SlideShare a Scribd company logo
1 of 91
Download to read offline
บทที่ 2
สารรอบตัว
Teacher : Miss Thidarat Soyjak
  The learning area of Science
   Yasothonpittayakom school
กิจกรรม 2.1
ของแข็ง ของเหลว และแก๊ส
ตอนที่ 1
การเป่าลมในท่อแก๊ส          การเปลี่ยนแปลงของเม็ดโฟม
เป่าลมอย่างช้า ๆ เบา ๆ เม็ดโฟมสั่น แต่อยู่กับที่และอยู่ชิดติดกัน
เป่าลมแรงขึ้นเม็ดโฟมสั่น เคลื่อนที่แยกห่างจากกันไปทั่วก้นภาชนะ
                         ปริมาตรเพิ่มขึ้นเล็กน้อย
     เป่าลมแรงที่สุด     เม็ดโฟมสั่น และฟุ้งกระจายแยกออก
                         จากกันอย่างรวดเร็วทั่วขวดพลาสติก
สรุป : ตอนที่ 1
- การเป่าลมอย่างช้าๆ เบาๆ ไปยังเม็ดโฟมเป็นแบบจาลองที่
แทนการจัดเรียงอนุภาคสารในสถานะของแข็ ง ทุกอนุภาค
สั่นสะเทื อนตลอดเวลาแต่อยู่ตาแหน่งเดิม และอนุภาคอยู่ชิด
ติดกัน มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคมาก ทาให้ของแข็งคง
รูปอยู่ได้
- การเป่ าลมแรงขึ้น ไปยังเม็ ด โฟมเป็ นแบบจาลองที่แทน
  การจัดเรียงอนุภาคสารในสถานะของเหลว ทุกอนุภาคมี
  การสัน ห่างกันเล็กน้อย มีการเคลือนตัวและกระจายอยู่ทั่ว
       ่                          ่
  กันภาชนะ จึงมีปริมาตรเพิ่มขึ้น ทาให้ความหนาแน่นและ
  แรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อยกว่าของแข็ง
- การเป่าลมแรงที่สุด ไปยังเม็ด โฟมเป็นแบบจาลองที่แทน
  การจัดเรียงอนุภาคสารในสถานะแก๊ส ทุกอนุภาคมีการ
  เคลื่อนทีอยู่ตลอดเวลาอย่างรวดเร็ว ฟุ้งกระจายเต็มภาชนะ
           ่
  ทาให้ความหนาแน่นและแรงยึดเหนี่ยวระหว่างอนุภาคน้อย
  กว่าของเหลวและของแข็งมาก
- อนุภาคของสารในสถานะของแข็ง ของเหลว แก๊ส มีการ
  จัดเรียงอนุภาค ระยะห่างระหว่างอนุภาค แรงยึดเหนี่ยว
  ระหว่างอนุภาค และการเคลื่อนที่ของอนุภาคที่แตกต่างกัน
  ทาให้สารมีสมบัติที่แตกต่างกัน สถานะและความหนานาน
  เป็นสมบัติทางกายภาพของสาร
ตอนที่ 2
      กิจกรรม           การเปลี่ยนแปลงทีเกิดขึน/สิงทีสงเกต
                                        ่ ้ ่ ่ ั
 พิจารณาลักษณะและ เป็นของแข็ง เป็นผลึกท่อนเล็กๆ สีม่วงเข้ม
    รูปร่างด่างทับทิม เกือบดา มันวาว
ใส่เกล็ดด่างทับทิมในน้า เกล็ดด่างทับทิมจมที่ก้นบึกเกอร์ และที่
                        บริเวณรอบ ๆ เกล็ดด่างทับทิม จะเห็นสี
                        น้าเป็นสีม่วงเข้มแพร่กระจายคล้ายควัน
                        เคลื่อนที่ผสมกับน้าในบีกเกอร์อยู่ประมาณ
                        2-3 นาที แล้วสารละลายจะกลายเป็นสี
                        ม่วงทั้วทั้งบีกเกอร์ โดยไม่ต้องคนสาร
ตอนที่ 2
     กิจกรรม            การเปลี่ยนแปลงทีเกิดขึน/สิงทีสงเกต
                                        ่ ้ ่ ่ ั
เปิดฝาขวดที่มีสาลีชุบ ได้กลิ่นแอมโมเนียฟุ้งกระจายไปทั่วห้องอย่าง
สารละลายแอมโมเนีย รวดเร็ว แต่ไม่สามารถมองเห็นอนุภาคใดๆ
   บรรจุอยู่ภายใน ในอากาศได้
- เกล็ ด ด่ า งทั บ ทิ ม เปรี ย บเที ย บได้ กั บ แบบจ าลอง
  อนุภาคของแข็ง ที่คงรูปอยู่ได้
- ด่างทับทิมผสมกับน้า เปรียบเทียบได้กบแบบจาลอง   ั
  อนุภาคของเหลว
- ได้ กลิ่นแอมโมเนียฟุ้งกระจายอย่างรวดเร็ ว และ
  มองไม่ เ ห็ น อนุ ภ าคใดๆ ในอากาศ เปรี ย บได้ กับ
  แบบจาลองอนุภาคของแก๊ส
- อธิ บ ายสถานะของสารโดยใช้ แ บบจ าลองการ
  จัดเรียงอนุภาคของสารตอนที่ 1
?     ของแข็งมีความหนานานมากกว่า
ของเหลวเสมอไปหรือไม่
- ไม่เสมอไป เพราะของแข็งอาจมีความหนาแน่น
  น้อยกว่าของเหลวได้ เช่น ปรอท ทั้งนี้เป็นเพราะ
  เป็นสมบัติเฉพาะตัวของสารที่มีมวลต่อปริมาตร
  ต่างกัน
มวล
ความหนานแน่น =
               ปริมาตร
             𝒎
        𝝆=
             𝑽
? เพราะเหตุใดน้าแข็งจึงลอยน้าได้
- เพราะสารที่มีความหนาแน่นต่ากว่าจะ
  ลอยอยู่ บ นสารที่ มี ค วามหนาแน่ น
  มากกว่า
? ทาไมโคมจึงลอยอยู่ในอากาศได้
ในระดับสูงที่แตกต่างกัน
- เพราะความหนาแน่นของอากาศในแต่
  ละระดับมีความแตกต่างกัน
? ทาไมเรือที่ทาจากเหล็กจึงลอยที่
ผิวน้าได้
- มวลต่ อ ปริ ม าตรหรื อ ความหนาแน่ น
ของเรือน้อยกว่าน้า
? ทาไมน้าที่   80๐C        จึงมีความหนาแน่น
น้อยกว่าน้าที่ 4 ๐C

- น้ าที่ อุ ณ หภู มิ สู ง ขึ้ น อนุ ภ าคจะมี
พลั ง งานจลน์ สู ง ด้ ว ย ท าให้ ร ะยะห่ า ง
ระหว่างอนุภาคมีมากขึ้น ความหนาแน่น
จึงน้อยลง
? อุณหภูมิของสารเปลี่ยนแปลงมี
ผลต่อสารอย่างไร
- การจัดเรียงอนุภาคของสาร ระยะห่างระหว่าง
อนุ ภ าคโมเลกุ ล แรงยึ ด เหนี่ ย วระหว่ า งโมเลกุ ล
เปลี่ยนแปลงด้วย ทาให้ความหนาแน่นและสถานะ
ของสารเปลี่ยนแปลงไปด้วย
2.2 ความร้อน
? อุณหภูมิของน้าหนึ่งหยดกับอุณหภูมิของน้า
ร้อนในภาชนะเท่ากันหรือไม่เพราะเหตุใด
- โดยปกติจะเท่ากัน แต่เนื่องจากมีการถ่าย
โอนความร้อนจากน้ าสู่ หลอดแก้วและ
สิ่งแวดล้อม อุณหภูมิของน้าร้อนหนึ่งหยดจึงต่า
กว่าอุณหภูมิของน้าในภาชนะ
? น้าร้อนหนึ่งหยดมีปริมาณความ
ร้อนน้อยกว่าน้าร้อนในภาชนะเพราะ
เหตุใด
- น้าร้อน 1 หยด มีอุณหภูมิและมวล
น้อยกว่าน้าในอ่าง
? ทาไมเมื่อจุ่มมือลงในน้าร้อนทีให้ไว้ในภาชนะ
                               ่
จึงรู้สึกร้อนมากกว่าน้าร้อน 1 หยด
- น้ าร้ อ นในภาชนะมี ป ริ ม าณความร้ อ น
มากกว่าน้าร้อน 1 หยด เมื่อมีการถ่ายโอน
ความร้อนมายังมือ ทาให้ร้สึกร้อนมากกว่า
                           ู
? ร่างกายปกติมีอุณหภูมิ   37๐C
          ๐F
  คิดเป็นกี่
𝑪        𝑭−𝟑𝟐
    =
𝟓          𝟗

𝟑𝟕        𝑭−𝟑𝟐
     =
 𝟓          𝟗

         𝑭−𝟑𝟐
7.4=
           𝟗

(7.4x9)+32= F

98.6 = F
2.3 ผลของความร้อนที่มีต่อ
 การเปลี่ยนแปลงของสาร
? อากาศในขวดและลูกโป่งมีการเปลี่ยนแปลง
อย่างไรเมื่อได้รับความร้อนและสูญเสียความ
ร้อน
- เมื่อได้รับความร้อนอากาศจะขยายตัว และ
เมื่อสูญเสียความร้อนอากาศจะหดตัว
? มวลของอากาศในสถานการณ์ดังกล่าวมี
การเปลี่ยนแปลงหรือไม่อย่างไร
- มวลอากาศในลูกโป่งไม่มีการเปลี่ยนแปลง
แต่การจัดเรียงตัวของอนุภาคของอากาศมีการ
เปลี่ยนแปลง
? ความหนาแน่นของอากาศที่อุณหภูมิต่ากับที่
อุณหภูมิสูงกว่า แตกต่างกันอย่างไร
- ความหนาแน่ น อากาศที่ อุ ณ หภู มิ ต่ าจะ
มากกว่าที่อุณหภูมิสูง
? ถ้าแก๊สสูญเสียความร้อน
ปริมาตรของแก๊สจะเป็นอย่างไร
- ลดลง
? บอลลูนลอยอยู่ได้ในระดับความสูงทีแตกต่าง
                                  ่
กันได้อย่างไร
- ความหนาแน่นของอากาศในระดับต่างกัน
มีค่าแตกต่างกัน
? ให้ยกตัวอย่างของแข็งที่ได้รับ
ความร้อนแล้วมีปริมาตรเพิ่มขึ้น
- เหล็ก คอนกรีต
? สารต่าง ๆ เมื่อได้รับความร้อน
มากขึ้นอย่างต่อเนื่องไปเรื่อยๆ จะ
มีผลอย่างไรกับสถานะของสาร
- เปลี่ยนสถานะ
กิจกรรม 2.2
อุณหภูมิกับการเปลี่ยนสถานะ
จุดประสงค์
1. หาจุดหลอมเหลวของน้าแข็ง จุดเดือด
   ของน้า
2. วั ด อุ ณ หภู มิ ข องน้ าระหว่ า งเปลี่ ย น
   สถานะ และนาเสนอข้อมูล
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1.  น้าแข็งทุบละเอียด                 10  cm3

2.  น้ากลั่น                           5 cm  3

3.  บีกเกอร์ขนาด 100 cm3               1 ใบ
4.  เทอร์มอมิเตอร์                     1 อัน
5.  ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมที่กั้นลม
     และตะแกรงลวด                      1 ชุด
6. ขาตั้งและที่จับหลอดทดลอง            1 ชุด
วิธีการทดลอง
ผลการทดลอง
เวลา (วินาที)   อุณหภูมิ (๐C)              การเปลียนแปลง
                                                   ่
      0               0         น้าแข็งละลายเล็กน้อย
    30                0         น้าแข็งละลายมากขึ้น
     60               0         น้าแข็งละลายมากขึ้นอีก
     90               0         น้าแข็งละลายหมด
    120               0         น้าแข็งละลายหมด
    150               5         อุณหภูมิของน้าเพิ่มขึ้น
    180               7         อุณหภูมิของน้าเพิ่มขึ้น
ผลการทดลอง
เวลา (วินาที)   อุณหภูมิ (๐C)                การเปลียนแปลง
                                                    ่
    210              15         อุณหภูมิของน้าเพิ่มขึ้น
    240              23         อุณหภูมิของน้าเพิ่มขึ้น
    270              35         อุณหภูมิของน้าเพิ่มขึ้น
    300              50         อุณหภูมิของน้าเพิ่มขึ้น
    330              65         อุณหภูมิของน้าเพิ่มขึ้น
    360              80         น้าเริ่มเดือด อุณหภูมิของน้าเพิ่มขึ้น
    390              94         น้าเดือด อุณหภูมิของน้าเพิ่มขึ้น
ผลการทดลอง
 เวลา อุณหภูมิ                      การเปลียนแปลง
                                           ่
(วินาที) (๐C)
 420     100     น้าเดือด   อุณหภูมิน้าไม่เปลี่ยนแปลง   น้ากลายเป็นไอ
 450     100     น้าเดือด   อุณหภูมิน้าไม่เปลี่ยนแปลง   น้ากลายเป็นไอ
 480     100     น้าเดือด   อุณหภูมิน้าไม่เปลี่ยนแปลง   น้ากลายเป็นไอ
 510     100     น้าเดือด   อุณหภูมิน้าไม่เปลี่ยนแปลง   น้ากลายเป็นไอ
 540     100     น้าเดือด   อุณหภูมิน้าไม่เปลี่ยนแปลง
กราฟ
สรุปผลการทดลอง
ขณะที่น้าแข็งกาลังหลอมเหลว กราฟเป็นเส้นขนานกับ
แกนนอน และเมื่อน้าแข็งหลอมเหลวหมดแล้ว เส้นกราฟ
มี ลั ก ษณะชั น ขึ้ น เป็ น เส้ น ตรง เมื่ อ น้ าเดื อ ดเป็ น ไอน้ า
เส้นกราฟจะขนานกับแกนนอน ช่วงที่อุณหภูมิคงที่มี 2
ช่วง คือ ขณะที่น้าแข็งหลอมเหลว และขณะที่น้าเดือด
กลายเป็นไอน้า อธิบายได้ว่าความร้อนที่น้าได้รับถูกใช้ไป
ทาให้น้าแข็งเปลี่ยนสถานะเป็นน้า และน้าเปลี่ยนสถานะ
เป็นไอน้า อุณหภูมิจึงคงที่
? น้าผสมน้าแข็งมีการเปลี่ยนแปลง
อุณหภูมิและสถานะอย่างไร
- ขณะที่ น้ าแข็ ง ก าลั ง หลอมเหลวเป็ น น้ า
น้ าแข็ ง จะเปลี่ ย นสถานะจากของแข็ ง เป็ น
ของเหลว แต่ อุณหภู มิจะไม่ เปลี่ยนแปลง คื อ
0  ๐C คงที่ จากนั้นเมื่อน้าหลอมเหลวอุณหภูมิ

จะสูงขึ้นเรื่อยๆ จนเท่ากับอุณหภูมิห้อง
?จุดเดือดและจุดหลอมเหลว
เป็นสมบัติเฉพาะตัวของสารหรือไม่
- ใ ช่ เ ช่ น มี เ ท น มี จุ ด เ ดื อ ด แ ล ะ จุ ด
หลอมเหลวไม่เท่ากับโพรเพนและบิวเทน และ
ไม่เท่ากับสารอื่นๆ เช่น น้า แอลกอฮอล์
? ตาราง 2.3 มีสารใดบ้าง
มี ส ถานะเป็ น ของแข็ ง ที่ อุ ณ หภู มิ
25  ๐C

- โซเดียม
? ถ้าต้องการเก็บเอทิลอีเทอร์ที่
เป็ นของเหลวโดยให้ กลายเป็ นไอ
น้อยที่สุด ควรจะเก็บไว้ที่อุณหภูมิ
ประมาณเท่าไร เพราะเหตุใด
- ต่ากว่าจุดเดือด คือ 34.4    ๐C
ของเหลว
การแข็งตัว                    การควบแน่น


               การระเหิด
   ของแข็ง                     แก๊ส
              การระเหิดกลับ
การระเหิด
ลูกเหม็น
การบูร หรือ แนพทาลีน
น้าแข็งแห้ง
การน้าความรู้เรื่องการเปลี่ยน
 สถานะไปใช้ในชีวิตประจ้าวัน
การท้าไอศกรีม
การตกแต่งเวทีแสดงละคร ดนตรี
เครื่องท้าความเย็น
2.4 การถ่ายโอนความร้อน
กิจกรรม 2.3
การพาความร้อนของน้า
จุดประสงค์
1. ทดลองและอธิบายการถ่ายโอนความ
   ร้อนของน้า
2. อธิบายการพาความร้อนของน้า
3. ยกตัวอย่างการนาความรู้เรื่องการนา
   ความร้อนไปใช้ประโยชน์
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1.  ด่างทับทิม                        ช้อนเบอร์ 1
2.  น้ากลั่น                          250 cm   3

3.  บีกเกอร์ขนาด 250 cm3               1 ใบ
4.  เทอร์มอมิเตอร์                     2 อัน
5.  ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมที่กั้นลม
     และตะแกรงลวด                      1 ชุด
6. ขาตั้งและที่จับหลอดทดลอง            2 ชุด
วิธีการทดลอง
ผลการทดลอง
 เวลา อุณหภูมของน้า (๐ อุณหภูมของน้า
                ิ               ิ                     การเปลียนแปลงทีสงเกตได้
                                                             ่       ่ ั
(วินาที) C) ที่กนบีกเกอร์ (๐C) ที่ผิวน้า
                  ้
  0            30               28         เกล็ดด่างทับทิมจมลงที่ก้นบีกเกอร์
  30           32               29         เกล็ดด่างทับทิมละลายสารละลายมีสีม่วง
  60           35               31         สีม่วงเคลื่อนที่ลอยขึ้น
  90           38               35         สีม่วงเคลื่อนที่ลอยขึ้นเป็นทางยาว
 120           40               38         สีม่วงเคลื่อนที่ลอยขึ้นถึงผิวบนแล้ววนลงมา
 150           43               40         สีม่วงเคลื่อนที่วนลงมาแล้วขึ้นไปคล้ายวงกลม
                                           และกระจายสารละลายเป็นสีชมพู
ผลการทดลอง
 เวลา อุณหภูมของน้า (๐ อุณหภูมของน้า
                ิ               ิ                      การเปลียนแปลงทีสงเกตได้
                                                              ่       ่ ั
(วินาที) C) ที่กนบีกเกอร์ (๐C) ที่ผิวน้า
                  ้
 180           45              43          สีชมพูเคลื่อนที่ลักษณะเดียวกับสีม่วง
                                           เคลื่อนไปที่ผิวน้าและวนลงมาด้านล่าง
 210           46              44          สีชมพูกระจายในสารละลายบางส่วน
 240           49               48         สีชมพูกระจายในสารละลายเพิ่มขึ้น
 270           50               49         สีชมพูกระจายในสารละลายส่วนใหญ่
 300           51               51         สารละลายสีชมพูกระจายทั่วบีกเกอร์
สรุปผลการทดลอง
การกระจายสีของด่างทับทิมในน้ามีการเปลี่ยนแปลง สี
ของด่ า งทั บ ทิ ม จะเคลื่ อ นที่ จ ะเคลื่ อ นที่ จ ากก้ น บี ก เกอร์
ลอยตั ว สู ง ขึ้ น แล้ ววนกลั บมาที่ ก้ น บี กเกอร์ อี ก เพราะ
อนุภาคน้าที่พาสีของด่างทับทิมด้านล่างจะพาความร้อน
มาด้ ว ย ท าให้ อ นุ ภาคน้ าที่ อ ยู่ ร อบๆ มี ความหนาแน่ น
มากกว่า เข้าแทนที่อุณหภูมิของเทอร์มอมิเตอร์อันบนจึง
สูงขึ้น และสีของด่างทับทิมจะกระจายทั่วบีกเกอร์
กิจกรรม 2.4
การนาความร้อน
จุดประสงค์
1. ทดลองการถ่ า ยโอนความร้ อ นของ
   โลหะ
2. อธิบายการนาความร้อนของโลหะ
3. ยกตัวอย่างการนาความรู้เรื่องการนา
   ความร้อนไปใช้ประโยชน์
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1. เทียนขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง        1 เล่ม
    1x15 cm
2. แผ่นอะลูมิเนียมขนาด 2x20 cm        1 แผ่น
3. ชุดตะเกียงแอลกอฮอล์พร้อมที่กั้นลม
     และตะแกรงลวด                     1 ชุด
6. ขาตั้งและที่จับหลอดทดลอง           1 ชุด
วิธีการทดลอง
ผลการทดลอง
หยดเทียนที่อยู่ใกล้เปลวไฟจะตกมาก่อน
ตามด้วยหยดเที ย นที่ อ ยู่ ไกลออกไป
ตามลาดับ
สรุปผลการทดลอง
หยดเทียนที่อยู่ใกล้เปลวไฟตกมาก่อน เนื่องจากความร้อน
ถ่ายโอนไปยังอนุภาคของอะลูมิเนียมที่อยู่ใกล้เปลวไฟก่อน
ทาให้ อนุ ภาคของอะลู มิเนี ยมสั่ นมากขึ้ น และไปชนกั บ
อนุภาคที่อยู่ติดกัน ทาให้อนุภาคที่อยู่ติดกันสั่นมากขึ้น ทา
ให้ความร้อนถ่ายโอนจากปลายด้านหนึ่งไปสู่ปลายอีกด้าน
หนึ่ ง ได้ โดยการสั่ น ของอนุ ภ าค เรี ย กการถ่ า ยโอน
พลังงานนี้ว่า การนาความร้อน
? หยดเทียนมีการเปลี่ยนแปลง
อย่างไร เพราะเหตุใด
- ความร้อนจากโลหะอะลูมิเนียมจะถ่ายโอน
ความร้อนให้หยดเทียนหลอมละลายหยดลงมา
เพราะโลหะได้รับความร้อนจากแอลกอฮอล์ทา
ให้อนุภาคโลหะสั่นมากขึ้น แล้วชนกับอนุภาคที่
ติดกันสั่นมากขึ้นตามไปด้วย
? อะลูมิเนียม ทองแดง เหล็ก
แก้ว วัสดุใดมีความสามารถในการนา
ความร้อนได้ดีกว่ากัน มีวิธีการตรวจสอบ
เพื่อหาคาตอบได้อย่างไร
- มากไปน้ อ ย คื อ ทองแดง อะลู มิ เ นี ย ม
เหล็ก แก้ว
 ฉนวนความร้อน คือ วัตถุที่นาความ
  ร้อนได้น้อยมาก เช่น ไม้ พลาสติก
  อากาศ
 ตัวกลาง คือ อนุภาคทีเป็นตัวส่งผ่าน
                      ่
ตารางการนาความร้อนและฉนวน
ความร้อนของร้อน จากมากไปน้อย
  ตัวน้าความร้อน ฉนวนความร้อน
         เงิน      สุญญากาศ
      ทองแดง         อากาศ
     อะลูมิเนียม      คอร์ก
        เหล็ก         แก้ว
       ตะกั่ว          น้า
กิจกรรม 2.5
การดูดซับความร้อนของ
  วัตถุที่มีสีผิวต่างกัน
จุดประสงค์
1.   ทดลองสีของวัตถุกับการรับพลังงานความร้อน
2.   ทดลองการถ่ายโอนความร้อนโดยการแผ่รังสี
3.   อธิบายการถ่ายโอนความร้อนโดยการแผ่รังสี
4.   ยกตัวอย่างการแผ่รังสีไปใช้ประโยชน์
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1. แผ่นโลหะชนิดแข็ง 2 แผ่น มีขนาดเท่ากัน
   แผ่นหนึ่งสีขาว และอีกแผ่นทาสีดา
   มีที่ติดเทอร์มอมิเตอร์ตรงกลาง         2 แผ่น
2. เทอร์มอมิเตอร์                        2 อัน
3. หลอดไฟ                                1 ดวง
วิธีการทดลอง
ผลการทดลอง
 อุณหภูมิของ อุณหภูมิของ
แผ่นโลหะสีขาว แผ่นโลหะสีด้า
    ต่้ากว่า     สูงกว่า
สรุปผลการทดลอง
      ความร้อนจากหลอดไฟเป็นความร้อนจากรังสีอิน
ฟาเรด เป็ น คลื่ น แม่ เ หล็ ก ไฟฟ้ า โลหะทั้ ง สองสี มี
ความสามารถในการดูดซับความร้อนจากรังอิน ฟาเรด
ได้ แตกต่ างกัน โลหะสีดาจะดูดซับความร้ อนได้ดีกว่า
โลหะสีขาว
      การถ่ายโอนความร้อนโดยไม่มีตัวกลาง เรียกว่า
การแผ่รังสี
? วิธีใดเปรียบได้กับการถ่ายโอนความร้อน
แบบการนา การพา และการแผ่รงสี  ั
- แบบที่ 1 การนาความร้อน เพราะสิ่งของที่ส่งไปนั้น
  ผู้ส่งไม่เคลื่อนที่
- แบบที่ 2 การพาความร้อน เพราะสิ่งของที่ส่งมี
   ผู้นาไปส่งทาให้เคลื่อนที่ไป
- แบบที่ 3 การแผ่รังสี เพราะสิ่งของที่ส่งนั้น ไม่ได้
   อาศัยตัวกลางในการส่ง
? ความรู้เรื่องการนาและการพาความร้อน
นามาใช้ประโยชน์ในชีวิตประจาวันได้อย่างไร
-   การติดเครื่องปรับอากาศในห้องทางาน
-   การต้มน้าแบบขดลวด
-   กระติกเก็บน้าร้อน
2.5 การจัดกลุ่มสาร
ตามลักษณะเนื้อสาร
และขนาดของอนุภาค
สารเนือเดียว
คือ สารที่มีองค์ประกอบ และสมบัติของ
สารเหมือนกันทุกส่วน มองด้วยตาเปล่า
คล้ายเป็นสารเพียงชนิดเดียว อาจเป็น
สารเพียงชนิดเดียวหรือหลายชนิดก็
ได้ ได้แก่
• สารบริสุทธิ์ ( ธาตุ, สารประกอบ )
  เป็นสารเพียงชนิดเดียวไม่มีสารอื่นเจือปน มีสมบัติ
  เฉพาะตัวคงที่ และเมื่อสลายตัวให้สารใหม่มีสมบัติ
  แตกต่างไปจากเดิม
• สารละลาย ( ของผสมเนื้อเดียว )
  ประกอบด้วยตัวถูกละลาย และตัวทาละลายปนกัน
  กลมกลืน มีสมบัติเปลี่ยนแปลงตามอัตราส่วนของตัวถูก
  ละลายและตัวทาละลาย
• สารเนือผสม คือ สารที่มีเนื้อไม่กลมกลืนกันตลอด
                    ้
              (แต่อาจมองเห็นไม่ชัด)เกิดจากการผสมสารตั้งแต่
              2 ชนิดขึ้นไปเข้าด้วยกัน ได้แก่
 สารคอลลอยด์
 เกิดจากอนุภาคของสารขนาดเล็กๆ เส้นผ่านศูนย์กลางระหว่าง 10-7 ถึง
 10-4 cm. กระจายปนอยู่ในตัวกลางได้โดยไม่ตกตะกอน สารทีมอนุภาคขนาด
                                                           ่ ี
 นี้สามารถผ่านกระดาษกรองได้ แต่ผ่านแผ่นเซลโลเฟนไม่ได้ เช่น นมสด วุ้น
 เจลลี่ หมอก สเปรย์ เป็นต้น
สารแขวนลอย
 คือ สารเนือผสมทีมอนุภาคองค์ประกอบขนาดใหญ่กว่า 10-4 cm. แขวนลอย
            ้       ่ ี
 อยู่ในตัวกลาง เมื่อทิงไว้จะตกตะกอนได้เอง ไม่สามารถผ่านกระดาษกรอง
                        ้
สมบัติทั่วไปของคอลลอยด์
1. เมื่อผ่านลาแสงเกิดปรากฏการณ์ Tyndall effect
 2. อนุภาคมีการเคลือนที่แบบบราวน์เนียน
                   ่
3. อนุภาคคอลลอยด์มประจุไฟฟ้า อาจเป็นบวกหรือลบก็ได้
                     ี
    ซึ่งสามารถถูกดูดด้วยขัวไฟฟ้าตรงกันข้ามในสนาม
                           ้
4. อนุภาคโดยทัวจะไม่ตกตะกอน เพราะมีการเคลือนที่
               ่                            ่
   ตลอดเวลา
 5. อาจกล่าวโดยสรุป คอลลอยด์จะมีสมบัตเกียวกับแสง
                                        ิ ่
    การเคลื่อนทีและสมบัตทางประจุไฟฟ้า
                 ่       ิ
ชนิดของคอลลอยด์
  คอลลอยด์มีหลายชนิด มีชื่อเรียกต่างๆกัน ขึ้นอยู่กับสถานะ
  อนุภาคกับสถานะของตัวกลาง
1 .แอโรซอล เป็นคอลลอยด์ที่มีสถานะอนุภาคเป็นของแข็ง
หรือของเหลวในสถานะของตัวกลางที่เป็นก๊าซ ตัวอย่างเช่น
เมฆ หมอก ฝุ่นละอองในอากาศ
2.เจล เป็นคอลลอยด์ที่มีสถานะอนุภาคเป็นของแข็งในสถานะ
ตัวกลางที่เป็นของเหลวตัวอย่างเช่น เยลลี่ วุ้น ยาสีฟัน แยม
ชนิดของคอลลอยด์
  3. โฟม เป็นคอลลอยด์ที่มีสถานะของอนุภาคเป็นก๊าซ ใน
สถานะตัวกลางที่เป็นทั้งของแข็งและของเหลว ตัวอย่างเช่น
ฟองสบู่ ครีมโกนหนวด
   4. อิมัลชัน เป็นคอลลอยด์ที่มีอนุภาคเป็นของเหลวแขวนลอยอยู่ใน
             ่
ตัวกลางที่เป็นของเหลว ซึ่งไม่ละลายเข้าด้วยกัน จึงต้องอาศัยสารอีก
ชนิดหนึ่งมาเป็นตัวกลางเชื่อมประสานของเหลวนั้นจนละลาย เท่ากัน
เป็นคอลลอยด์ ตัวเชื่อมนี้เรียกว่า อิมัลซิฟาย-เออร์ ตัวอย่าง อิมัลชั่น
เช่น น้ากับน้ามัน โดยมีสบู่เป็นตัวเป็นตัวเชื่อม
ชนิดของคอลลอยด์
         5. อิมัลซิฟายเออร์ คือ สารที่เติม
ลงไปเพื่อทาหน้าที่เป็นตัวเชื่อม หรือประสาน
ของเหลวตั้งแต่สองชนิดขึ้นไป ให้อนุภาค
กระจายไปทั่วได้ เช่น สบู่ ผงซักฟอกไข่
แดง เคซิน และน้าดี
การเปรียบเทียบ       สารละลาย         คอลลอยด์          สารแขวนลอย
   ตัวอย่างสาร     สารละลาย CuSO4          นมสด          นมสดผสมกรด

  ลักษณะเนื้อสาร      เนื้อเดียว       เนื้อเดียว          เนื้อผสม

   ขนาดเส้นผ่าน    น้อยกว่า 10-7 cm 10-7   ถึง 10-4cm   มากกว่า 10-4cm
ศูนย์กลางของอนุภาค
    การลอดผ่าน             ได้              ได้              ไม่ได้
   กระดาษกรอง
 การลอดผ่านถุงเซล          ได้             ไม่ได้            ไม่ได้
       โลเฟน
    ปรากฏการณ์           ไม่เกิด           เกิด              เกิด
      ทินดอลล์
กิจกรรม 2.6
การตรวจสอบขนาดของ
      เนื้อสาร
จุดประสงค์
1.สารวจ สังเกต อธิบายสมบัติและยกตัวอย่างสาร
  แขวนลอย คอลลอยด์ และสารละลายที่ พ บใน
  ชีวิตประจาวัน
2.ทดลองและเปรียบเทียบขนาดของอนุภาคสาร โดย
  ใช้กระดาษกรองและเซลโลเฟน
3.จั ดกลุ่ มสารโดยใช้ อนุ ภาคสารเป็ นเกณฑ์ ในการ
  จัดเป็นสารแขวนลอย คอลลอยด์ และสารละลาย
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
1.   น้าโคลนหรือน้าแป้งดิบ     20  cm3

2.   นมสดหรือน้าแป้งสุก        20 cm  3

3.   น้าหวานที่ใส่สี           20 cm3
4.   บีกเกอร์ขนาด 50 cm3       3 ใบ
5.   บีกเกอร์ขนาด 250 cm3      3 ใบ
6.   กระดาษกรองขนาด 11cm       3 แผ่น
7.   กระดาษเซลโลเฟนขนาด 10x10cm 3 แผ่น
วัสดุอุปกรณ์และสารเคมี
8. กรวยพลาสติก          1 อัน
9. ขวดรูปกรวยขนาด 250   1 อัน
10. แท่งแก้วคนสาร       1 อัน
11. ขาตั้งพร้อมที่จับ   1 ชุด
12. ยางรัดของ           3 เส้น
13. ช้อนตักสารเบอร์ 2   1 อันผ่น
วิธีการทดลอง
ผลการทดลอง
                                                ผลที่สงเกต
                                                      ั
             ลักษณะของเหลว
สารตัวอย่าง                   เมื่อกรองด้วยกระดาษกรอง เมื่อผ่านถุงเซล
                ที่สังเกตได้
                                                       โลเฟน
 น้าแป้งดิบ สีขาวขุ่น มีตะกอน มีตะกอนขาวติดอยู่บน      น้าในบีกเกอร์ไม่
                              กระดาษกรอง และได้        เปลี่ยนแปลง
                              ของเหลวใส
 น้าแป้งสุก ของเหลวขุ่น       ไม่มีสารตกค้างบนกระดาษ น้าในบีกเกอร์ไม่
            เล็กน้อย ไม่มี    กรอง และได้ของเหลวขุ่น เปลี่ยนแปลง
            ตะกอน             เล็กน้อย
  น้าหวาน ของเหลวใสมีสี       ได้ของเหลวใสมีสีเดียวกับ น้าในบีกเกอร์มีสี
                              น้าหวาน                  เดียวกับน้าหวาน
สรุปผลการทดลอง
น้าแป้งดิบ   สารแขวนลอย
น้าแป้งสุก   คอลลอยด์
น้าหวาน      สารละลาย
สาร เนือสารเป็นเกณฑ์
  สารเนือเดียว         คอลลอยด์    สารเนือผสม
สารละลาย สารบริสุทธิ์              สารแขวนลอย

        ธาตุ     สารประกอบ

โลหะ    อโลหะ     กึ่งโลหะ
สาร
                        ความบริสุทธิ์เป็นเกณฑ์
  สารบริสุทธิ์                    สารผสม
ธาตุ   สารประกอบ    สารเนือเดียว คอลลอยด์ สารเนือผสม

โลหะ   อโลหะ กึ่งโลหะ   สารละลาย        สารแขวนลอย

More Related Content

What's hot

ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4Wijitta DevilTeacher
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมีThanyamon Chat.
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศSupaluk Juntap
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์Ta Lattapol
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่Supaluk Juntap
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกพัน พัน
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมmedfai
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศSupaluk Juntap
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศdnavaroj
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงsmEduSlide
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงานPhanuwat Somvongs
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนKobwit Piriyawat
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)Pinutchaya Nakchumroon
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102พัน พัน
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานWeerachat Martluplao
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสงPinutchaya Nakchumroon
 

What's hot (20)

ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
ฟิสิกส์ 5 ไฟฟ้าสถิตย์ ตอนที่ 4
 
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point   ปฏิกิริยาเคมีMicrosoft power point   ปฏิกิริยาเคมี
Microsoft power point ปฏิกิริยาเคมี
 
บรรยากาศ
บรรยากาศบรรยากาศ
บรรยากาศ
 
บทที่ 5 เอกภพ
บทที่ 5  เอกภพบทที่ 5  เอกภพ
บทที่ 5 เอกภพ
 
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
กล้องจุลทรรศน์ (Microscope)
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์บทที่ 6 ดาวฤกษ์
บทที่ 6 ดาวฤกษ์
 
แสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็นแสงและการมองเห็น
แสงและการมองเห็น
 
แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่แรงและการเคลื่อนที่
แรงและการเคลื่อนที่
 
ส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลกส่วนประกอบของโลก
ส่วนประกอบของโลก
 
การแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสมการแยกสารเนื้อผสม
การแยกสารเนื้อผสม
 
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
ลมฟ้าอากาศ บรรยากาศ
 
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศแบบทดสอบ สาระที่ 7    ดาราศาสตร์และอวกาศ
แบบทดสอบ สาระที่ 7 ดาราศาสตร์และอวกาศ
 
โลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลงโลกและการเปลี่ยนแปลง
โลกและการเปลี่ยนแปลง
 
โครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟีโครมาโทกราฟี
โครมาโทกราฟี
 
02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน02แบบฝึกพลังงาน
02แบบฝึกพลังงาน
 
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อนเอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
เอกสารประกอบการเรียนรู้เรื่องพลังงานความร้อน
 
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)บทที่ 6   ดาวฤกษ์ (star)
บทที่ 6 ดาวฤกษ์ (star)
 
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
ใบความรู้ เรื่อง พลังงานความร้อน วิทยาศาสตร์ 2 ว 21102
 
แผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงานแผนการสอนงานและพลังงาน
แผนการสอนงานและพลังงาน
 
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12  การสังเคราะห์แสงบทที่ 12  การสังเคราะห์แสง
บทที่ 12 การสังเคราะห์แสง
 

Viewers also liked

เรื่องสารรอบตัว ครูเจริญ มีเหมือน
เรื่องสารรอบตัว  ครูเจริญ  มีเหมือนเรื่องสารรอบตัว  ครูเจริญ  มีเหมือน
เรื่องสารรอบตัว ครูเจริญ มีเหมือนkkrunuch
 
สารรอบตัว
สารรอบตัวสารรอบตัว
สารรอบตัวchiralak
 
ใบความรู้+การจำแนกสารที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f03-...
ใบความรู้+การจำแนกสารที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f03-...ใบความรู้+การจำแนกสารที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f03-...
ใบความรู้+การจำแนกสารที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f03-...Prachoom Rangkasikorn
 
สารรอบตัว
สารรอบตัวสารรอบตัว
สารรอบตัวNetiie Thanaporn
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่npapak74
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันJariya Jaiyot
 
สารเคมีในชีวิตประจำวันตอนที่ 1
สารเคมีในชีวิตประจำวันตอนที่ 1สารเคมีในชีวิตประจำวันตอนที่ 1
สารเคมีในชีวิตประจำวันตอนที่ 1Kru Jariya Taemsri
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงพัน พัน
 
วิชาวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...วิชาวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...Kruthai Kidsdee
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารKetsarin Prommajun
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชThanyamon Chat.
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1Mayuree Paitoon
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชPinutchaya Nakchumroon
 
วิเคราะห์ข้อสอบ O net วิทยาศาสตร์ ป.6
วิเคราะห์ข้อสอบ O net วิทยาศาสตร์ ป.6วิเคราะห์ข้อสอบ O net วิทยาศาสตร์ ป.6
วิเคราะห์ข้อสอบ O net วิทยาศาสตร์ ป.6porntip sangprasat
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบNokko Bio
 

Viewers also liked (20)

เรื่องสารรอบตัว ครูเจริญ มีเหมือน
เรื่องสารรอบตัว  ครูเจริญ  มีเหมือนเรื่องสารรอบตัว  ครูเจริญ  มีเหมือน
เรื่องสารรอบตัว ครูเจริญ มีเหมือน
 
สารรอบตัว
สารรอบตัวสารรอบตัว
สารรอบตัว
 
ใบความรู้+การจำแนกสารที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f03-...
ใบความรู้+การจำแนกสารที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f03-...ใบความรู้+การจำแนกสารที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f03-...
ใบความรู้+การจำแนกสารที่ใช้ในชีวิตประจำวัน+ป.6+299+dltvscip6+55t2sci p06 f03-...
 
เอกสารประกอบการติวo net57 สพฐ. วิทยาศาสตร์ป.6
เอกสารประกอบการติวo net57 สพฐ. วิทยาศาสตร์ป.6เอกสารประกอบการติวo net57 สพฐ. วิทยาศาสตร์ป.6
เอกสารประกอบการติวo net57 สพฐ. วิทยาศาสตร์ป.6
 
สารรอบตัว
สารรอบตัวสารรอบตัว
สารรอบตัว
 
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
6แบบฝึกกรดเบสเผยแพร่
 
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวันบทที่ 3  เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
บทที่ 3 เครื่องสำอางในชีวิตประจำวัน
 
สารเคมีในชีวิตประจำวันตอนที่ 1
สารเคมีในชีวิตประจำวันตอนที่ 1สารเคมีในชีวิตประจำวันตอนที่ 1
สารเคมีในชีวิตประจำวันตอนที่ 1
 
สสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลงสสารและการเปลี่ยนแปลง
สสารและการเปลี่ยนแปลง
 
วิชาวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...วิชาวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
วิชาวิทยาศาสตร์ ประถมศึกษา ปีที่ 6 – วิเคราะห์ข้อสอบ-โลกแห่งการเรียนรู้ – โลก...
 
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสารบทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
บทเรียนสำเร็จรูป เล่มที่ 1 สสารและสาร
 
เนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืชเนื้อเยื่อพืช
เนื้อเยื่อพืช
 
สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1สถานะของสาร ม.1
สถานะของสาร ม.1
 
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืชบทที่  11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
บทที่ 11 โครงสร้างและหน้าที่ของพืช
 
วิเคราะห์ข้อสอบ O net วิทยาศาสตร์ ป.6
วิเคราะห์ข้อสอบ O net วิทยาศาสตร์ ป.6วิเคราะห์ข้อสอบ O net วิทยาศาสตร์ ป.6
วิเคราะห์ข้อสอบ O net วิทยาศาสตร์ ป.6
 
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบโครงสร้างและหน้าที่ของใบ
โครงสร้างและหน้าที่ของใบ
 
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
ธาตุและสารประกอบ (elements and compound)
 
การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)การแยกสาร (Purification)
การแยกสาร (Purification)
 
สรุปเซลล์
สรุปเซลล์สรุปเซลล์
สรุปเซลล์
 
stem structure
stem structurestem structure
stem structure
 

Similar to บทที่ 2 สารรอบตัว

กิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลว
กิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลวกิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลว
กิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลวkrupornpana55
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายNang Ka Nangnarak
 
กิจกรรมที่ 10 อุณหภูมิกับการเดือด
กิจกรรมที่ 10 อุณหภูมิกับการเดือดกิจกรรมที่ 10 อุณหภูมิกับการเดือด
กิจกรรมที่ 10 อุณหภูมิกับการเดือดkrupornpana55
 
03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับWijitta DevilTeacher
 
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊สบทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊สoraneehussem
 
เรื่องที่ 10 ความร้อน
เรื่องที่ 10  ความร้อนเรื่องที่ 10  ความร้อน
เรื่องที่ 10 ความร้อนthanakit553
 
แผน 1 การถ่ายโอนความร้อนของน้ำ
แผน 1 การถ่ายโอนความร้อนของน้ำแผน 1 การถ่ายโอนความร้อนของน้ำ
แผน 1 การถ่ายโอนความร้อนของน้ำkrupornpana55
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2teerachon
 
สื่อประสม1
สื่อประสม1สื่อประสม1
สื่อประสม1krupornpana55
 
การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวการแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวmedfai
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Bการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด BWijitta DevilTeacher
 
สื่อประสม3
สื่อประสม3สื่อประสม3
สื่อประสม3krupornpana55
 
การทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำ
การทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำการทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำ
การทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำadriamycin
 
Hw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matterHw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matteradriamycin
 

Similar to บทที่ 2 สารรอบตัว (20)

กิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลว
กิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลวกิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลว
กิจกรรมที่ 9 อุณหภูมิกับการหลอมเหลว
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 
บทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลายบทที่ 3 สารละลาย
บทที่ 3 สารละลาย
 
กิจกรรมที่ 10 อุณหภูมิกับการเดือด
กิจกรรมที่ 10 อุณหภูมิกับการเดือดกิจกรรมที่ 10 อุณหภูมิกับการเดือด
กิจกรรมที่ 10 อุณหภูมิกับการเดือด
 
03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ03. ใบงาน 5 ปรับ
03. ใบงาน 5 ปรับ
 
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊สบทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
บทที่ 5 ของแข็ง ของเหลว แก๊ส
 
Solid liquid-gas
Solid liquid-gasSolid liquid-gas
Solid liquid-gas
 
P10
P10P10
P10
 
เรื่องที่ 10 ความร้อน
เรื่องที่ 10  ความร้อนเรื่องที่ 10  ความร้อน
เรื่องที่ 10 ความร้อน
 
แผน 1 การถ่ายโอนความร้อนของน้ำ
แผน 1 การถ่ายโอนความร้อนของน้ำแผน 1 การถ่ายโอนความร้อนของน้ำ
แผน 1 การถ่ายโอนความร้อนของน้ำ
 
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบ วิทยาศาสตร์ ม.2
 
สื่อประสม1
สื่อประสม1สื่อประสม1
สื่อประสม1
 
การเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลายการเตรียมสารละลาย
การเตรียมสารละลาย
 
การแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียวการแยกสารเนื้อเดียว
การแยกสารเนื้อเดียว
 
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด Bการสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
การสอบแก้ตัวกลางภาคชุด B
 
สื่อประสม3
สื่อประสม3สื่อประสม3
สื่อประสม3
 
ACIC BASE
ACIC BASEACIC BASE
ACIC BASE
 
การทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำ
การทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำการทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำ
การทำอาหารแห้งโดยใช้หลักพื้นฐานวัฏภาคน้ำ
 
Hw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matterHw 1 state_of_matter
Hw 1 state_of_matter
 
ความร้อน
ความร้อนความร้อน
ความร้อน
 

More from Nang Ka Nangnarak

บทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวบทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวNang Ka Nangnarak
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานNang Ka Nangnarak
 
ตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบNang Ka Nangnarak
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552Nang Ka Nangnarak
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการแบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการNang Ka Nangnarak
 
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการแบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการNang Ka Nangnarak
 
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยรายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยNang Ka Nangnarak
 
โครงการปีการศึกษา 2554
โครงการปีการศึกษา 2554โครงการปีการศึกษา 2554
โครงการปีการศึกษา 2554Nang Ka Nangnarak
 
คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554Nang Ka Nangnarak
 
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1Nang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)Nang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้าNang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิตดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิตNang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอม
ดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอมดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอม
ดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอมNang Ka Nangnarak
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าNang Ka Nangnarak
 

More from Nang Ka Nangnarak (20)

Vitdoc11 10-55p1
Vitdoc11 10-55p1Vitdoc11 10-55p1
Vitdoc11 10-55p1
 
State of matter
State of matterState of matter
State of matter
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 1
บทที่ 1บทที่ 1
บทที่ 1
 
บทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัวบทที่ 2 สารรอบตัว
บทที่ 2 สารรอบตัว
 
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐานมาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน
 
ตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบตารางเปรียบเทียบ
ตารางเปรียบเทียบ
 
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
มาตรฐานการปฏิบัติงานโรงเรียนมัธยมศึกษา 2552
 
แบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการแบบประเมินโครงการ
แบบประเมินโครงการ
 
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการแบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ
แบบรายงานความก้าวหน้าโครงการ
 
15 มาตรฐาน
15 มาตรฐาน15 มาตรฐาน
15 มาตรฐาน
 
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัยรายงานความก้าวหน้าวิจัย
รายงานความก้าวหน้าวิจัย
 
โครงการปีการศึกษา 2554
โครงการปีการศึกษา 2554โครงการปีการศึกษา 2554
โครงการปีการศึกษา 2554
 
คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554คำสั่งมาตรฐาน 2554
คำสั่งมาตรฐาน 2554
 
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1
แบบสำรวจการนิเทศ ครั้งที่ 1
 
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)
ดงมะไฟพิทยาคม สนามแม่เหล็ก (2)
 
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม วงจรไฟฟ้า
 
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิตดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
ดงมะไฟพิทยาคม ไฟฟ้าสถิต
 
ดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอม
ดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอมดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอม
ดงมะไฟพิทยาคม ฟิสิกส์อะตอม
 
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้าดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
ดงมะไฟพิทยาคม คลื่นแม่เหล็กไฟฟ้า
 

บทที่ 2 สารรอบตัว