    20
                                            =     1
                                       n         6
                                       n = 120 เหรียญ                          ตอบ

ตัวอย่างที่ 58 วัตถุทรงกระบอกตันสม่าเสมอสูง 10 ซม. เส้นผ่านศูนย์กลาง 5 ซม. หนัก 1 กก. วาง
ตั้งบนพื้นเอียงที่เปลี่ยนมุมได้ ถ้าสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานของพื้นเอียง = 0.45 จงหาว่าเมื่อ
ยกพื้นเอียงขึ้นช้าๆ




         ก. วัตถุจะเริ่มเคลื่อนที่ลงเมื่อพื้นเอียงเป็นมุม tan เท่ากับเท่าไร
         ข. วัตถุจะเริ่มล้มเมื่อยกพื้นเอียงเป็นมุม tan เท่ากับเท่าไร (ถ้าวัตถุไม่เลื่อนลงเสียก่อน)
         ค. กรณีข้างบนวัตถุจะล้มก่อนเมื่อเลื่อนลงหรือเลื่อนลงก่อนจะล้ม

วิธีทา
         ก. วัตถุเริ่มไถลลงจากพื้นเอียงจะได้แรงต่างๆ ดังรูป
                    Fเอียง = 0
จะได้         f = mgsin
             mgcos = mgsin
                   = tan
         มุมพื้นเอียงจะได้ tan =  = 0.45                ตอบ

        ข.ถ้าวัตถุล้มแสดงว่าแนวน้าหนักตกที่มุมฐานพอดี ดังรูป
        จากรูปจะได้       tan =    5
                                         = 0.5
                                    10

        ดังนั้นมุมพื้นเอียง        tan = 0.5

        ค.จากกรณีข้างบนแสดงว่าวัตถุไถลลงก่อนที่จะล้ม

ตัวอย่างที่ 59 โต๊ะจัตุรัสตัวหนึ่งมี 4 ขา อยู่ที่กึ่งกลางของด้านทั้ง 4 ตามลาดับ จงหาน้าหนักที่มาก
ที่สุดที่จะเอามาวางที่มุมมุมหนึ่ง เพื่อทาให้โต๊ะตัวนั้นยังไม่ล้ม
วิธีทา โต๊ะล้มก็ต่อเมื่อแนวน้าหนักรวมตกอยู่ที่ฐานพอดี
          ให้ออกแรงกดโต๊ะที่มุม              F         = X
                                             MG =         0
                                             X x GF = W x GE
                                             X = W ( GF = GE)
                   ต้องออกแรงกดโต๊ะมากที่สุดเท่ากับน้าหนักโต๊ะ


ตัวอย่างที่ 60 มีอิฐอยู่จานวนหนึ่งทุกก้อนเป็นแผ่นสี่เหลี่ยมและมีขนาดเท่าๆ กัน ซึ่งกว้าง 4 นิ้ว ยาว
8 นิ้ว ถ้านาอิฐเหล่านี้มาวางซ้อนกันให้ด้านข้างเสมอกัน แต่เหลื่อมกันทางด้านยาวแผ่นละ 1 นิ้ว ให้
หาว่าจะเรียงก้อนอิฐเหล่านี้ให้ซ้อนกันได้อย่างมากกี่แผ่น จึงจะล้มพอดี
วิธีทา ให้น้าหนักของอิฐแต่ละแผ่น         = W
       ให้เรียงอิฐ = n แผ่น (ไม่คิดแผ่นล่าง)
       ให้อิฐยาว = L และเหลี่ยมกัน = x
       อิฐจะไม่ล้มเมื่อน้าหนักอิฐรวมตั้งแต่แผ่นที่ 2 เป็นต้นไปตกอยู่ที่จุด B
      MA =        0 จะได้
                         L(nW) = W( L + x) + W( L + 2x)+ ….. + W( L + nx)
                                            2           2                  2

                         nL       =   nL
                                             + (x + 2x + 3x +….+ nx)
                                       2
                         nL
                                  = x n (1+n)
                          2                 2
                              L   = x (1+ n)
                              n   =    L
                                            -1
                                        x

L = 8 นิ้ว, x = 1 นิ้ว ; n        =    8
                                            1   = 7
                                       1
เพราะฉะนั้นจานวนแผ่นอิฐทั้งหมดเท่ากับ 7 + 1 = 8 แผ่น

4.11ตัวอย่างการใช้หลักสมดุล
       หลักสมดุลของแรงและโมเมนต์นั้นมีอยู่มากมายในชีวิตประจาวัน เช่น ใช้กับเครื่องผ่อน
แรงชนิดต่างๆ ได้แก่ ไขควง คีมตัดลวด กว้าน ระบบรอก คานงัด เป็นต้น
       การผ่อนแรงของเครื่องมือชนิดต่างๆ แยกพิจารณาได้ดังนี้
        คีมตัดลวด




        ให้    F1 คือ แรงที่กระทากับด้ามจับของคีมตัดลวด
               F2 คือ แรงที่ลวดกระทากับคีม ณ จุดที่คีมตัดลวด
        พิจารณาแรงที่รูป ข. จะได้
                         MO =      0
F1.D      = F2.d

               F2
                         =    D
               F1             d




กรณีไขควง




ให้    F1 คือ แรงที่กระทากับด้ามของไขควง และ R คือรัศมีของด้ามไขควง
       F2 คือ เป็นแรงที่ตะปูควงทากับปลายไขควง และ r คือรัศมีของปลายไขควง
พิจารณาแรงที่รูป ข. จะได้
                 MO =       0
                F1(2R) = F2(2r)

               F2
                         =    R
               F1             r



อัตราส่วนระหว่าง    F2
                         ในคีมตัดลวด และไขควงเรียกว่า การได้เปรียบเชิงกล
                    F1
การผ่อนแรงของกว้าน




        ให้ออกแรง F ที่แขนของกว้านเพื่อยกน้าหนัก W
        แขนของกว้านยาว l และรัศมีของเพลาเท่ากับ r
        จากรูป ข. จะได้
                        MO =     0
                       W. r = F . l

                         W
                                   =     l
                           F             r



        อัตราส่วนระหว่าง       W
                                   เรียกว่า การได้เปรียบเชิงกล
                               F



ตัวอย่างที่ 61 มีดควั่นอ้อยอันหนึ่ง มีด้ามจับห่างจากจุดหมุน 25 เซนติเมตร ตา แหน่งที่วางอ้อยห่าง
จากจุดหมุน 5 เซนติเมตร ถ้าอ้อยแต่ละท่อนต้องใช้แรงตัด 30 นิวตัน เราต้องใช้แรงกดที่มีด
ควั่นอ้อยน้อยที่สุดเท่าไรจึงจะทาให้อ้อยขาดพอดี (ไม่คิดน้าหนักของตัวมีด)
วิธีทา พิจารณาแรงที่รูป ข.
                       MO    = 0
                       F x 25 = 30 x 5
                       F      =   30 x 5
                                                = 6 นิวตัน
                                       25



ตัวอย่างที่ 62 กว้านดังรูปมีแขนหมุน 2 ฟุต ถ้าไม่คิดความเสียดทาน การได้เปรียบเชิงกลจะเป็น
เท่าใดถ้าออกแรง 50 นิวตัน ยกน้าหนักได้จริง 150 นิวตัน ประสิทธิภาพเป็นเท่าใด ?




วิธีทา การได้เปรียบเชิงกล     =    l
                                            =         2
                                                                  = 8 เท่า
                                  r              0 . 25
       หาน้าหนักที่ควรจะยกได้จาก  M O = 0
       จากรูป                       W.r = F.l
                                   W x 0.25 = 50 x 2
                                        W = 400
       กว้านดังรูป ควรจะยกน้าหนักได้ = 400 นิวตัน
       แต่กว้านนี้ยกน้าหนักได้เพียง = 150 นิวตัน
       ดังนั้นประสิทธิภาพ                   =   150
                                                          x 100     = 37.5 %
                                                400




*****************************************************************************

More Related Content

What's hot

02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
Phanuwat Somvongs
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
Phanuwat Somvongs
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีสWijitta DevilTeacher
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานthanakit553
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลีWijitta DevilTeacher
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
Wijitta DevilTeacher
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
เรียนฟิสิกส์กับครูเอ็ม Miphukham
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
Wijitta DevilTeacher
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลApinya Phuadsing
 
เรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงานเรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงานApinya Phuadsing
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟjirupi
 
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่นเรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่นthanakit553
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
กิตติพงษ์ เสียงเสนาะ
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
krulef1805
 
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
กิตติพงษ์ เสียงเสนาะ
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
Phanuwat Somvongs
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
Phanuwat Somvongs
 

What's hot (20)

02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
สมดุลกล2
สมดุลกล2สมดุลกล2
สมดุลกล2
 
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
04แบบฝึกการประยุกต์กฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส2กฎของพาสคัล  และหลักของอาร์คีมิดีส
2กฎของพาสคัล และหลักของอาร์คีมิดีส
 
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงานเรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
เรื่องที่ 5 งานและพลังงาน
 
Momentum
MomentumMomentum
Momentum
 
4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี4สมการแบร์นูลลี
4สมการแบร์นูลลี
 
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
เอกสารประกอบ เรื่อง สภาพสมดุลและสภาพยืดหยุ่น
 
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล์
 
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียงเอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
เอกสารประกอบการสอนเรื่องเสียง
 
เรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหลเรื่องที่9ของไหล
เรื่องที่9ของไหล
 
เรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงานเรื่องที่5งานและพลังงาน
เรื่องที่5งานและพลังงาน
 
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟการหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
การหางานจากพื้นที่ใต้กราฟ
 
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน21 ใบความรู้  เรื่องแรงเสียดทาน
21 ใบความรู้ เรื่องแรงเสียดทาน
 
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่นเรื่องที่ 8   สภาพสมดุลยืดหยุ่น
เรื่องที่ 8 สภาพสมดุลยืดหยุ่น
 
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงานตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
ตะลุยโจทย์ข้อสอบ งานและพลังงาน
 
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
แรงดึงดูดระหว่างมวล2560
 
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
เฉลย06กฎการเคลื่อนที่
 
05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง05แบบฝึกกำลัง
05แบบฝึกกำลัง
 
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
03แบบฝึกกฎการอนุรักษ์พลังงานกล
 

Viewers also liked

แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน2
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน2แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน2
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน2
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
กิจกกรมการวัด
กิจกกรมการวัดกิจกกรมการวัด
กิจกกรมการวัด
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ2
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ2การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ2
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ2
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
ใบงานความไม่แน่นอน
ใบงานความไม่แน่นอนใบงานความไม่แน่นอน
ใบงานความไม่แน่นอน
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
ใบความรู้การวัด
ใบความรู้การวัดใบความรู้การวัด
ใบความรู้การวัด
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยารายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 

Viewers also liked (20)

แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน2
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน2แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน2
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน2
 
แบบฝึกหัดที่ 3
แบบฝึกหัดที่ 3แบบฝึกหัดที่ 3
แบบฝึกหัดที่ 3
 
แบบฝึกหัดที่ 2
แบบฝึกหัดที่ 2แบบฝึกหัดที่ 2
แบบฝึกหัดที่ 2
 
สมดุลกล1
สมดุลกล1สมดุลกล1
สมดุลกล1
 
2การวัด
2การวัด2การวัด
2การวัด
 
แบบฝึกหัดที่ 3
แบบฝึกหัดที่ 3แบบฝึกหัดที่ 3
แบบฝึกหัดที่ 3
 
ใบงานที่1
ใบงานที่1ใบงานที่1
ใบงานที่1
 
กิจกกรมการวัด
กิจกกรมการวัดกิจกกรมการวัด
กิจกกรมการวัด
 
แบบฝึกหัดที่ 2
แบบฝึกหัดที่ 2แบบฝึกหัดที่ 2
แบบฝึกหัดที่ 2
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ2
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ2การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ2
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ2
 
ใบงานที่2
ใบงานที่2ใบงานที่2
ใบงานที่2
 
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ฟิสิกส์วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
 
ใบงานความไม่แน่นอน
ใบงานความไม่แน่นอนใบงานความไม่แน่นอน
ใบงานความไม่แน่นอน
 
ใบงานที่3
ใบงานที่3ใบงานที่3
ใบงานที่3
 
แบบประเมินผลโครงการอบรมSm
แบบประเมินผลโครงการอบรมSmแบบประเมินผลโครงการอบรมSm
แบบประเมินผลโครงการอบรมSm
 
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติการเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
การเคลื่อนที่ในหนึ่งมิติ
 
ใบความรู้การวัด
ใบความรู้การวัดใบความรู้การวัด
ใบความรู้การวัด
 
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยารายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
รายชื่อผู้เข้าค่าย ศูนย์ สอวน. ชีววิทยา
 
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตันแรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
แรง มวล และกฏการเคลื่อนที่ของนิวตัน
 
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
เอกสารประกอบการเรียนเล่ม1
 

Similar to สมดุลกล3

เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52krukrajeab
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
Wijitta DevilTeacher
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
Wijitta DevilTeacher
 
Elect01
Elect01Elect01
Elect01
kroopipat
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
ณรรตธร คงเจริญ
 
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแสหน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแสPornsak Tongma
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
Chakkrawut Mueangkhon
 
ปรับแก้แล้วรอขึ้นเว็บ เนื้อหาจาก Cmu
ปรับแก้แล้วรอขึ้นเว็บ เนื้อหาจาก Cmuปรับแก้แล้วรอขึ้นเว็บ เนื้อหาจาก Cmu
ปรับแก้แล้วรอขึ้นเว็บ เนื้อหาจาก Cmujaggapun12345
 

Similar to สมดุลกล3 (20)

Contraction Mapping
Contraction MappingContraction Mapping
Contraction Mapping
 
Lesson18
Lesson18Lesson18
Lesson18
 
3
33
3
 
3
33
3
 
ใบความรู้ 2
ใบความรู้ 2ใบความรู้ 2
ใบความรู้ 2
 
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
เอกสารประกอบการเรียนฟิสิกส์ม.6.1.52
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 3
 
งาน (Work)
งาน (Work)งาน (Work)
งาน (Work)
 
โมเมนต์
โมเมนต์โมเมนต์
โมเมนต์
 
Elect01
Elect01Elect01
Elect01
 
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
แม่เหล็กแบบเรียน บ้านเติมเต็ม ฟิสิกส์ครูนัด
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
มิ่ง111
มิ่ง111มิ่ง111
มิ่ง111
 
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแสหน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
หน่วย4 วงจรแบ่งแรงดันและวงจรแบ่งกระแส
 
ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]ตรีโกณมิต..[1]
ตรีโกณมิต..[1]
 
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
ไฟฟ้าแม่เหล็ก1
 
ปรับแก้แล้วรอขึ้นเว็บ เนื้อหาจาก Cmu
ปรับแก้แล้วรอขึ้นเว็บ เนื้อหาจาก Cmuปรับแก้แล้วรอขึ้นเว็บ เนื้อหาจาก Cmu
ปรับแก้แล้วรอขึ้นเว็บ เนื้อหาจาก Cmu
 

More from ชิตชัย โพธิ์ประภา

ผลสอบปรีชาญาณ59
ผลสอบปรีชาญาณ59ผลสอบปรีชาญาณ59
ผลสอบปรีชาญาณ59
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
ครุฑน้อยกับเห็ดพิษ
ครุฑน้อยกับเห็ดพิษครุฑน้อยกับเห็ดพิษ
ครุฑน้อยกับเห็ดพิษ
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
ยีราฟกลับใจ
ยีราฟกลับใจยีราฟกลับใจ
ยีราฟกลับใจ
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
วานรขาวเจ้าปัญญา
วานรขาวเจ้าปัญญาวานรขาวเจ้าปัญญา
วานรขาวเจ้าปัญญา
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
สมบัติวิเศษ
สมบัติวิเศษสมบัติวิเศษ
สมบัติวิเศษ
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
วิหคสีรุ้ง
วิหคสีรุ้งวิหคสีรุ้ง
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1 4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1 ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1 ปีการศึกษา 2556
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1  ปีการศึกษา 25566รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1  ปีการศึกษา 2556
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1 ปีการศึกษา 2556ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียนคู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้ง...
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี  ครั้ง...โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี  ครั้ง...
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้ง...
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่
รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่
รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่
ชิตชัย โพธิ์ประภา
 
ปอซอ
ปอซอปอซอ
ฮารีรายอ
ฮารีรายอฮารีรายอ

More from ชิตชัย โพธิ์ประภา (20)

ผลสอบปรีชาญาณ59
ผลสอบปรีชาญาณ59ผลสอบปรีชาญาณ59
ผลสอบปรีชาญาณ59
 
ครุฑน้อยกับเห็ดพิษ
ครุฑน้อยกับเห็ดพิษครุฑน้อยกับเห็ดพิษ
ครุฑน้อยกับเห็ดพิษ
 
ทหารหาญ
ทหารหาญทหารหาญ
ทหารหาญ
 
ยีราฟกลับใจ
ยีราฟกลับใจยีราฟกลับใจ
ยีราฟกลับใจ
 
วานรขาวเจ้าปัญญา
วานรขาวเจ้าปัญญาวานรขาวเจ้าปัญญา
วานรขาวเจ้าปัญญา
 
สมบัติวิเศษ
สมบัติวิเศษสมบัติวิเศษ
สมบัติวิเศษ
 
วิหคสีรุ้ง
วิหคสีรุ้งวิหคสีรุ้ง
วิหคสีรุ้ง
 
5ตารางสรุปจำนวนนักเรียน
5ตารางสรุปจำนวนนักเรียน5ตารางสรุปจำนวนนักเรียน
5ตารางสรุปจำนวนนักเรียน
 
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1 4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
4กำหนดการเข้าค่ายโอลิมปิกวิชาการ ค่าย 1
 
3แนวปฏิบัติการอยู่ค่าย
3แนวปฏิบัติการอยู่ค่าย3แนวปฏิบัติการอยู่ค่าย
3แนวปฏิบัติการอยู่ค่าย
 
1โครงการขยายผล สอวน
1โครงการขยายผล สอวน1โครงการขยายผล สอวน
1โครงการขยายผล สอวน
 
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1 ปีการศึกษา 2556
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1  ปีการศึกษา 25566รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1  ปีการศึกษา 2556
6รายชื่อนักเรียนเข้าค่าย 1 ปีการศึกษา 2556
 
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
ตารางเวรครูชาย เดือน ต.ค.ถึง มี.ค. 2556
 
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียนคู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
คู่มือนักเรียนและผู้ปกครอง ฝ่ายกิจการนักเรียน
 
ตารางการนำเสนอโครงงาน
ตารางการนำเสนอโครงงานตารางการนำเสนอโครงงาน
ตารางการนำเสนอโครงงาน
 
รายชื่อครูวิพากษ์โครงงาน
รายชื่อครูวิพากษ์โครงงานรายชื่อครูวิพากษ์โครงงาน
รายชื่อครูวิพากษ์โครงงาน
 
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้ง...
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี  ครั้ง...โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์  คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี  ครั้ง...
โครงการประชุมวิชาการนักเรียนโครงการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และเทคโนโลยี ครั้ง...
 
รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่
รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่
รายชื่อโรงแรมในจังหวัดแพร่
 
ปอซอ
ปอซอปอซอ
ปอซอ
 
ฮารีรายอ
ฮารีรายอฮารีรายอ
ฮารีรายอ
 

สมดุลกล3

  • 1. 4.6 โมเมนต์ (Moment) โมเมนต์ คือ ผลหมุนของวัตถุมีขนาดเท่ากับ ผลคูณของแรงกับการขจัดจากจุดหมุนตั้งฉาก กับแนวแรง เป็นปริมาณเวกเตอร์ มีทั้งขนาดและทิศทาง หน่วยของโมเมนต์คือนิวตันต่อตารางเมตร ทิศทางของโมเมนต์ได้แก่ ทิศการเคลื่อนที่ของตะปูเกลียวนั่นเอง การหาโมเมนต์ แยกพิจารณาได้ 2 แบบ คือ 4.6.1โมเมนต์เนื่องจากแรงใดๆ โดยทั่วไปการหาโมเมนต์เนื่องจากแรงใดๆ เรา มักจะแตกแรงให้ตั้งฉากกับแนวคานที่กระทา ดังตัวอย่างในรูป ต้องการหาโมเมนต์รอบจุด O อัน เนื่องจากแรง P กระทากับประแจเลื่อน วิธีทา แตกแรง P ให้อยู่ในแนวราบและแนวดิ่ง ดังนั้น ผลรวมโมเมนต์รอบจุด O จะได้ M O = (Pcos)l + (Psin)O M O = Plcos มีทิศพุ่งเข้ากระดาษ 4.6.2โมเมนต์เนื่องจากแรงคู่ควบ โมเมนต์เนื่องจากแรงคู่ควบมีค่าเท่ากับผลคูณของ แรงกับการขจัด ตั้งฉากระหว่างแนวแรงทั้งสอง กาหนดให้คาน AB ยาว l ถูกกระทาด้วยแรงคู่ควบ P ต้องการหาโมเมนต์เนื่องจากแรงคู่ควบ ถ้าจุด O เป็นจุดที่อยู่ระหว่าง AB จะได้ M O = P(AO) + P(OB) M O = P(AO+OB) = P.AB = P.l
  • 2. มีทิศทวนเข็มนาฬิกา นั่นคือ โมเมนต์แรงคู่ควบมีค่าเท่ากับแรงคูณด้วยการขจัดตั้งฉากระหว่างแนวแรงทั้งสอง ถ้าจุด O เป็นจุดที่อยู่ภายนอก AB จะได้ M O = P(OB) - P(AO) M O = P(OA+AB) - P(AO) = P.AB = P.l มีทิศทวนเข็มนาฬิกา แสดงว่าโมเมนต์แรงคู่ควบมีค่าเท่ากับแรงคูณด้วย การขจัดตั้งฉากระหว่างแนวแรงทั้งสอง ดังนั้นโมเมนต์จากแรงคู่ควบจึงเป็นโมเมนต์รอบจุดใดๆ ก็ได้ย่อมมีค่าเท่ากับแรงคูณด้วย การขจัดระหว่างแนวแรงทั้งสอง 4.7สมดุลต่อการหมุน คือ สภาวะการไม่หมุนของวัตถุ ณ สภาวะนี้โมเมนต์ของวัตถุจะต้องมีค่าเท่ากับศูนย์ สภาพสมดุล สภาพสมดุลที่สมบูรณ์ของวัตถุใด ๆ จะเกิดขึ้นได้ต่อเมื่อวัตถุนั้นจะต้องไม่ เคลื่อนที่และไม่หมุน ดังนั้นวัตถุจะอยู่ในสภาวะสมดุลที่สมบูรณ์ได้ต่อมื่อเงื่อนไขของแรงและ โมเมนต์จะเป็นศูนย์ (  F = 0,  M = 0) 4.8การคานวณสมดุลต่อการหมุนและการเคลื่อนที่ โดยทั่วไปการสมดุลของโจทย์ในลักษณะนี้มักจะเป็นการสมดุลของระบบที่มีแนวแรงตัด กันหลายจุด หรือเป็นการสมดุลของระบบที่ถูกกระทาด้วยแรงคู่ควบ การคานวณโจทย์ลักษณะนี้ ต้องใช้สมการคานวณ 3 สมการ คือ  M = 0,  F = 0 ,  F = 0 มีขั้นตอนการคานวณดังนี้ x y 1.หยิบวัตถุที่ต้องการหาแรงออกมาเขียนแรงกระทาต่างๆ ให้ครบ 2.เลือก take moment รอบจุดที่ไม่ทราบค่าแรงมากที่สุดเสียก่อน 3.คานวณหาค่าที่ต้องการจากสมการ  F = 0 และ  F = 0 x y 4.ต้องการหาแรงปฏิกิริยาที่ใดให้รวมกันแบบ เวกเตอร์ได้ ขนาดของแรง R = R  R 2 x 2 y
  • 3. R ทิศทาง tan = y R x ตัวอย่างที่ 40 AC เป็นท่อนไม้ท่อนหนึ่งโตเท่ากันตลอดหนัก 30 กก. ที่ปลาย A มีบานพับยึดไม้ AC นี้อยู่ในระดับนอนและที่ปลาย C มีลวดทามุม 600 กับไม้ ให้หาแรงดึงในลวดและแรงปฏิกิริยาของ บานพับ วิธีทา เขียนแรงกระทาทั้งหมดที่คาน AC เพราะจุด A มีแรงที่ไม่ทราบค่ามากที่สุด ดังนั้น Take โมเมนต์ที่ A MA = 0 จะได้ (Tsin600)AC = 300 x AC 2 T 3 = 300 2 2 T = 173.2 นิวตัน จาก  F = 0 จะได้ x RX = Tcos600 และ  Fy = 0 จะได้ Tsin600 + R y = 300 T 3 + R y = 300 2 173 . 2 3 + Ry = 300 2 Ry = 150 RA = Rx R 2 2 y = 150 2  86 . 6 2 = 173.2 นิวตัน ตอบ ตัวอย่างที่ 41 ตามรูป xy เป็นแท่งไม้ยาว L มีขนาดสม่าเสมอและมีมวล m กรัม ปลายคานในยัน กาแพงซึ่งมีสัมประสิทธิ์ความเสียดทาน  ไว้เฉยๆ ในแนวตั้งได้ฉากกับกาแพงโดยการผูกปลาย ด้านนอกไว้ด้วยเชือก y จงหามุม  อย่างเล็กสุด ที่ทาให้อยู่ในสมดุลได้พอดี
  • 4. วิธีทา เขียนแรงที่คาน xy จาก  F = 0 จะได้ x Nx = Tsin …………… (1) และ  M = 0 จะได้ Nx(xo) = (Tcos)(oy)  Nx = Tcos …………… (2) (1) / (2) 1 = tan   = tan-1 1 ตอบ  ตัวอย่างที่ 42 เสาสม่าเสมอต้นหนึ่งสูง 6 เมตร หนัก 120 กก. กว้างและหนาเท่ากันคือ 1 เมตร วางตั้งอยู่บนพื้นดิน ชายคนหนึ่ งเอาเชือกคล้องที่ยอดเสาแล้ยืนอยู่ห่างโคนเสา 8 เมตร ถ้าเขาจะดึง เชือกให้เสานั้นล้ม เขาจะต้องออกแรงดึงอย่างน้อยที่สุดเท่าใด วิธีทา เขียนแรงกระทาทั้งหมดที่เสา เนื่องจากเสาล้มที่จุด D ดังนั้นแรงปฏิกิริยาของพื้นกระทาต่อเสา จึงเลือนมาอยู่ที่ D เนื่องจากที่ D มีแรงกระทามากที่สุด เพราะฉะนั้นให้ MD = 0 จะได้ (Tsin) x 6 = 1200 x 1 2 Tx 8 x6 = 600 10 T = 125 นิวตัน
  • 5. ตัวอย่างที่ 43 ถังหนักใบหนึ่งกว้าง 1 เมตร วางตั้ งบนพื้นระดับไม้คานเบายาว 3 เมตร ปลายบนมี น้าหนักก้อนหนึ่งแขวนไว้ เมื่อคานอยู่ในภาวะสมดุล จงหามุมที่ไม้คานกระทากับแนวระดับ สมมติ แรงเสียดทานที่คานกระทากับถังน้อยมาก วิธีทา เขียนแรงที่คาน MA = 0 จะได้ R C( 1 ) = (Wcos)3 cos  RC = 3Wcos2 ………….. (1)  Fy = 0 จะได้RCcos = W ………….. (2) (2) / (1) cos = W  2 3 W cos cos3 = 1 3 cos = 3 1 3  = cos-1 3 1 ตอบ 3 ตัวอย่างที่ 44 คานสม่าเสมอ AB ยาว 4 ฟุต หนัก 10 กก. ปลาย A ติดบานพับกับกาแพงที่จุด C เหนือจุด A 4 ฟุต มีมวลดึงคานให้อยู่ในแนวระดับที่จุดซึ่งห่างจากจุด A เป็นระยะ 3 ฟุต ดังรูปมีก้อน น้าหนัก 10 กก. ผูกที่ปลาย B จงหาแรงตึงในเชือกและแรงปฏิกิริยาที่ A
  • 6. วิธีทา เขียนแรงที่กระทาที่คาน AB MA = 0 3Tsin = (100 x 4) + (100 x 2) 3Tx 4 = 600 5 T = 250 นิวตัน  Fx = 0 จะได้ HA = Tcos = 250 x 3 = 150 นิวตัน 5  Fy = 0 จะได้ VA + Tsin = 100 + 100 VA + (250 x 4 ) = 200 5 VA = 0  RA = VA  H A 2 2 = 0  HA 2 RA = HA = 150 นิวตัน ตัวอย่างที่ 45 รถบรรทุก 10 ล้อ มีการกระจายน้าหนักที่เพลาดังแสดงในรูป แรงปฏิกิริยาของตอม่อ B จะมีค่าเท่ากับ วิธีทา เขียนแรงกระทาที่คาน AB หาแรงที่ตอม่อ B จาก  M = 0 จะได้ A 20RB = 2 x 10 + 10 x 15 + 10 x 16 = 20 + 150 + 160 RB = 33 นิวตัน ตอบ 2
  • 7. ตัวอย่างที่ 46 คาน ขค ยึดรั้งไว้ด้วยลวด กค คานวณหาแรงตึงในลวด กค เมื่อมีแรงกระทาใน แนวดิ่งที่จุด ค P = 200 กิโลกรัม วิธีทา พิจารณาแรงที่คาน ขค M A = 0 จะได้ (Tsin300)L = 200 x L T = 200 2 T = 400 kg. ตัวอย่างที่ 47 จากรูปที่กาหนดให้ จะต้องออกแรง F เท่าใดเพื่อที่จะยกรถเขนทรายที่บรรทุกทราย หนัก 700 นิวตัน โดยตาแหน่งของน้าหนักปรากฏดังรูป ให้ตอบในเทอมของ a และ b วิธีทา เขียนแรงกระทาที่รถ จากรูป  M = 0 จะได้ B F(a + b) = 700b F = 700 b ab
  • 8. ตัวอย่างที่ 48 คานสม่าเสมอยาว 8 เมตร หนัก 500 นิวตัน อยู่ในแนวระดับ โดยผูกเชือกห่างจาก ปลายที่ติดบานพับ 3 เมตร ดังรูป ชายคนหนึ่งหนัก 500 นิวตันเดินบนคาน ถ้าเชือกรับแรงดึงได้ เต็มที่ 2000 นิวตัน ชายคนนี้จะเดินไปได้ไกลเท่าใดจึงปลอดภัย วิธีทา เขียนแรงที่กระทาที่คานดังรูป และให้คนเดินห่างจาก A = X จากรูป  M = 0 จะได้ A 500X + 500x 4 = (Tsin530)x 3 500X + 2000 = 2000 x 4 x3 5 X = 5.6 เมตร ตัวอย่างที่ 49 ใช้แรง F ดึงปลายเชือกที่พันรอบทรงกระบอกอันหนึ่งเพื่อให้ทรงกระบอกอยู่นิ่ง สัมผัสกับผนังแนวดิ่งได้ดังรูป ถ้า F ทามุม  กับแนวระดับ จงหาสัมประสิทธิ์ของความเสียด ทานสถิตที่น้อยที่สุดระหว่างทรงกระบอกกับผนังขณะนั้น วิธีทา เขียนแรงที่เกิดกับทรงกระบอก แตกแรง F ในแนวราบและดิ่ง MO = 0 จะได้ F.r = Nr F = N ……….. (1)
  • 9.  Fx = 0 จะได้Fcos = N …………. (2) (1) / (2) 1 =  cos   = sec ตอบ ตัวอย่างที่ 50 จงหาขนาดของแรง P ที่มากที่สุดที่กระทากับทรงกระบอกมวล m แล้วทรงกระบอก ไม่หมุน กาหนดค่าสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานทุกผิวสัมผัสเท่ากับ  รัศมีของทรงกระบอก ยาว R ค่านิจของความโน้มถ่วงของโลกเท่ากับ g วิธีทา เขียนแรงกระทาที่ทรงกลม ถ้าทรงกลมหมุนมันจะหมุนทวยเข็มนาฬิกา ดังนั้นแรงเสียด ทานมีทศตามเข็มนาฬิกา จาก  M = 0 จะได้ P x r = f1 x r + f2 x r O P = N1 + N2 ……….. (1)  F = 0 จะได้ x N2 = N1 ….……. (2)  F = 0 จะได้f2 + P + N1 y = mg N1 + P + N1 = mg แทนค่า N2 จะได้ (N1) + P + N1 = mg N1(2 + 1) = mg - P mg  P N1 =  1 2  ( mg  P ) แทนค่า (2) จะได้ N2 =  1 2 P  ( mg  P ) แทนค่า N1 และ N2 ใน (1) จะได้ P =  mg + .  1  1 2 2 P (2+1) = mg - P + 2mg - 2P P(22 +  + 1) = mg( 1 + )  mg (1   ) P = ตอบ 2   1 2
  • 10. ตัวอย่างที่ 51 จงหาขนาดของแรง P ที่จะดึงกล่องมวล 2000 นิวตัน ดังรูป ให้มีความเร่ง 1 เมตร/ วินาที2 เมื่อ P กระทาผ่านจุดศูนย์กลางมวล จงหาตาแหน่งของแรงกระทาตั้งฉากกับพื้นที่กระทา ต่อวัตถุด้วย วิธีทา เขียนแรงที่เกิดขึ้นกับกล่อง F = ma P - f = ma P - mg = ma P - (0.3 x 200 x 10) = 200x 1 P = 800 นิวตัน M C .M = 0 N.x = f x 40 2000x = mg.40 = 0.3 x 200 x 10x 40 x = 12 cm  ตาแหน่งแรงกระทาตั้งฉากห่างจากขอบฐานด้านที่แรง P กระทาเป็นระยะ = 20 - 12 = 8 cm 4.9 จุดศูนย์กลางมวล (C.M) และจุดศูนย์ถ่วง(C.G) จุดศูนย์กลางมวลของวัตถุ (C.M) คือ ตาแหน่งที่มวลรวมของวัตถุอยู่ซึ่งจุดนี้อาจจะอยู่ใน หรือนอกวัตถุก็ได้ จุดศูนย์ถ่วงของวัตถุ (C.G) คือ ตาแหน่งที่น้าหนักรวมของวัตถุอยู่ ซึ่งจุดนี้ อาจจะอยู่ใน หรือนอกวัตถุก็ได้ โดยทั่วไป ถ้าวัตถุมีความสูงไม่มากนักจุด C.G และจุด C.M จะอยู่ที่ตาแหน่งเดียวกัน และ ถ้าวัตถุมีความสูงมากๆ จุด C.M และจุด C.G จะอยู่คนละจุด โดย C.G จะอยู่ตาแหน่งต่ากว่าจุด C.M เสมอ เช่น จุด C.M และจุด C.G ของภูเขา เป็นต้น จุด C.M หรือจุด C.G ของวัตถุรูปทรงเรขาที่ควรทราบ
  • 11. การคานวณจุด C.G และจุด C.M การคานวณโจทย์เกี่ยวกับจุด C.G และจุด C.M แยกการคานวณโจทย์ได้เป็น 2 แบบ คือ 1.การหาตาแหน่งจุด C.G ของวัตถุ 2.การพิจารณาเงื่อนไขการล้มของวัตถุ 4.9.1การหาตาแหน่งจุด C.G ของวัตถุ ในทางปฏิบัติเราสามารถทาการหาจุด C.G ของแผ่นวัตถุรูปทรงใดๆ ก็ได้ โดยนาแผ่นวัต ถุ ผูกเข้ากับเชือกแล้วแขวนไว้ดังรูป (ก) เมื่อแผ่นวัตถุหยุดนิ่งจะได้แนวแรง T และ mg อยู่ในแนว เดียวกัน คือแนวเส้นประ A เมื่อเปลี่ยนจุดที่ผูกเชือกเป็นจุดอื่นๆ เช่น B และ C ดังรูป (ข) และ (ค) แล้วลากเส้นตรงตามเส้นเชือกแต่ละครั้ง จะพบว่าแนวเส้นเชือกมาตัดกันที่จุ ดหนึ่ง เนื่องจากแนว เส้นเชือกอยู่ในแนวเดียวกันกับแนวน้าหนัก ดังนั้นจุดตัดของแนวเส้นเชือก คือจุดศูนย์รวมของ น้าหนักแผ่นวัตถุ เรียกจุดนี้ว่า จุดศูนย์ถ่วง (C.G)
  • 12. การคานวณหาตาแหน่งจุด C.G หรือจุด C.M ของวัตถุ แยกการพิจารณาได้เป็น 2 แบบ ด้วยกันคือ 1. การหาจุด C.G ของวัตถุทรงคาน ทรงกระบอกอันหนึ่งประกอบด้วยโครงสร้างสามส่วน มีมวล m1 , m2 และ m3 โดย ตาแหน่งของมวลทั้งสามห่างจากปลายเป็นระยะ x1 , x2 และ x3 ตามลาดับ ดังรูป จะได้ตาแหน่ง ของจุด C.G ดังนี้  จากรูป หา x ได้จากสมการ MA = 0   จะได้ ( (  mg ) x = (m1g1)x1 + (m2g)x2 + (m3g)x3  m 1x 1  m 2 x 2  m 3x 3  x = m  mx = m 2. การหาจุด C.G ของวัตถุที่รูปร่างไม่สมมาตร ให้หาตาแหน่งจุด C.G เทียบกับแกน x และแกน y ดังรูป ต้องการหาจุด C.G ของระบบที่ ประกอบด้วยมวล m1 , m2 และ m3
  • 13. จากรูป จะได้  m 1x1  m 2 x 2  m 3x 3 My = 0 จะได้ x = m1  m 2  m 3  mx = m  m 1y1  m 2 y 2  m 3 y 3 Mx = 0 จะได้ y = m1  m 2  m 3  my = m ข้อสังเกต : เนื่องจากมวลวัตถุมีค่าแปรผันตามพื้นที่ของวัตถุ(A) ซึ่งเขียนเป็นความสัมพันธ์ได้ ดังนี้ m  A หรือ m = kA ดังนั้นสมการของตาแหน่งจุด C.G เขียนใหม่ได้   mx  Ax x = = m A   my  Ay y = = m A 4.9.2 การพิจารณาเงื่อนไขการล้มของวัตถุ วัตถุจะล้มก็ต่อเมื่อแนวน้าหนักของวัตถุตกผ่านขอบฐานดังรูป ถ้าวัตถุอยู่ดังรูปที่ 1. และ 2. วัตถุจะยังไม่ล้มเพราะแนวน้าหนักวัตถุอยู่ในฐาน ถ้าวัตถุอยู่ดังรูปที่ 3 วัตถุสมดุลครั้งสุดท้าย ถ้าแนวน้า หนักเลยตาแหน่งนี้ออกไปแม้เพียง เล็กน้อยจะล้มทันที ถ้าวัตถุอยู่ดังรูปที่ 4 วัตถุจะล้มทันที ดังนั้นการคานวณ ถ้าวัตถุอยู่ในตาแหน่งที่พอดีล้ม แสดงว่าน้าหนักตกผ่านขอบฐานพอดี
  • 14. 4.10 การสมดุลของเทหวัตถุในลักษณะต่างๆ ลักษณะการสมดุลของวัตถุ แบ่งออกได้เป็น 3 ประเภท คือ 1.สมดุลแบบเสถียรภาพ (stable equilibrium) คือ การสมดุลของวัตถุซึ่งมีฐานรองรับอย่าง มั่นคง เมื่อได้รับความกระทบกระเทือนให้เอียงเซ ไปเล็กน้อยก็ไม่ล้ม คงกลับเข้าสู่สภาพเดิมได้เมื่อ หยุดแรงกระทาแล้ว เช่น กรวยคว่าบนพื้น ตุ๊กตาล้มลุก เป็นต้น 2.สมดุลแบบไม่เสถียรภาพ (unstable equilibrium) คือ การสมดุลของวัตถุซึ่งเมื่อได้รับ ความกระทบกระเทือนเพียงเล็กน้อย วัตถุนั้นจะอยู่ในตาแหน่งอื่นไม่กลับมาอยู่ในตาแหน่งสมดุล ดังเดิม เช่น รูปกรวยที่เอายอดลง เหรียญบาทที่เอาขอบตั้ง เป็นต้น 3.สมสมดุลแบบสะเทิน (neutral equilibrium) คือการสมดุลของวัตถุ ซึ่งเมื่อได้รับความ กระเทือน วัตถุจะเป็นเพียงเปลี่ยนตาแหน่งที่สัมผัสกับพื้น และวัตถุจะยังคงอยู่ในลักษณะเดิม เช่น รูปกรวยที่เอาข้างลง ทรงกระบอกที่วางตามแนวนอน เป็นต้น
  • 15. ข้อสังเกต : เสถียรภาพของวัตถุจะมีมากขึ้น เมื่อ ก. จุด C.G อยู่ต่า ข. ฐานกว้าง ค. น้าหนักวัตถุมาก ถ้าวัตถุได้รับแรงเพื่อจะให้เปลี่ยนสมดุล 1.ถ้าจุด C.G สูงจากเดิม เป็นสมดุล แบบเสถียรภาพ 2.ถ้าจุด C.G ต่าจากเดิม เป็นสมดุล แบบไม่เสถียรภาพ 3.ถ้าจุด C.G อยู่ในระดับเดิม เป็นสมดุล แบบสะเทิน
  • 16. ตัวอย่างที่ 52 คานสม่าเสมออันหนึ่งยาว 3 เมตร หนัก 20 นิวตัน ที่ปลาย A และปลาย B ติดน้าหนัก ไว้ 30 นิวตัน และ 40 นิวตัน ตามลาดับ ที่จุดห่างจากปลาย A เป็นระยะ 1 เมตร และ 2 เมตร ติด น้าหนักไว้ 20 นิวตัน และ 40 นิวตัน ตามลาดับ จงหาตาแหน่งของจุดศูนย์ถ่วง วิธีทา สังเกตรูปและกาหนดตาแหน่งต่างๆ ของแรงดังรูป  mg = 30 + 20 + 40 + 40 = 150 นิวตัน จาก  M A = 0 จะได้  ( x  mg ) = 20 x 1 + 20 x 1.5 +40x2 + 40 x 3  x .150 = 20 + 30 + 80 + 120  x= 1.66 m เพราะฉะนั้นอยู่ห่างจากปลาย A = 1.66 เมตร ตัวอย่างที่ 53 แท่งเหล็กแท่งหนึ่งหน้าตัดดังรูป จงหาตาแหน่งของจุดศูนย์ถ่วง
  • 17. วิธีทา แบ่งพื้นที่เหล็กออกเป็นส่วนต่างๆ แล้วกาหนด co-ordinate ของแต่ละส่วนจึงสร้างตาราง  เพื่อหาตาแหน่ง C.G ; x = 0 ส่วน A y Ay 1 6x1=6 5 30 2 4x1=4 2.5 10 3 4x 1 =2 0.25 0.5 2  40.5 12   Ay y = = 40 . 5 = 3.375” A 12 เพราะฉะนั้นจุด C.G อยู่ห่างจากจุดกึ่งกลางฐาน 3.375 นิ้ว ตอบ ตัวอย่างที่ 54 แผ่นโลหะแบบสม่าเสมอแผ่นหนึ่งเป็นรูปสี่เหลี่ยมจัตุรัสยาวด้านละ 30 ซม. เส้น ทะแยงมุมทั้งสองแบ่งแผ่นโลหะนี้ออกเป็นรูปสามเหลี่ยม 4 รูป ก. ถ้าตัดสามเหลี่ยมนั้นออกหนึ่งรูป จุดศูนย์ถ่วงของแผ่นที่เหลือจะอยู่ที่ใด ข. ถ้านาสามเหลี่ยมที่ตัดออกมาวางทับสามเหลี่ยมรูปที่เคยมีด้านข้างติดกัน ให้ซ้อนกัน สนิท จุดศูนย์ถ่วงของแผ่นโลหะจะอยู่ที่ใด วิธีทา กาหนดตาแหน่งของ C.G แต่ละส่วนแล้วสร้างตารางเพื่อหาตาแหน่ง C.G รวม ส่วน A y Ay ABCD 30 x 30 = 900 15 13500 -DEC - 1 x 15 x 30 = -225 25 -5625 2 ABCED 7875 675   Ay y = = 7875 = 11.66 A 675 เพราะฉะนั้นจุด C.G อยู่สูงจากจุดกึ่งกลางฐาน 11.66 cm
  • 18. ส่วน A x Ax y Ay AED 450 5 2250 15 6750 AEB 225 15 3375 5 1125 BEC 225 25 5625 15 3375  900 11250 11250 พื้นที่ AED = 2 x( 1 x30x15) = 450 2 พื้นที่AEB = 1 x30x15 = 225 2 พื้นที่BCE = 1 x30x15) = 225 2   x = y = 11250 = 12.5 cm 900 ตัวอย่างที่ 55 แผ่นโลหะรูปตัว L ดังรูป จงหาตาแหน่งจุด C.G ของแผ่นโลหะ วิธีทา แบ่งแผ่นโลหะรูปตัว L ออกเป็นรูปทรงเรขา 2 รูป แล้วกาหนดจุดพิกัดเทียบกับแกน x และ y
  • 19. ส่วน A x Ax y Ay 1 5x1 = 5 0.5 2.5 2.5 12.5 2 6x1=6 4 24 4.5 27  11 26.5 39.5   Ax x = = 26 . 5 = 2.41 นิ้ว A 11   Ay y = = 39 . 5 = 3.59 นิ้ว A 11 ตัวอย่างที่ 56 แท่งโลหะทรงกระบอกอันหนึ่งยาว 3 ฟุต เส้นผ่านศูนย์กลาง 8 นิ้ว วางตั้งไ ว้บนพื้น ราบ ยกขอบของแท่งโลหะนั้นสูงจากพื้นได้เท่าใด จึงทาให้แท่งโลหะนั้นล้มพอดี วิธีทา เราสามารถยกแท่งโลหะได้สูงสุดเมื่อแนวน้าหนักตกผ่านมุมฉากพอดี จากรูป 1 จะได้ tan = 8 = 2 36 9 เขียนรูป  จาก tan = 2 ได้รูปขวามือ 9 จากรูป 2 จะได้ sin = 2 9 .2  h = sin = 2 8 9 .2 h = 2x8 = 1.74 นิ้ว 9 .2 เพราะฉะนั้นต้องยกขอบสูง 1.74 นิ้ว ตัวอย่างที่ 57 ถ้าเอาเหรียญที่มีเส้นผ่านศูนย์กลาง d หนา d มาวางซ้อนบนพื้นเอียงซึ่งมีฐานยาว 20 L สูง L/6 จะวางเหรียญได้กี่อันก่อนที่กองเหรียญจะล้มลง กาหนดให้แรงเสียดทานมีค่ามาก ซึ่ง กองเหรียญจะล้มก่อนไถลลง
  • 20. วิธีทา เราวางเหรียญได้มากสุดต่อเมื่อแนวน้าหนักของเหรียญต้องไม่เลยมุมฐาน ดังรูป สมมติว่าให้วางเหรียญได้ = n อัน เพราะฉะนั้นกองเหรียญสูง = nd 20 จากกองเหรียญจะได้ tan = 20 d = 20 nd n จากพื้นเอียงจะได้ tan = 1 6 สมการทั้งสองเท่ากัน จะได้ 20 = 1 n 6 n = 120 เหรียญ ตอบ ตัวอย่างที่ 58 วัตถุทรงกระบอกตันสม่าเสมอสูง 10 ซม. เส้นผ่านศูนย์กลาง 5 ซม. หนัก 1 กก. วาง ตั้งบนพื้นเอียงที่เปลี่ยนมุมได้ ถ้าสัมประสิทธิ์ของความเสียดทานของพื้นเอียง = 0.45 จงหาว่าเมื่อ ยกพื้นเอียงขึ้นช้าๆ ก. วัตถุจะเริ่มเคลื่อนที่ลงเมื่อพื้นเอียงเป็นมุม tan เท่ากับเท่าไร ข. วัตถุจะเริ่มล้มเมื่อยกพื้นเอียงเป็นมุม tan เท่ากับเท่าไร (ถ้าวัตถุไม่เลื่อนลงเสียก่อน) ค. กรณีข้างบนวัตถุจะล้มก่อนเมื่อเลื่อนลงหรือเลื่อนลงก่อนจะล้ม วิธีทา ก. วัตถุเริ่มไถลลงจากพื้นเอียงจะได้แรงต่างๆ ดังรูป  Fเอียง = 0
  • 21. จะได้ f = mgsin mgcos = mgsin  = tan  มุมพื้นเอียงจะได้ tan =  = 0.45 ตอบ ข.ถ้าวัตถุล้มแสดงว่าแนวน้าหนักตกที่มุมฐานพอดี ดังรูป จากรูปจะได้ tan = 5 = 0.5 10 ดังนั้นมุมพื้นเอียง tan = 0.5 ค.จากกรณีข้างบนแสดงว่าวัตถุไถลลงก่อนที่จะล้ม ตัวอย่างที่ 59 โต๊ะจัตุรัสตัวหนึ่งมี 4 ขา อยู่ที่กึ่งกลางของด้านทั้ง 4 ตามลาดับ จงหาน้าหนักที่มาก ที่สุดที่จะเอามาวางที่มุมมุมหนึ่ง เพื่อทาให้โต๊ะตัวนั้นยังไม่ล้ม วิธีทา โต๊ะล้มก็ต่อเมื่อแนวน้าหนักรวมตกอยู่ที่ฐานพอดี ให้ออกแรงกดโต๊ะที่มุม F = X MG = 0 X x GF = W x GE  X = W ( GF = GE)  ต้องออกแรงกดโต๊ะมากที่สุดเท่ากับน้าหนักโต๊ะ ตัวอย่างที่ 60 มีอิฐอยู่จานวนหนึ่งทุกก้อนเป็นแผ่นสี่เหลี่ยมและมีขนาดเท่าๆ กัน ซึ่งกว้าง 4 นิ้ว ยาว 8 นิ้ว ถ้านาอิฐเหล่านี้มาวางซ้อนกันให้ด้านข้างเสมอกัน แต่เหลื่อมกันทางด้านยาวแผ่นละ 1 นิ้ว ให้ หาว่าจะเรียงก้อนอิฐเหล่านี้ให้ซ้อนกันได้อย่างมากกี่แผ่น จึงจะล้มพอดี
  • 22. วิธีทา ให้น้าหนักของอิฐแต่ละแผ่น = W ให้เรียงอิฐ = n แผ่น (ไม่คิดแผ่นล่าง) ให้อิฐยาว = L และเหลี่ยมกัน = x อิฐจะไม่ล้มเมื่อน้าหนักอิฐรวมตั้งแต่แผ่นที่ 2 เป็นต้นไปตกอยู่ที่จุด B  MA = 0 จะได้ L(nW) = W( L + x) + W( L + 2x)+ ….. + W( L + nx) 2 2 2 nL = nL + (x + 2x + 3x +….+ nx) 2 nL = x n (1+n) 2 2 L = x (1+ n) n = L -1 x L = 8 นิ้ว, x = 1 นิ้ว ; n = 8 1 = 7 1 เพราะฉะนั้นจานวนแผ่นอิฐทั้งหมดเท่ากับ 7 + 1 = 8 แผ่น 4.11ตัวอย่างการใช้หลักสมดุล หลักสมดุลของแรงและโมเมนต์นั้นมีอยู่มากมายในชีวิตประจาวัน เช่น ใช้กับเครื่องผ่อน แรงชนิดต่างๆ ได้แก่ ไขควง คีมตัดลวด กว้าน ระบบรอก คานงัด เป็นต้น การผ่อนแรงของเครื่องมือชนิดต่างๆ แยกพิจารณาได้ดังนี้ คีมตัดลวด ให้ F1 คือ แรงที่กระทากับด้ามจับของคีมตัดลวด F2 คือ แรงที่ลวดกระทากับคีม ณ จุดที่คีมตัดลวด พิจารณาแรงที่รูป ข. จะได้ MO = 0
  • 23. F1.D = F2.d F2 = D F1 d กรณีไขควง ให้ F1 คือ แรงที่กระทากับด้ามของไขควง และ R คือรัศมีของด้ามไขควง F2 คือ เป็นแรงที่ตะปูควงทากับปลายไขควง และ r คือรัศมีของปลายไขควง พิจารณาแรงที่รูป ข. จะได้ MO = 0 F1(2R) = F2(2r) F2 = R F1 r อัตราส่วนระหว่าง F2 ในคีมตัดลวด และไขควงเรียกว่า การได้เปรียบเชิงกล F1
  • 24. การผ่อนแรงของกว้าน ให้ออกแรง F ที่แขนของกว้านเพื่อยกน้าหนัก W แขนของกว้านยาว l และรัศมีของเพลาเท่ากับ r จากรูป ข. จะได้ MO = 0 W. r = F . l W = l F r อัตราส่วนระหว่าง W เรียกว่า การได้เปรียบเชิงกล F ตัวอย่างที่ 61 มีดควั่นอ้อยอันหนึ่ง มีด้ามจับห่างจากจุดหมุน 25 เซนติเมตร ตา แหน่งที่วางอ้อยห่าง จากจุดหมุน 5 เซนติเมตร ถ้าอ้อยแต่ละท่อนต้องใช้แรงตัด 30 นิวตัน เราต้องใช้แรงกดที่มีด ควั่นอ้อยน้อยที่สุดเท่าไรจึงจะทาให้อ้อยขาดพอดี (ไม่คิดน้าหนักของตัวมีด)
  • 25. วิธีทา พิจารณาแรงที่รูป ข. MO = 0 F x 25 = 30 x 5 F = 30 x 5 = 6 นิวตัน 25 ตัวอย่างที่ 62 กว้านดังรูปมีแขนหมุน 2 ฟุต ถ้าไม่คิดความเสียดทาน การได้เปรียบเชิงกลจะเป็น เท่าใดถ้าออกแรง 50 นิวตัน ยกน้าหนักได้จริง 150 นิวตัน ประสิทธิภาพเป็นเท่าใด ? วิธีทา การได้เปรียบเชิงกล = l = 2 = 8 เท่า r 0 . 25 หาน้าหนักที่ควรจะยกได้จาก  M O = 0 จากรูป W.r = F.l W x 0.25 = 50 x 2 W = 400 กว้านดังรูป ควรจะยกน้าหนักได้ = 400 นิวตัน แต่กว้านนี้ยกน้าหนักได้เพียง = 150 นิวตัน ดังนั้นประสิทธิภาพ = 150 x 100 = 37.5 % 400 *****************************************************************************